SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
(สําเนา)

                                    ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
                             เรื่อง ยาสามัญประจําบ้านแผนปัจจุบัน
                                       (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๕
                                     --------------------------------
              อาศั ย อํา นาจตามความในมาตรา ๗๖ (๕) (๗) (๙) แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ย า
พ.ศ. ๒๕๑๐ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติยา (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒ และมาตรา ๗๘
แห่งพระราชบัญญัติยา พ.ศ. ๒๕๑๐ อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัด
สิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบ มาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ มาตรา
๔๓ และมาตรา ๔๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทําได้โดยอาศัยอํานาจ
ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยคําแนะนําของคณะกรรมการ
ยาในการประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๔ และ ๕/๒๕๕๔ เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ และ
วันที่ ๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ตามลําดับ จึงออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
              ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (๑.๘) (๑.๙) (๑.๑๐) (๒.๒) และ (๑๒.๗) ของข้อ ๒
แห่งประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข เรื่ อ ง ยาสามั ญ ประจํา บ้ า นแผนปั จ จุ บั น ฉบับลงวันที่
๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๒
              “(๑.๘) ยาเม็ดลดกรด อะลูมินา-แมกนีเซีย-ไซเมธิโคน
              ในสูตรตํารับ ๑ เม็ด ประกอบด้วยตัวยาสําคัญคือ
              Aluminium Hydroxide                      ๒๐๐ - ๖๐๐ มิลลิกรัม
              Magnesium Hydroxide                      ๒๐๐ - ๔๐๐ มิลลิกรัม
              Simethicone                                ๔๐ - ๑๒๕ มิลลิกรัม
              สรรพคุณ             บรรเทาอาการจุกเสียด ท้องขึ้น ท้องเฟ้อ ปวดท้องเนื่องจากมีกรด
                                  มากในกระเพาะอาหารหรือแผลในกระเพาะอาหารและลําไส้ และ
                                  ช่วยขับลม
              ขนาดและวิธีใช้            เคี้ยวยาก่อนกลืน
                                        รับประทานก่อนอาหาร ครึ่งชั่วโมง หรือหลังอาหาร ๑ ชั่วโมง
                                        หรือเมื่อมีอาการ
                                        ผู้ใหญ่                   รับประทานครั้งละ ๑ - ๔ เม็ด
                                        เด็กอายุ ๖ - ๑๒ ปี รับประทานครั้งละ ๑ - ๒ เม็ด
(โดยให้คณะอนุกรรมการพิจารณาตํารับยาแผนปัจจุบันที่ใช้สําหรับมนุษย์พิจารณาตามขนาดที่
ถูกต้องตามสูตรตํารับที่ผู้รับอนุญาตขอขึ้นทะเบียนตํารับยา)
                                                                                          / คําเตือน ...
-๒-

                 คําเตือน ๑) ห้ามใช้ในผู้ที่เป็นโรคหัวใจหรือโรคไต
                          ๒) ไม่ควรรับประทานเป็นเวลานานกว่า ๒ สัปดาห์
                          ๓) ในกรณีทรับประทานยานี้ร่วมกับยาอื่น ควรรับประทานห่างกัน
                                           ี่
                             ๒ ชั่วโมง
สําหรับตํารับที่มี Low Sodium คือ มี ผ ลวิ เ คราะห์ ที่ แ สดงว่ า มี ป ริ ม าณของ Sodium ในขนาด
รับประทานต่อวันไม่เกิน ๕ มิลลิอิควิวาเลนท์ (๑๑๕ มิลลิกรัม) ให้แจ้งคําเตือนดังนี้
                 คําเตือน ๑) ห้ามใช้ในผู้ที่เป็นโรคไต
                          ๒) ไม่ควรรับประทานเป็นเวลานานกว่า ๒ สัปดาห์
                          ๓) ในกรณีทรับประทานยานี้ร่วมกับยาอื่น ควรรับประทานห่างกัน
                                        ี่
                              ๒ ชั่วโมง
                 การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า ๓๐ องศาเซลเซียส
                 ขนาดบรรจุ แผงละ ๔ และ๑๐ เม็ด
                (๑.๙) ยาน้ําลดกรด อะลูมินา-แมกนีเซีย-ไซเมธิโคน
                 ในสูตรตํารับ ๕ มิลลิลิตรประกอบด้วยตัวยาสําคัญ คือ
                 Aluminium Hydroxide                ๑๖๕ - ๖๕๐ มิลลิกรัม
                 Magnesium Hydroxide                ๑๐๓ - ๕๐๐ มิลลิกรัม
                 Simethicone                          ๒๐ - ๔๐ มิลลิกรัม
                 สรรพคุณ บรรเทาอาการจุกเสียด ท้องขึ้น ท้องเฟ้อ ปวดท้องเนื่องจากมีกรด
                                มากในกระเพาะอาหารหรือแผลในกระเพาะอาหารและลําไส้ และ
                                ช่วยขับลม
                 ขนาดและวิธีใช้ เขย่าขวดก่อนใช้ยา
                                    รับประทานก่อนอาหาร ครึ่งชั่วโมง หรือหลังอาหาร ๑ ชั่วโมง
                                    หรือเมื่อมีอาการ
                                    ผู้ใหญ่         รับประทานครั้งละ           ๑-๔      ช้อนชา
                                    เด็กอายุ ๖ - ๑๒ ปี รับประทานครั้งละ ๑ - ๒           ช้อนชา
                                    เด็กอายุ ๓ - ๖ ปี รับประทานครั้งละ ครึ่ง - ๑        ช้อนชา
(โดยให้คณะอนุกรรมการพิจารณาตํารับยาแผนปัจจุบันที่ใช้สําหรับมนุษย์พิจารณาตามขนาดที่
ถูกต้องตามสูตรตํารับที่ผู้รับอนุญาตขอขึ้นทะเบียนตํารับยา)
                คําเตือน ๑) ห้ามใช้ในผู้ที่เป็นโรคหัวใจหรือโรคไต
                          ๒) ไม่ควรรับประทานเป็นเวลานานกว่า ๒ สัปดาห์
                          ๓) ในกรณีทรับประทานยานี้ร่วมกับยาอื่น ควรรับประทานห่างกัน
                                              ี่
                             ๒ ชั่วโมง

                                                                              / สําหรับตํารับ ...
-๓-

สําหรับตํารับที่มี Low Sodium คือ มีผลวิเคราะห์ที่แสดงว่ามีปริมาณของ Sodium ในขนาด
รับประทานต่อวันไม่เกิน ๕ มิลลิอิควิวาเลนท์ (๑๑๕ มิลลิกรัม) ให้แจ้งคําเตือนดังนี้
                คําเตือน ๑) ห้ามใช้ในผู้ที่เป็นโรคไต
                         ๒) ไม่ควรรับประทานเป็นเวลานานกว่า ๒ สัปดาห์
                         ๓) ในกรณีทรบประทานยานี้ร่วมกับยาอื่น ควรรับประทานห่างกัน
                                        ี่ ั
                             ๒ ชั่วโมง
                การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า ๓๐ องศาเซลเซียส
                ขนาดบรรจุ ขวดละ ๒๔๐ และ ๔๕๐ มิลลิลิตร
                (๑.๑๐) ยาผงฟู่ซิตริกแอซิด-โซเดียมไบคาร์บอเนต-โซเดียมคาร์บอเนต
                ในสูตรตํารับ ๑ ซอง ประกอบด้วยตัวยาสําคัญคือ
                Citric Acid Anhydrous               ไม่เกิน ๑.๘๕๐ กรัม
                Sodium Bicarbonate                  ไม่เกิน ๑.๙๖๐ กรัม
                Sodium Carbonate                    ไม่เกิน ๐.๔๓๐ กรัม
                สรรพคุณ         ลดกรด บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ เนื่องจากมีกรดมากใน
                                กระเพาะอาหาร
                ขนาดและวิธีใช้          ผสมน้ําค่อนแก้วรับประทาน หลังหมดฟองฟู่
                                        ผู้ใหญ่และเด็กอายุ ๑๒ ปีขึ้นไป ครั้งละ ๑ ซอง
                                        รับประทานซ้ําได้อีกภายใน ๒ หรือ ๓ ชั่วโมง ถ้าต้องการ
(โดยให้คณะอนุกรรมการพิจารณาตํารับยาแผนปัจจุบันที่ใช้สาหรับมนุษย์พิจารณาตามขนาดที่
                                                              ํ
ถูกต้องตามสูตรตํารับที่ผู้รับอนุญาตขอขึ้นทะเบียนตํารับยา)
                คําเตือน ๑) ห้ามใช้ในผู้ที่เป็นโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง หรือโรคไต
                          ๒) ไม่ควรรับประทานเป็นเวลานานกว่า ๒ สัปดาห์ นอกจากแพทย์สั่ง
                การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิไม่เกิน ๓๐ องศาเซลเซียส
                ขนาดบรรจุ ซองอลูมิเนียม ไม่เกิน ๔.๓ กรัม
                (๒.๒) ยาผงถ่านรักษาอาการท้องเสีย
                ในสูตรตํารับ ๑ เม็ด/แคปซูล ประกอบด้วยตัวยาสําคัญ คือ
                Activated charcoal ๒๕๐ - ๓๕๐ มิลลิกรัม
                สรรพคุณ รักษาอาการท้องเสีย
                ขนาดและวิธีใช้ รับประทานยานี้ก่อนหรือหลังรับประทานยาอื่น ๆ ๒ ชั่วโมง
                                    ผู้ใหญ่ และเด็ก อายุมากกว่า ๒ ปี รับประทานครั้งละ ๓ - ๔ เม็ด
                                    วันละ ๓ – ๔ เม็ด

                                                                               / (โดยให้คณะ …
-๔-

(โดยให้คณะอนุกรรมการพิจารณาตํารับยาแผนปั จ จุ บั น ที่ ใ ช้ สํา หรั บ มนุ ษ ย์ พิ จ ารณาตามขนาด
ที่ถกต้องตามสูตรตํารับที่ผู้รับอนุญาตขอขึ้นทะเบียนตํารับยา)
     ู
                คําเตือน ๑) ห้ามรับประทานยานี้พร้อมกับยาอื่น
                         ๒) รับประทานยาผงถ่านนี้แล้วอุจจาระจะมีสีค่อนข้างดํา
                         ๓) ถ้าอาการท้องเสียยังไม่ดีขึ้นภายใน ๒ – ๓ วัน หลังรับประทานยา
                                ควรปรึกษาแพทย์
                การเก็บรักษา เก็บในแห้ง และอุณหภูมิต่ํากว่า ๓๐ องศาเซลเซียส
                ขนาดบรรจุ            แผงละไม่เกิน ๑๐ เม็ด/แคปซูล
                (๑๒.๗) น้ํายาฆ่าเชื้อโรคคลอโรไซลีนอล
                ในสูตรตํารับประกอบด้วย
                Chloroxylenol                      ร้อยละ ๔.๘ โดยน้ําหนักต่อปริมาตร
                Isopropyl Alcohol Solution ร้อยละ ๑๒ โดยปริมาตร
                สรรพคุณ ใช้ทําความสะอาดรอบบาดแผล
                วิธีใช้       ห้ามใส่แผลโดยตรง
                              เจือจางน้ํายา ๑ ส่วนกับน้า ๑๙ ส่วน ใช้เช็ดทําความสะอาดรอบ
                                                       ํ
                              บาดแผล
                คําเตือน          ห้ามรับประทาน
                การเก็บรักษา ปิดฝาให้สนิท
                ขนาดบรรจุ ขวดละไม่เกิน ๔๕๐ มิลลิลิตร
                ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความใน (๒.๑) ของข้ อ ๒ แห่ ง ประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข
เรื่ อ ง ยาสามัญประจําบ้านแผนปัจจุบน ฉบับลงวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
                                         ั
                “(๒.๑) ยาแก้ท้องเสีย ผงน้ําตาลเกลือแร่
                  ในสูตรตํารับ ๑ ซอง ประกอบด้วยตัวยาสําคัญคือ
                  Sodium Chloride                     ๐.๘๗๕ กรัม
                  Sodium Bicarbonate                  ๐.๖๒๕ กรัม
                  Potassium Chloride                  ๐.๓๗๕ กรัม
                  Glucose Anhydrous                   ๕.๐๐๐ กรัม
                  หรือ ในสูตรตํารับ ๑ ซองประกอบด้วยตัวยาสําคัญ คือ
                  Sodium Chloride                     ๐.๘๗๕ กรัม
                  Trisodium Citrate Dihydrate ๐.๗๒๕ กรัม


                                                                               / Potassium ...
-๕-

                Potassium Chloride                        ๐.๓๗๕ กรัม
                Glucose Anhydrous                         ๕.๐๐๐ กรัม
                หรือ ในสูตรตํารับ ๑ ซอง ประกอบด้วยตัวยาสําคัญคือ
                Sodium chloride                           ๐.๖๕๐ กรัม
                Trisodium citrate, dihydrate ๐.๗๒๕ กรัม
                Potassium chloride                        ๐.๓๗๕ กรัม
                Glucose, anhydrous                        ๓.๓๗๕ กรัม
                สรรพคุณ ทดแทนการเสียน้ําในรายที่มีอาการท้องร่วง หรือในรายที่มีอาเจียน
                                 มาก ๆ และ ป้องกันการช็อคเนื่องจากการที่รางกายขาดน้ํา
                                                                                ่
                วิธีใช้          เทผงยาทั้งซองละลายในน้ํา สะอาด เช่ น น้ํา ต้ ม สุ ก ที่ เ ย็ น แล้ ว
                                 ประมาณ ๒๕๐ มิลลิลิตร (๑ แก้ว) ให้ดื่มมากๆ เมื่อเริ่มมีอาการ
                                 ท้องร่วง ถ้าถ่ายบ่อยให้ดื่มบ่อยครั้งขึ้น ถ้าอาเจียนด้วยให้ดื่มทีละ
                                 น้อยแต่บ่อยครั้ง
                ขนาดการใช้ เด็ ก อายุ ม ากกว่ า ๒ ปี – ผู้ ใ หญ่ ให้ ดื่ ม สารละลายเกลื อ แร่
                                 ประมาณ ๑ แก้ว (๒๕๐ มิลลิลิตร) ต่อการถ่ายอุจจาระ ๑ ครั้ง หรือ
                                 ตามความกระหายของผู้ป่วย
                                  เด็กอ่อน – เด็กอายุ ๒ ปี ให้ดื่มทีละน้อยสลับกับน้ําเปล่าประมาณ
                                  วันละ ๔ ซอง หรือมากพอที่คนไข้ต้ อ งการและดื่ ม ต่ อ ไปจนกว่ า
                                  อาการจะดีขึ้น
                 คําเตือน ๑) ผู้ที่เป็นโรคหัวใจหรือโรคไต ควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้
                                 ๒) ถ้าผู้ป่วยยังมีอาการอาเจียนมาก เหงื่อออกมาก ตัวเย็น
                                     ความรู้ สึ ก เปลี่ ย นแปลงไป หรื อ หมดสติ ควรนํ า ผู้ ป่ ว ยส่ ง
                                     โรงพยาบาลโดยด่วน
              การเก็บรักษา ๑) เก็บในที่แห้ง และป้องกันไม่ให้ถูกแสงแดด
                                 ๒) ยาที่ละลายน้ําแล้วเกิน ๒๔ ชั่วโมง ไม่ควรใช้
              ขนาดบรรจุ ๑ ซองสําหรับผสมน้ํา ๒๕๐ มิลลิลิตร
              ข้ อ ๓ ให้ แ ก้ ไ ขขนาดบรรจุ ใ น (๑๐.๒) (๑๒.๓) (๑๒.๔) (๑๒.๕) (๑๒.๖) และ
(๑๕.๕) ของข้อ ๒ แห่งประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจํา บ้ า นแผนปั จ จุ บั น
ฉบับลงวันที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นดังนี้
               “(๑๐.๒) ยาล้างตา
                ขนาดบรรจุ ขวดละไม่เกิน ๒๔๐ มิลลิลิตร
                 (๑๒.๓) ยาใส่แผลโพวิโดน- ไอโอดีน
                ขนาดบรรจุ ขวดละไม่เกิน ๑๒๐ มิลลิลิตร
                                                                                       / (๑๒.๔) ยา ...
-๖-

             (๑๒.๔) ยาไอโซโพลพิล แอลกอฮอล์
             ขนาดบรรจุ ขวดละไม่เกิน ๔๕๐ มิลลิลิตร
             (๑๒.๕) ยาเอทิล แอลกอฮอล์
             ขนาดบรรจุ ขวดละไม่เกิน ๔๕๐ มิลลิลิตร
             (๑๒.๖) น้ําเกลือล้างแผล
             ขนาดบรรจุ ขวดละไม่เกิน ๑ ลิตร
             (๑๕.๕) ยาทาแก้ผดผื่นคัน คาลาไมน์
             ขนาดบรรจุ ขวดละไม่เกิน ๑๘๐ มิลลิลิตร”
            ข้อ ๔ ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป็นต้นไป
                 ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๕
                              ลงชื่อ วิทยา บุรณศิริ
                                   (นายวิทยา บุรณศิร)ิ
                         รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข
                                    ่

More Related Content

What's hot

บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านPa'rig Prig
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช Utai Sukviwatsirikul
 
3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58Junee Sara
 
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510Utai Sukviwatsirikul
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
การทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ Gppการทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ GppKanon Thamcharoen
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมSurang Judistprasert
 

What's hot (20)

บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
 
GPP for community pharmacist
GPP for community pharmacistGPP for community pharmacist
GPP for community pharmacist
 
3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
 
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
 
Insulin
InsulinInsulin
Insulin
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
การทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ Gppการทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ Gpp
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่
 
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
 

Similar to ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4

Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...Utai Sukviwatsirikul
 
พัชราภรณ์
พัชราภรณ์ พัชราภรณ์
พัชราภรณ์ pacharapornoiw
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxการใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxNareenatBoonchoo
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014 หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014 Utai Sukviwatsirikul
 
ยาลดความอ้วน
ยาลดความอ้วนยาลดความอ้วน
ยาลดความอ้วนpacharapornoiw
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)Aiman Sadeeyamu
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงUtai Sukviwatsirikul
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsCAPD AngThong
 

Similar to ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4 (20)

Antidote pocket guide v.3
Antidote pocket guide v.3Antidote pocket guide v.3
Antidote pocket guide v.3
 
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
 
พัชราภรณ์
พัชราภรณ์ พัชราภรณ์
พัชราภรณ์
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxการใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
 
Smoking Cessation
Smoking CessationSmoking Cessation
Smoking Cessation
 
Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014 หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
ยาลดความอ้วน
ยาลดความอ้วนยาลดความอ้วน
ยาลดความอ้วน
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
 
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
611026-5.doc
611026-5.doc611026-5.doc
611026-5.doc
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
 
Posaconazole
PosaconazolePosaconazole
Posaconazole
 
Antidote book3 06-n-acetylcysteine
Antidote book3 06-n-acetylcysteineAntidote book3 06-n-acetylcysteine
Antidote book3 06-n-acetylcysteine
 

More from Surang Judistprasert

Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...
Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...
Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...Surang Judistprasert
 
Quality by design vs control strategy
Quality by design vs control strategyQuality by design vs control strategy
Quality by design vs control strategySurang Judistprasert
 
Introduction to innovation management
Introduction to innovation managementIntroduction to innovation management
Introduction to innovation managementSurang Judistprasert
 
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารSurang Judistprasert
 
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrineความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ PseudoephedrineSurang Judistprasert
 
TFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementTFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementSurang Judistprasert
 

More from Surang Judistprasert (18)

Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...
Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...
Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...
 
7 qcdoe
7 qcdoe7 qcdoe
7 qcdoe
 
Quality by design vs control strategy
Quality by design vs control strategyQuality by design vs control strategy
Quality by design vs control strategy
 
Introduction to innovation management
Introduction to innovation managementIntroduction to innovation management
Introduction to innovation management
 
Culture of-quality
Culture of-qualityCulture of-quality
Culture of-quality
 
Import be 5 55
Import be 5 55Import be 5 55
Import be 5 55
 
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
 
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrineความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
 
2011 drug system_report
2011 drug system_report2011 drug system_report
2011 drug system_report
 
TFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementTFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvement
 
Program roadmap14 final
Program roadmap14 finalProgram roadmap14 final
Program roadmap14 final
 
Soft gelatin capsule
Soft gelatin capsuleSoft gelatin capsule
Soft gelatin capsule
 
Ketoconazole and hepatotoxic
Ketoconazole and hepatotoxicKetoconazole and hepatotoxic
Ketoconazole and hepatotoxic
 
News 2011 Pseudo/tripro tablets
News 2011 Pseudo/tripro tabletsNews 2011 Pseudo/tripro tablets
News 2011 Pseudo/tripro tablets
 
TQM & Pharma industry
TQM & Pharma industryTQM & Pharma industry
TQM & Pharma industry
 
IVIVC topical dosage form
IVIVC topical dosage formIVIVC topical dosage form
IVIVC topical dosage form
 
Bioequivalence in adv.
Bioequivalence in adv.Bioequivalence in adv.
Bioequivalence in adv.
 
Basic bioequivalence
Basic bioequivalenceBasic bioequivalence
Basic bioequivalence
 

ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4

  • 1. (สําเนา) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบ้านแผนปัจจุบัน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๕ -------------------------------- อาศั ย อํา นาจตามความในมาตรา ๗๖ (๕) (๗) (๙) แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ย า พ.ศ. ๒๕๑๐ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติยา (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒ และมาตรา ๗๘ แห่งพระราชบัญญัติยา พ.ศ. ๒๕๑๐ อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัด สิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบ มาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ มาตรา ๔๓ และมาตรา ๔๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทําได้โดยอาศัยอํานาจ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยคําแนะนําของคณะกรรมการ ยาในการประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๔ และ ๕/๒๕๕๔ เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ และ วันที่ ๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ตามลําดับ จึงออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (๑.๘) (๑.๙) (๑.๑๐) (๒.๒) และ (๑๒.๗) ของข้อ ๒ แห่งประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข เรื่ อ ง ยาสามั ญ ประจํา บ้ า นแผนปั จ จุ บั น ฉบับลงวันที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ “(๑.๘) ยาเม็ดลดกรด อะลูมินา-แมกนีเซีย-ไซเมธิโคน ในสูตรตํารับ ๑ เม็ด ประกอบด้วยตัวยาสําคัญคือ Aluminium Hydroxide ๒๐๐ - ๖๐๐ มิลลิกรัม Magnesium Hydroxide ๒๐๐ - ๔๐๐ มิลลิกรัม Simethicone ๔๐ - ๑๒๕ มิลลิกรัม สรรพคุณ บรรเทาอาการจุกเสียด ท้องขึ้น ท้องเฟ้อ ปวดท้องเนื่องจากมีกรด มากในกระเพาะอาหารหรือแผลในกระเพาะอาหารและลําไส้ และ ช่วยขับลม ขนาดและวิธีใช้ เคี้ยวยาก่อนกลืน รับประทานก่อนอาหาร ครึ่งชั่วโมง หรือหลังอาหาร ๑ ชั่วโมง หรือเมื่อมีอาการ ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ ๑ - ๔ เม็ด เด็กอายุ ๖ - ๑๒ ปี รับประทานครั้งละ ๑ - ๒ เม็ด (โดยให้คณะอนุกรรมการพิจารณาตํารับยาแผนปัจจุบันที่ใช้สําหรับมนุษย์พิจารณาตามขนาดที่ ถูกต้องตามสูตรตํารับที่ผู้รับอนุญาตขอขึ้นทะเบียนตํารับยา) / คําเตือน ...
  • 2. -๒- คําเตือน ๑) ห้ามใช้ในผู้ที่เป็นโรคหัวใจหรือโรคไต ๒) ไม่ควรรับประทานเป็นเวลานานกว่า ๒ สัปดาห์ ๓) ในกรณีทรับประทานยานี้ร่วมกับยาอื่น ควรรับประทานห่างกัน ี่ ๒ ชั่วโมง สําหรับตํารับที่มี Low Sodium คือ มี ผ ลวิ เ คราะห์ ที่ แ สดงว่ า มี ป ริ ม าณของ Sodium ในขนาด รับประทานต่อวันไม่เกิน ๕ มิลลิอิควิวาเลนท์ (๑๑๕ มิลลิกรัม) ให้แจ้งคําเตือนดังนี้ คําเตือน ๑) ห้ามใช้ในผู้ที่เป็นโรคไต ๒) ไม่ควรรับประทานเป็นเวลานานกว่า ๒ สัปดาห์ ๓) ในกรณีทรับประทานยานี้ร่วมกับยาอื่น ควรรับประทานห่างกัน ี่ ๒ ชั่วโมง การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า ๓๐ องศาเซลเซียส ขนาดบรรจุ แผงละ ๔ และ๑๐ เม็ด (๑.๙) ยาน้ําลดกรด อะลูมินา-แมกนีเซีย-ไซเมธิโคน ในสูตรตํารับ ๕ มิลลิลิตรประกอบด้วยตัวยาสําคัญ คือ Aluminium Hydroxide ๑๖๕ - ๖๕๐ มิลลิกรัม Magnesium Hydroxide ๑๐๓ - ๕๐๐ มิลลิกรัม Simethicone ๒๐ - ๔๐ มิลลิกรัม สรรพคุณ บรรเทาอาการจุกเสียด ท้องขึ้น ท้องเฟ้อ ปวดท้องเนื่องจากมีกรด มากในกระเพาะอาหารหรือแผลในกระเพาะอาหารและลําไส้ และ ช่วยขับลม ขนาดและวิธีใช้ เขย่าขวดก่อนใช้ยา รับประทานก่อนอาหาร ครึ่งชั่วโมง หรือหลังอาหาร ๑ ชั่วโมง หรือเมื่อมีอาการ ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ ๑-๔ ช้อนชา เด็กอายุ ๖ - ๑๒ ปี รับประทานครั้งละ ๑ - ๒ ช้อนชา เด็กอายุ ๓ - ๖ ปี รับประทานครั้งละ ครึ่ง - ๑ ช้อนชา (โดยให้คณะอนุกรรมการพิจารณาตํารับยาแผนปัจจุบันที่ใช้สําหรับมนุษย์พิจารณาตามขนาดที่ ถูกต้องตามสูตรตํารับที่ผู้รับอนุญาตขอขึ้นทะเบียนตํารับยา) คําเตือน ๑) ห้ามใช้ในผู้ที่เป็นโรคหัวใจหรือโรคไต ๒) ไม่ควรรับประทานเป็นเวลานานกว่า ๒ สัปดาห์ ๓) ในกรณีทรับประทานยานี้ร่วมกับยาอื่น ควรรับประทานห่างกัน ี่ ๒ ชั่วโมง / สําหรับตํารับ ...
  • 3. -๓- สําหรับตํารับที่มี Low Sodium คือ มีผลวิเคราะห์ที่แสดงว่ามีปริมาณของ Sodium ในขนาด รับประทานต่อวันไม่เกิน ๕ มิลลิอิควิวาเลนท์ (๑๑๕ มิลลิกรัม) ให้แจ้งคําเตือนดังนี้ คําเตือน ๑) ห้ามใช้ในผู้ที่เป็นโรคไต ๒) ไม่ควรรับประทานเป็นเวลานานกว่า ๒ สัปดาห์ ๓) ในกรณีทรบประทานยานี้ร่วมกับยาอื่น ควรรับประทานห่างกัน ี่ ั ๒ ชั่วโมง การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ํากว่า ๓๐ องศาเซลเซียส ขนาดบรรจุ ขวดละ ๒๔๐ และ ๔๕๐ มิลลิลิตร (๑.๑๐) ยาผงฟู่ซิตริกแอซิด-โซเดียมไบคาร์บอเนต-โซเดียมคาร์บอเนต ในสูตรตํารับ ๑ ซอง ประกอบด้วยตัวยาสําคัญคือ Citric Acid Anhydrous ไม่เกิน ๑.๘๕๐ กรัม Sodium Bicarbonate ไม่เกิน ๑.๙๖๐ กรัม Sodium Carbonate ไม่เกิน ๐.๔๓๐ กรัม สรรพคุณ ลดกรด บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ เนื่องจากมีกรดมากใน กระเพาะอาหาร ขนาดและวิธีใช้ ผสมน้ําค่อนแก้วรับประทาน หลังหมดฟองฟู่ ผู้ใหญ่และเด็กอายุ ๑๒ ปีขึ้นไป ครั้งละ ๑ ซอง รับประทานซ้ําได้อีกภายใน ๒ หรือ ๓ ชั่วโมง ถ้าต้องการ (โดยให้คณะอนุกรรมการพิจารณาตํารับยาแผนปัจจุบันที่ใช้สาหรับมนุษย์พิจารณาตามขนาดที่ ํ ถูกต้องตามสูตรตํารับที่ผู้รับอนุญาตขอขึ้นทะเบียนตํารับยา) คําเตือน ๑) ห้ามใช้ในผู้ที่เป็นโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง หรือโรคไต ๒) ไม่ควรรับประทานเป็นเวลานานกว่า ๒ สัปดาห์ นอกจากแพทย์สั่ง การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิไม่เกิน ๓๐ องศาเซลเซียส ขนาดบรรจุ ซองอลูมิเนียม ไม่เกิน ๔.๓ กรัม (๒.๒) ยาผงถ่านรักษาอาการท้องเสีย ในสูตรตํารับ ๑ เม็ด/แคปซูล ประกอบด้วยตัวยาสําคัญ คือ Activated charcoal ๒๕๐ - ๓๕๐ มิลลิกรัม สรรพคุณ รักษาอาการท้องเสีย ขนาดและวิธีใช้ รับประทานยานี้ก่อนหรือหลังรับประทานยาอื่น ๆ ๒ ชั่วโมง ผู้ใหญ่ และเด็ก อายุมากกว่า ๒ ปี รับประทานครั้งละ ๓ - ๔ เม็ด วันละ ๓ – ๔ เม็ด / (โดยให้คณะ …
  • 4. -๔- (โดยให้คณะอนุกรรมการพิจารณาตํารับยาแผนปั จ จุ บั น ที่ ใ ช้ สํา หรั บ มนุ ษ ย์ พิ จ ารณาตามขนาด ที่ถกต้องตามสูตรตํารับที่ผู้รับอนุญาตขอขึ้นทะเบียนตํารับยา) ู คําเตือน ๑) ห้ามรับประทานยานี้พร้อมกับยาอื่น ๒) รับประทานยาผงถ่านนี้แล้วอุจจาระจะมีสีค่อนข้างดํา ๓) ถ้าอาการท้องเสียยังไม่ดีขึ้นภายใน ๒ – ๓ วัน หลังรับประทานยา ควรปรึกษาแพทย์ การเก็บรักษา เก็บในแห้ง และอุณหภูมิต่ํากว่า ๓๐ องศาเซลเซียส ขนาดบรรจุ แผงละไม่เกิน ๑๐ เม็ด/แคปซูล (๑๒.๗) น้ํายาฆ่าเชื้อโรคคลอโรไซลีนอล ในสูตรตํารับประกอบด้วย Chloroxylenol ร้อยละ ๔.๘ โดยน้ําหนักต่อปริมาตร Isopropyl Alcohol Solution ร้อยละ ๑๒ โดยปริมาตร สรรพคุณ ใช้ทําความสะอาดรอบบาดแผล วิธีใช้ ห้ามใส่แผลโดยตรง เจือจางน้ํายา ๑ ส่วนกับน้า ๑๙ ส่วน ใช้เช็ดทําความสะอาดรอบ ํ บาดแผล คําเตือน ห้ามรับประทาน การเก็บรักษา ปิดฝาให้สนิท ขนาดบรรจุ ขวดละไม่เกิน ๔๕๐ มิลลิลิตร ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความใน (๒.๑) ของข้ อ ๒ แห่ ง ประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข เรื่ อ ง ยาสามัญประจําบ้านแผนปัจจุบน ฉบับลงวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน ั “(๒.๑) ยาแก้ท้องเสีย ผงน้ําตาลเกลือแร่ ในสูตรตํารับ ๑ ซอง ประกอบด้วยตัวยาสําคัญคือ Sodium Chloride ๐.๘๗๕ กรัม Sodium Bicarbonate ๐.๖๒๕ กรัม Potassium Chloride ๐.๓๗๕ กรัม Glucose Anhydrous ๕.๐๐๐ กรัม หรือ ในสูตรตํารับ ๑ ซองประกอบด้วยตัวยาสําคัญ คือ Sodium Chloride ๐.๘๗๕ กรัม Trisodium Citrate Dihydrate ๐.๗๒๕ กรัม / Potassium ...
  • 5. -๕- Potassium Chloride ๐.๓๗๕ กรัม Glucose Anhydrous ๕.๐๐๐ กรัม หรือ ในสูตรตํารับ ๑ ซอง ประกอบด้วยตัวยาสําคัญคือ Sodium chloride ๐.๖๕๐ กรัม Trisodium citrate, dihydrate ๐.๗๒๕ กรัม Potassium chloride ๐.๓๗๕ กรัม Glucose, anhydrous ๓.๓๗๕ กรัม สรรพคุณ ทดแทนการเสียน้ําในรายที่มีอาการท้องร่วง หรือในรายที่มีอาเจียน มาก ๆ และ ป้องกันการช็อคเนื่องจากการที่รางกายขาดน้ํา ่ วิธีใช้ เทผงยาทั้งซองละลายในน้ํา สะอาด เช่ น น้ํา ต้ ม สุ ก ที่ เ ย็ น แล้ ว ประมาณ ๒๕๐ มิลลิลิตร (๑ แก้ว) ให้ดื่มมากๆ เมื่อเริ่มมีอาการ ท้องร่วง ถ้าถ่ายบ่อยให้ดื่มบ่อยครั้งขึ้น ถ้าอาเจียนด้วยให้ดื่มทีละ น้อยแต่บ่อยครั้ง ขนาดการใช้ เด็ ก อายุ ม ากกว่ า ๒ ปี – ผู้ ใ หญ่ ให้ ดื่ ม สารละลายเกลื อ แร่ ประมาณ ๑ แก้ว (๒๕๐ มิลลิลิตร) ต่อการถ่ายอุจจาระ ๑ ครั้ง หรือ ตามความกระหายของผู้ป่วย เด็กอ่อน – เด็กอายุ ๒ ปี ให้ดื่มทีละน้อยสลับกับน้ําเปล่าประมาณ วันละ ๔ ซอง หรือมากพอที่คนไข้ต้ อ งการและดื่ ม ต่ อ ไปจนกว่ า อาการจะดีขึ้น คําเตือน ๑) ผู้ที่เป็นโรคหัวใจหรือโรคไต ควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ ๒) ถ้าผู้ป่วยยังมีอาการอาเจียนมาก เหงื่อออกมาก ตัวเย็น ความรู้ สึ ก เปลี่ ย นแปลงไป หรื อ หมดสติ ควรนํ า ผู้ ป่ ว ยส่ ง โรงพยาบาลโดยด่วน การเก็บรักษา ๑) เก็บในที่แห้ง และป้องกันไม่ให้ถูกแสงแดด ๒) ยาที่ละลายน้ําแล้วเกิน ๒๔ ชั่วโมง ไม่ควรใช้ ขนาดบรรจุ ๑ ซองสําหรับผสมน้ํา ๒๕๐ มิลลิลิตร ข้ อ ๓ ให้ แ ก้ ไ ขขนาดบรรจุ ใ น (๑๐.๒) (๑๒.๓) (๑๒.๔) (๑๒.๕) (๑๒.๖) และ (๑๕.๕) ของข้อ ๒ แห่งประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจํา บ้ า นแผนปั จ จุ บั น ฉบับลงวันที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นดังนี้ “(๑๐.๒) ยาล้างตา ขนาดบรรจุ ขวดละไม่เกิน ๒๔๐ มิลลิลิตร (๑๒.๓) ยาใส่แผลโพวิโดน- ไอโอดีน ขนาดบรรจุ ขวดละไม่เกิน ๑๒๐ มิลลิลิตร / (๑๒.๔) ยา ...
  • 6. -๖- (๑๒.๔) ยาไอโซโพลพิล แอลกอฮอล์ ขนาดบรรจุ ขวดละไม่เกิน ๔๕๐ มิลลิลิตร (๑๒.๕) ยาเอทิล แอลกอฮอล์ ขนาดบรรจุ ขวดละไม่เกิน ๔๕๐ มิลลิลิตร (๑๒.๖) น้ําเกลือล้างแผล ขนาดบรรจุ ขวดละไม่เกิน ๑ ลิตร (๑๕.๕) ยาทาแก้ผดผื่นคัน คาลาไมน์ ขนาดบรรจุ ขวดละไม่เกิน ๑๘๐ มิลลิลิตร” ข้อ ๔ ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๕ ลงชื่อ วิทยา บุรณศิริ (นายวิทยา บุรณศิร)ิ รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข ่