SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 32
Baixar para ler offline
หน่ วยการเรียนรู้ ที
                               สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
  รายวิชา สุ ขศึกษา                             กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุ ขศึกษาและพลศึกษา
  ชันมัธยมศึกษาปี ที                                                     เวลาเรียน ชัวโมง


1.มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชีวัด
     พ .      ม. /     วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของภาวะสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต

2.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด
                                           ั
     สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตมีความสัมพันธ์กน จึงควรรู ้จกวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของภาวะสมดุล
                                                        ั
ทัง ด้าน เพือให้สามารถปฏิบติตนในการสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีดีได้
                          ั

3.สาระการเรียนรู้
      . สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
           ความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
      . สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน
        -

4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน
      . ความสามารถในการสื อสาร
      . ความสามารถในการคิด
         ) ทักษะการคิดวิเคราะห์
        2) ทักษะการคิดสร้างสรรค์
         ) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                ิ
      . ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต
                              ั    ิ
         ) กระบวนการปฏิบติ ั
        2) กระบวนการทํางานกลุ่ม


                                              80
5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
    1.   มีวนย
             ิ ั
    2.   ใฝ่ เรี ยนรู ้
    3.   มีความรับผิดชอบ
    4.   มีจิตสาธารณะ


6.ชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
    รายงาน เรื อง ความสัมพันธ์ของภาวะสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต


7.การวัดและการประเมินผล
     . การประเมินก่ อนเรียน
       - แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที
     . การประเมินระหว่ างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
        ) ใบงานที . เรื อง จากกายถึงใจไปสู่ พฤติกรรม
        ) ใบงานที . เรื อง การประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีแสดงออก
        ) ประเมินการนําเสนอผลงาน
        ) สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล
        ) สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม
     . การประเมินหลังเรียน
       - แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที
     . การประเมินชิ นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
       - ประเมินรายงาน เรื อง ความสัมพันธ์ของภาวะสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต




                                            81
8.กิจกรรมการเรียนรู้
        นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่ อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที


                       กิจกรรมที ความสํ าคัญของสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต

  วิธีสอนแบบกรณีศึกษา และวิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ :
  กระบวนการสร้ างความตระหนัก                                                            เวลา ชั วโมง

      . ครู นาบทสนทนาของนิ ดกับทีม มาอ่านให้นกเรี ยนฟัง แล้วให้นกเรี ยนแสดงความคิดเห็นในประเด็น
                 ํ                                       ั               ั
        ทีกําหนด
      . ครู ตงประเด็นคําถาม เพือให้นกเรี ยนฝึ กการคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นจากบทสนทนา
             ั                            ั
        ข้างต้น
                                                                           ่
      . ครู อธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจว่า จากบทสนทนาข้างต้นจะเห็นได้วา ทีมเกิดความวิตกกังวล และ
                         ั
        ความเครี ยดเกียวกับเรื องสอบทีเกิดจากความกดดัน และความคาดหวังของพ่อแม่ จนส่ งผลให้เกิด
                                                               ่
        อาการปวดศีรษะ นอนไม่หลับ และอาเจียน จะเห็นได้วาสุ ขภาพจิตและสุ ขภาพกายมีความสัมพันธ์กน            ั
      . ครู นาแผนภูมิพีระมิด แสดงภาวะทีสมบูรณ์ทงทางร่ างกาย ทางจิต ทางสังคม และทางจิตวิญญาณ มาให้
               ํ                                           ั
        นักเรี ยนดูทีหน้าชันเรี ยน แล้วให้นกเรี ยนพิจารณาความสัมพันธ์ของภาวะต่างๆ
                                             ั
      . ให้นกเรี ยนร่ วมกันอภิปรายความสัมพันธ์ของภาวะต่างๆ แล้วครู ช่วยสรุ ปสาระสําคัญ
                   ั
      . ครู ให้นกเรี ยนอาสาสมัคร หรื อสุ่ มเรี ยกนักเรี ยน - คน ให้อธิ บายคําว่า จิตเป็ นนาย กายเป็ นบ่าว
                     ั
        แล้วครู อธิ บายเพิมเติม
      . ครู ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง ความสัมพันธ์ระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต จากหนังสื อเรี ยน
                       ั
        หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม แล้วครู อธิ บายให้นกเรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจ
                                                                             ั
        มากยิงขึน
      . นักเรี ยนทําใบงานที . เรือง จากกายถึงใจไปสู่ พฤติกรรม เสร็ จแล้วนําส่ งครู ผสอน ครู สุ่มเรี ยก
                                                                                          ู้
        นักเรี ยน - คน ออกมานําเสนอผลงานในใบงาน แล้วครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้เรื อง
        ความสัมพันธ์ระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต




                                                  82
กิจกรรมที ความสมดุลระหว่ างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต

วิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์ ,
กระบวนการคิดอย่ างมีวิจารณญาณ                                                      เวลา ชั วโมง


   1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกียวกับปั จจัย หรื อองค์ประกอบทีมีผลต่อการสร้างความสมดุล
      ระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
    . ครู ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง ความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต จากหนังสื อเรี ยน
                     ั
                            ํ
      ในประเด็นทีครู กาหนด ดังนี
       ) องค์ประกอบในการสร้างความสมดุล
       ) การประเมินภาวะสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
    . ครู สุ่มเรี ยกนักเรี ยน คน ออกมาทีหน้าชันเรี ยน แล้วให้นกเรี ยนจับสลากบัตรคําองค์ประกอบทีมี
                                                                ั
      ผลต่อการสร้างสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต เมือจับสลากบัตรคําเสร็ จเรี ยบร้อยแล้วให้
      นักเรี ยนบอกแนวทางในการปฏิบติตนตามองค์ประกอบทีได้รับตามลําดับ
                                           ั
    . ครู ถามนักเรี ยนว่า นักเรี ยนคิดว่า ตนเองมีภาวะสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตสมบูรณ์หรื อไม่
      เพราะเหตุใด โดยให้อาสาสมัครนักเรี ยนทีมีความคิดเห็นทีแตกต่าง คน ออกมาแสดงความคิดเห็น
      ทีหน้าชันเรี ยน
    . ครู อธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจว่า หากนักเรี ยนต้องการทราบว่า ตนเองมีภาวะสุ ขภาพกาย และสุ ขภาพจิต
                         ั
      สมบูรณ์หรื อไม่ จะต้องวัดหรื อประเมินภาวะสุ ขภาพกาย และสุ ขภาพจิต โดยสามารถประเมินได้ดวย     ้
      ตนเอง หรื อประเมินจากบุคลากรทางสาธารณสุ ข
    . ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง การประเมินภาวะสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต จากหนังสื อเรี ยน หรื อ
             ั
      หนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม
    . ครู ให้นกเรี ยนช่วยกันสรุ ปวิธีการประเมินภาวะสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตทัง วิธี แล้วให้นกเรี ยนดู
                   ั                                                                         ั
      ตัวอย่างการประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีแสดงออก จากหนังสื อเรี ยน
    . ให้นกเรี ยนทําใบงานที . เรื อง การประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีแสดงออก
               ั
      เสร็ จแล้วให้นกเรี ยนนําส่ งครู ตรวจ เพือประเมินผลเป็ นรายบุคคล
                       ั
    . ครู สนทนากับนักเรี ยนเกียวกับผลการประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีแสดงออก แล้ว
      ให้นกเรี ยนมารับใบงานที . คืนจากครู เพืออ่านผลการประเมินและแนวทางในการปฏิบติตนที
                 ั                                                                         ั
      เหมาะสมของแต่ละคนให้เพือนฟังทีหน้าชันเรี ยน

                                              83
. ครู ให้นกเรี ยนยกตัวอย่างการปฏิบติตนในการสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตว่า สามารถปฏิบติ
                 ั                          ั                                                            ั
        ได้อย่างไร
      . ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง การปฏิบติตนเพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต จากหนังสื อเรี ยน
               ั                               ั
        หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม
      . ให้นกเรี ยนอาสาสมัคร หรื อสุ่ มเรี ยกนักเรี ยน - คน ให้บอกรายการอาหารใน วัน ทีควรรับประทาน
             ั
        เพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตลงในแบบบันทึกรายการอาหารทีควรรับประทานเพือ
        สร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
      . นักเรี ยนและครู ร่วมกันสรุ ปแนวทางในการปฏิบติตน เพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
                                                         ั
      . ครู ให้นกเรี ยนแบ่งกลุ่ม แล้วให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มนําผลการประเมินภาวะสุ ขภาพกายและ
                   ั
        สุ ขภาพจิตของตนเองมา แล้วร่ วมกันวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของภาวะความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกาย
        และสุ ขภาพจิต พร้อมทังระบุแนวทางในการปฏิบติตน เพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตที
                                                           ั
        เหมาะสมจัดทําเป็ นรายงาน ครู และนักเรี ยนร่ วมกันกําหนดระยะเวลาในการส่ งผลงาน

           นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที

9.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้
     9.1 สื อการเรี ยนรู้
         1) หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม.
          ) บทสนทนาของนิ ดกับทีม
          ) แผนภูมิพีระมิด แสดงภาวะทีสมบูรณ์ทงทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางจิตวิญญาณ
                                                  ั
          ) แผนผัง แสดงความสัมพันธ์ของสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีมีผลกระทบถึงกัน
          ) แบบบันทึกรายการอาหารทีควรรับประทานเพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
          ) ใบงานที . เรื อง จากกายถึงใจไปสู่ พฤติกรรม
          ) ใบงานที . เรื อง การประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีแสดงออก
      . แหล่ งการเรียนรู้
          ) ห้องสมุด
          ) เอกสาร หรื อแผ่นพับของกระทรวงสาธารณสุ ข
         3) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
              www.panyathai.or.th/wiki/index.php/สุ ขภาพ
              www.dmh.go.th/qa/view.asp?id=41



                                                  84
การประเมินชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
                     แบบประเมินรายงาน เรือง ความสั มพันธ์ ของภาวะสมดุล
                             ระหว่ างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
                                                  คําอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน
  รายการประเมิน
                             ดีมาก (4)                ดี (3)                พอใช้ (2)            ปรับปรุง ( )
 . การอธิบาย         อธิบายความสัมพันธ์      อธิบายความสัมพันธ์ อธิบายความสัมพันธ์         อธิบายความสัมพันธ์
   ความสัมพันธ์      ระหว่างสุขภาพกาย        ระหว่างสุขภาพกาย       ระหว่างสุขภาพกาย       ระหว่างสุขภาพกาย
   ระหว่ าง          และสุขภาพจิตได้         และสุขภาพจิตได้        และสุขภาพจิตได้        และสุขภาพจิตได้
   สุ ขภาพกายและ ถูกต้อง ละเอียด ชัดเจน      ถูกต้องเป็ นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็ นบางส่วน      ถูกต้องเพียงส่วนน้อย
   สุ ขภาพจิต        และเข้าใจง่าย           และเข้าใจง่าย          แต่เข้าใจยาก           และเข้าใจยาก
 . การวิเคราะห์      วิเคราะห์ความสัมพันธ์   วิเคราะห์ความสัมพันธ์ วิเคราะห์ความสัมพันธ์   วิเคราะห์ความสัมพันธ์
   ความสัมพันธ์ ของ ของภาวะสมดุลระหว่าง      ของภาวะสมดุลระหว่าง ของภาวะสมดุลระหว่าง       ของภาวะสมดุลระหว่าง
   ภาวะสมดุลระหว่ าง สุขภาพกายและ            สุขภาพกายและ           สุขภาพกายและ           สุขภาพกายและ
   สุ ขภาพกายและ     สุขภาพจิตได้ถูกต้อง     สุขภาพจิตได้ถูกต้อง สุขภาพจิตได้ถูกต้อง       สุขภาพจิตได้ถูกต้อง
   สุ ขภาพจิต        ละเอียด ชัดเจน          ชัดเจน พร้อมมีเหตุผล ชัดเจน พร้อมมีเหตุผล     ชัดเจน พร้อมมีเหตุผล
                     ครอบคลุมทุกประเด็น      ประกอบเป็ นส่วนใหญ่ ประกอบเป็ นบางส่ วน       ประกอบเพียงบางส่ วน
                     พร้อมมีเหตุผลประกอบ
 . การเสนอแนะ        เสนอแนะแนวทางใน         เสนอแนะแนวทางใน        เสนอแนะแนวทางใน        เสนอแนะแนวทางใน
   แนวทางในการ       การปฏิบติตนเพือ
                                ั            การปฏิบติตนเพือ
                                                       ั            การปฏิบติตนเพือ
                                                                               ั           การปฏิบติตนเพือ
                                                                                                     ั
   ปฏิบัตตนเพือ
           ิ         สร้างเสริ มสุขภาพกาย    สร้างเสริ มสุขภาพกาย   สร้างเสริ มสุขภาพกาย   สร้างเสริ มสุขภาพกาย
   สร้ างเสริม       และสุขภาพจิตของตน       และสุขภาพจิตของตน      และสุขภาพจิตของตน      และสุขภาพจิตของตน
   สุ ขภาพกายและ ได้ถูกต้อง เหมาะสม          ได้ถูกต้อง เหมาะสม     ได้ถูกต้อง เหมาะสม     ได้ถูกต้องเพียง
   สุ ขภาพจิต        และนําไปปฏิบติ  ั       เป็ นส่วนใหญ่          เป็ นบางส่วน            ส่วนน้อย และนําไป
                     ได้ง่าย                 และนําไปปฏิบติ ั       และนําไปปฏิบติ  ั      ปฏิบติได้ยาก
                                                                                                 ั
                                             ได้ง่าย                ได้ง่าย
4. รู ปเล่ มรายงาน     ออกแบบปกสวยงาม        ออกแบบปกสวยงาม         ออกแบบปกค่อนข้าง       ออกแบบปก
                       แปลกใหม่ น่าสนใจ      คล้ายคลึงกับแบบทัวไป   สวยงาม คล้ายคลึง       ไม่สวยงาม
                       รู ปเล่มแน่นหนา       รู ปเล่มแน่นหนา        กับแบบทัวไป            รู ปเล่มค่อนข้าง
                                                                    รู ปเล่มค่อนข้าง       แน่นหนา
                                                                    แน่นหนา




                                                      85
เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ
ช่ วงคะแนน            ระดับคุณภาพ
       -                 ดีมาก
       -                   ดี
      -                  พอใช้
   ตํากว่า              ปรับปรุ ง




                86
แบบทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที

คําชี แจง    ให้นกเรี ยนเลือกคําตอบทีถูกต้องทีสุ ดเพียงข้อเดียว
                 ั

 .     ผูทีมีสุขภาพกายดีมกไม่เจ็บป่ วย เพราะสาเหตุใด
         ้               ั
       ก. มีความแข็งแรง                              ข. มีสุขภาพจิตดี
       ค. มีความต้านทานโรคทีดี                       ง. ทํากิจกรรมต่างๆ ได้ดี

 .     บุคคลใดมีวธีสร้างเสริ มสุ ขภาพกายทีดีทีสุ ด
                   ิ
       ก. ดินได้รับอากาศทีบริ สุทธิ
       ข. นําออกกําลังกายเป็ นประจํา
       ค. ลมทําจิตใจให้ร่าเริ งแจ่มใสอยูเ่ สมอ
       ง. ไฟรับประทานเฉพาะผักและผลไม้ทีมีราคาแพง

 .     สุ ขภาวะทางร่ างกาย หมายถึงอะไร
       ก. การมีอวัยวะครบถ้วน
       ข. การมีรูปร่ างผอมเพรี ยว
       ค. การมีรูปร่ างอ้วนท้วนสมบูรณ์
       ง. การมีร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรง

 .     ข้อใดไม่ ใช่ ความหมายของสุ ขภาวะทางจิต
       ก. จิตใจทีมีแต่ความสุ ข                          ข. จิตใจทีมีความร่ าเริ ง สดใส
       ค. จิตใจทีมีแต่ความเห็นแก่ตวั                    ง. จิตใจทีมีความเมตตากรุ ณา

 .     ผูทีมีสุขภาพจิตดีก่อให้เกิดประโยชน์อย่างไร
         ้
       ก. ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี                ข. มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง
       ค. เป็ นทีรักของคนรอบข้าง                        ง. มีอารมณ์ร่าเริ ง แจ่มใส

 .     คนทีมักอารมณ์ไม่ดีเป็ นประจําจะส่ งผลกระทบต่อร่ างกายหลายประการ ยกเว้ นข้อใด
       ก. ความดันโลหิ ตสู ง                         ข. ปวดเมือยกล้ามเนือ
       ค. ปวดศีรษะ                                  ง. ปวดท้อง
                                                87
.    บุคคลใดปฏิบติตนในการสร้างเสริ มสุ ขภาพจิตไม่ เหมาะสม
                  ั
      ก. หงษ์ชอบดูหนังฟังเพลง
                ่
      ข. เหมยอยูในทีทีมีอากาศบริ สุทธิ
      ค. พลอยออกกําลังกายสมําเสมอ
      ง. ริ นออกไปเทียวสถานเริ งรมย์เสมอเมือไม่สบายใจ

 .    ข้อใดไม่ ใช่ องค์ประกอบในการสร้างความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
      ก. กินเป็ น                                 ข. รักเป็ น
      ค. สังคมเป็ น                               ง. สมาธิ เป็ น

 .    ข้อใดไม่ ใช่ การปฏิบติตนเพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
                          ั
      ก. การทําจิตใจให้ร่าเริ ง แจ่มใสอยูเ่ สมอ
      ข. การรับประทานอาหารทีมีประโยชน์
      ค. การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
      ง. การรักษาอนามัยส่ วนบุคคล

                                             ่
10. จากคํากล่าวทีว่า “สุ ขภาพจิตทีดี มักจะอยูในร่ างกายทีสมบูรณ์” นักเรี ยนเห็นด้วยกับคํากล่าวนีหรื อไม่
    เพราะเหตุใด
    ก. เห็นด้วย เพราะผูมีสุขภาพกายทีดี มักมีสุขภาพจิตทีดีดวย
                         ้                                 ้
    ข. เห็นด้วย เพราะคนทีร่ างกายสมบูรณ์ส่วนใหญ่จะมีสุขภาพจิตดี
    ค. ไม่เห็นด้วย เพราะสุ ขภาพกายกับสุ ขภาพจิตไม่มีความสัมพันธ์กน   ั
    ง. ไม่เห็นด้วย เพราะคนทีมีสุขภาพจิตดีไม่จาเป็ นต้องมีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง
                                                ํ



           เฉลย         แบบทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที 4
                     1. ค          .ข           .ง           .ค           .ง
                      .ก           .ง           .ข           .ค            .ก




                                                   88
แผนการจัดการเรียนรู้ ที 1

  เรือง ความสําคัญของสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต                                 เวลา ชัวโมง
  หน่ วยการเรียนรู้ ที สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต                           ชันมัธยมศึกษาปี ที

1.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด
                                            ั
      สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตมีความสัมพันธ์กน จึงมีผลต่อการแสดงออกทางพฤติกรรมโดยผูมี
                                                                                  ้
               ่
สุ ขภาพกายทีดียอมมีสุขภาพจิตทีดีดวย
                                 ้

2.ตัวชีวัด/จุดประสงค์ การเรียนรู้
     2.1   ตัวชี วัด
           พ .       ม. /      วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของภาวะสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายสุ ขภาพจิต
     2.2   จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
            ) บอกความสําคัญของสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตได้
            ) อธิ บายความสัมพันธ์ระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตได้

3.สาระการเรียนรู้
      .    สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
              ความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
      .    สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน
           -

4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน
      .    ความสามารถในการสื อสาร
      .    ความสามารถในการคิด
            ) ทักษะการคิดวิเคราะห์
            ) ทักษะการคิดสร้างสรรค์
      .    ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต
                                ั     ิ
            ) กระบวนการปฏิบติ ั


                                              89
5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
    1.   มีวนย
             ิ ั
     .   ใฝ่ เรี ยนรู ้
     .   มีความรับผิดชอบ
     .   มีจิตสาธารณะ

6.กิจกรรมการเรียนรู้
     (วิธีสอนแบบกรณีศึกษา และวิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการสร้ างความตระหนัก)
        นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่ อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที

                                             ชั วโมงที

    1. ครู นาบทสนทนาของนิ ดกับทีม มาอ่านให้นกเรี ยนฟัง แล้วให้นกเรี ยนแสดงความคิดเห็นในประเด็น
            ํ                               ั                  ั
       ทีกําหนด

         นิด   :
               เป็ นอะไรไปจ๊ะ เช้านีดูไม่สดชืนเลย
         ทีม   นอนไม่ค่อยหลับเลยปวดศีรษะนิดหน่อย
               :
         นิด   :
               ทีมเครี ยดเรื องสอบหรื อเปล่าจึงได้เก็บไปคิดและเป็ นกังวลจนนอนไม่หลับ
         ทีม   :
               อืม... ยอมรับว่าเครี ยด อาเจียนไปหลายครังเลยนะ พ่อแม่ทีมก็หวังว่าทีมต้อง
               สอบได้คะแนนดีเหมือนทุกๆ เทอม
         นิด : เข้าใจๆ ยังไงก็ตองดูแลสุ ขภาพบ้างนะ อย่าเครี ยดเดียวจะล้มหมอนนอนเสื อ
                                ้
               นะจ๊ะทีม

    2. ครู ตงประเด็นคําถาม เพือให้นกเรี ยนฝึ กการคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นจากบทสนทนา
            ั                       ั
       ข้างต้น ตัวอย่างคําถามเช่น
       - นักเรี ยนคิดว่า ความวิตกกังวล หรื อความเครี ยดเป็ นสาเหตุของอาการปวดศีรษะหรื อไม่ อย่างไร
       - นักเรี ยนคิดว่า คนทีมีความวิตกกังวล หรื อความเครี ยดจะแสดงออกทางสี หน้า หรื อพฤติกรรม
           หรื อไม่ อย่างไร
                                                                  ั
       - นักเรี ยนคิดว่า สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตมีความสัมพันธ์กนหรื อไม่ อย่างไร


                                               90
่
       . ครู อธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจว่า จากบทสนทนาข้างต้นจะเห็นได้วา ทีมเกิดความวิตกกังวล และ
                        ั
         ความเครี ยดเกียวกับเรื องสอบทีเกิดจากความกดดันและความคาดหวังของพ่อแม่ จนส่ งผลให้เกิด
                                                             ่
         อาการปวดศีรษะ นอนไม่หลับ และอาเจียน จึงเห็นได้วา สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตมีความสัมพันธ์กน  ั
      . ครู นาแผนภูมิพีระมิด แสดงภาวะทีสมบูรณ์ทงทางร่ างกาย ทางจิต ทางสังคม และทางจิตวิญญาณ
              ํ                                       ั
         มาให้นกเรี ยนดูทีหน้าชันเรี ยน แล้วให้นกเรี ยนพิจารณาความสัมพันธ์ของภาวะต่างๆ
                  ั                                ั
       . ให้นกเรี ยนร่ วมกันอธิ บายความสัมพันธ์ของภาวะต่างๆ แล้วครู ช่วยสรุ ปสาระสําคัญ ดังนี
                ั
         - การมีร่างกายทีสมบูรณ์แข็งแรง ไม่มีโรค ไม่มีความพิการ มีสิงแวดล้อมทีดีส่งเสริ มสุ ขภาพ
           จะส่ งผลให้จิตใจแจ่มใส ร่ าเริ ง มีสติ และสามารถอยูร่วมกันในครอบครัว ชุมชน และสังคมได้
                                                               ่
           อย่างมีความสุ ข ส่ งผลให้ชุมชนและสังคมมีความเข้มแข็ง กระทําแต่สิงทีดี มีคุณธรรม และสร้าง
           มโนธรรมให้เกิดขึนอย่างถาวร

                                                ชั วโมงที

      . ครู ให้นกเรี ยนอาสาสมัคร หรื อสุ่ มเรี ยกนักเรี ยน - คน ให้อธิ บายคําว่า “จิตเป็ นนาย กายเป็ นบ่าว”
                   ั
        แล้วครู อธิ บายให้นกเรี ยนทราบว่า จิตเป็ นตัวกําหนด ควบคุม สังการการทํางานของร่ างกาย จึงเรี ยก
                              ั
              ่
        ได้วา จิตเป็ นนาย กายเป็ นบ่าว
      . ครู ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง ความสัมพันธ์ระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต จากหนังสื อเรี ยน
                       ั
        หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม
      . ครู ให้นกเรี ยนดูแผนผัง แสดงความสัมพันธ์ของสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีมีผลกระทบ
                     ั
        ต่อกัน แล้วครู อธิ บายเพิมเติม เพือให้นกเรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจมากยิงขึน
                                                 ั
      . นักเรี ยนทําใบงานที . เรือง จากกายถึงใจไปสู่ พฤติกรรม เสร็ จแล้วนําส่ งครู ผสอน จากนันครู
                                                                                        ู้
        สุ่ มเรี ยกนักเรี ยน - คน ออกมานําเสนอผลงานในใบงานที . แล้วครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ป
        ความรู ้เรื อง ความสัมพันธ์ระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต

7.การวัดและประเมินผล
              วิธีการ                       เครืองมือ                                   เกณฑ์
ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน          แบบทดสอบก่อนเรี ยน                            ร้อยละ ผ่านเกณฑ์
ตรวจใบงานที .                   ใบงานที .                                     ร้อยละ ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางาน                    ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์
                                รายบุคคล


                                                  91
8.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้
     8.1   สื อการเรี ยนรู้
            ) หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม.
           2) บทสนทนาของนิ ดกับทีม
            ) แผนภูมิพีระมิด แสดงภาวะทีสมบูรณ์ทงทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางจิตวิญญาณ
                                                     ั
           4) แผนผัง แสดงความสัมพันธ์ของสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีมีผลกระทบถึงกัน
            ) ใบงานที . เรื อง จากกายถึงใจไปสู่ พฤติกรรม
     8.2   แหล่ งการเรียนรู้
           1) ห้องสมุด
           2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
               www.panyathai.or.th/wiki/index.php/สุ ขภาพ
               www.dmh.go.th/qa/view.asp?id=41




                                            92
แผนภูมิพระมิด แสดงภาวะทีสมบูรณ์ ทังทางกาย
                              ี
                         ทางจิต ทางสั งคม และทางจิตวิญญาณ




                                                 การทําความดี มีคุณธรรม มโนธรรม
 สุ ขภาวะทางจิตวิญญาณ                                การอยูร่วมกันด้วยดี ครอบครัวอบอุ่น
                                                           ่
                                                     ชุมชนเข้มแข็ง
 สุ ขภาวะทางสังคม
                                                         จิตใจแจ่มใส ร่ าเริ ง มีสติ
                                                         สมาธิ ปั ญญา
 สุ ขภาวะทางจิต
                                                              ร่ างกายสมบูรณ์ แข็งแรง
                                                              ไม่มีโรค ไม่พิการ
สุ ขภาวะทางร่ างกาย
                                                              มีสิงแวดล้อมทีส่ งเสริ มสุ ขภาพ




                                        93
แผนผัง แสดงความสั มพันธ์ ของสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต
         และพฤติกรรมทีมีผลกระทบถึงกัน




                       94
ใบงานที 1.1 เรือง จากกายถึงใจไปสู่ พฤติกรรม

คําชี แจง ให้นกเรี ยนเขียนสถานการณ์สมมุติพร้อมบทสนทนา เพือแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ของสุ ขภาพกาย
               ั
          สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีมีผลกระทบต่อกัน มา สถานการณ์


   สถานการณ์




   บทสนทนา




                                             95
ใบงานที 1.1 เรือง จากกายถึงใจไปสู่ พฤติกรรม

คําชี แจง ให้นกเรี ยนเขียนสถานการณ์สมมุติพร้อมบทสนทนา เพือแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ของสุ ขภาพกาย
               ั
          สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีมีผลกระทบต่อกัน มา สถานการณ์


   สถานการณ์
                                 ชะเอมกับน้ อยหน่ าเป็ นเพือนสนิทกัน ทัง คนเป็ นเด็กดี ขยันเรี ยน และ
                           ชอบทํากิจกรรม เดื อนหน้ าน้ อยหน่ าจะต้ องเป็ นตัวแทนของโรงเรี ยนไปแข่ งขัน
                           วาดภาพ แต่ กต้องสอบปลายภาคด้ วย ทําให้ น้อยหน่ าเกิดความวิตกกังวล กลัวว่ า
                                         ็
                           จะอ่ านหนังสื อเตรี ยมสอบไม่ ทัน




   บทสนทนา



        ชะเอม :        น้ อยหน่ า ทําไมทําหน้ านิวคิ วขมวดอย่ างนันล่ ะจ้ ะ
        น้ อยหน่ า :   ฉั นมีเรื องไม่ ค่อยสบายใจจ้ ะ เดือนหน้ าต้ องไปแข่ งขันวาดภาพ แต่ กต้องสอบ
                                                                                                ็
                       ปลายภาคด้ วย นีคิ ดมากจนปวดหั วไปหมดแล้ วจ้ ะ
        ชะเอม :        อ๋ อ...อย่ างนีนีเอง อย่ าคิ ดมากไปเลยจ้ ะ ถ้ าคิ ดมากไปก็ไม่ ช่วยให้ อะไรดีขึนหรอกนะ
                       แล้ วยังทําให้ ปวดหั วส่ งผลเสี ยต่ อสุ ขภาพอี ก
        น้ อยหน่ า :   แล้ วฉั นควรทําอย่ างไรดีล่ะจ้ ะ
        ชะเอม :        ตอนนีมีเวลาเหลืออี ก เดือน ฉั นว่ าเธอลองแบ่ งเวลาดูสิจ๊ะ เช่ น วันจันทร์ ถึงวัน
                       ศุกร์ หลังเลิกเรี ยนทุกวันก็อ่านหนังสื อ ทบทวนความรู้ เพื อเตรี ยมสอบ ส่ วนวันเสาร์
                       อาทิ ตย์ กฝึกซ้ อมวาดภาพ และถ้ ามีเวลาเหลือก็อ่านหนังสื อต่ ออี ก
                                   ็
        น้ อยหน่ า :   อ๋ อ...อย่ างนีนีเอง ขอบใจมากนะจ้ ะชะเอม ฉั นจะลองทําดู
        ชะเอม :        จ้ ะ จะได้ ไม่ ต้องปวดหั วอี กนะ

           (หมายเหตุ พิ จารณาตามผลงานของนักเรี ยน โดยให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ สอน)
                                                                                  ู

                                                   96
แบบสั งเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล

                                           ความมีนําใจ
          ชือ – สกุล                                       การรับฟัง       การแสดง                                    รวม
ลําดับ                     ความมีวนัย
                                  ิ          เอือเฟื อ                                การตรงต่ อเวลา
         ของผู้รับการ                                     ความคิดเห็น     ความคิดเห็น
   ที                                        เสียสละ
           ประเมิน                                                                                                  คะแนน




                                                               ลงชือ...................................................ผูประเมิน
                                                                                                                         ้
                                                                    ............../.................../................
เกณฑ์ การให้ คะแนน
       ปฏิบติหรื อแสดงพฤติกรรมอย่างสมําเสมอ
               ั                                         ให้   คะแนน
       ปฏิบติหรื อแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง
                 ั                                       ให้   คะแนน
       ปฏิบติหรื อแสดงพฤติกรรมบางครัง
           ั                                             ให้   คะแนน
       ปฏิบติหรื อแสดงพฤติกรรมน้อยครัง
             ั                                           ให้   คะแนน

เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ
              ช่ วงคะแนน                ระดับคุณภาพ
                  18-20                    ดีมาก
                  14-17                      ดี
                  10-13                    พอใช้
               ตํากว่า                    ปรับปรุ ง

                                                         97
แผนการจัดการเรียนรู้ ที

  เรือง ความสมดุลระหว่ างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต                              เวลา ชัวโมง
  หน่ วยการเรียนรู้ ที 4 สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต                          ชันมัธยมศึกษาปี ที

1.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด
                                                      ั
       สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตมีความเกียวข้องสัมพันธ์กน การสร้างความสมดุลระหว่างทัง สิ ง จึงถือ
เป็ นความสําคัญอย่างยิงทีจะสามารถปฏิบติตน เพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีเหมาะสมและ
                                      ั
             ่
ดํารงชีวิตอยูในสังคมด้วยความเป็ นปกติสุข

2.ตัวชีวัด/จุดประสงค์ การเรียนรู้
     2.1    ตัวชี วัด
            พ .         ม. /    วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของภาวะสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
     2.2    จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
             ) อธิ บายความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตได้
             ) บอกองค์ประกอบในการสร้างความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตได้
             ) บอกแนวทางการปฏิบติตนเพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตได้
                                      ั
            4) ปฏิบติตนเพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตได้อย่างเหมาะสม
                      ั

3.สาระการเรียนรู้
      .     สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
               ความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
      .     สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน
            -
4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน
      .     ความสามารถในการสื อสาร
      .     ความสามารถในการคิด
             ) ทักษะการคิดวิเคราะห์
             ) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                  ิ


                                               98
.     ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต
                               ั      ิ
            ) กระบวนการปฏิบติ
                            ั
            ) กระบวนการทํางานกลุ่ม

5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
    1.   มีวนย
             ิ ั
     .   ใฝ่ เรี ยนรู ้
     .   มีความรับผิดชอบ
     .   มีจิตสาธารณะ

6.กิจกรรมการเรียนรู้
     (วิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์ , กระบวนการคิดอย่ างมีวิจารณญาณ)

                                                   ชั วโมงที
     1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกียวกับปั จจัย หรื อองค์ประกอบทีมีผลต่อการสร้างความสมดุล
        ระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
      . ครู ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง ความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต จากหนังสื อเรี ยน
                  ั
                              ํ
        ในประเด็นทีครู กาหนด ดังนี
         ) องค์ประกอบในการสร้างความสมดุล
         ) การประเมินภาวะสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
      . ครู สุ่มเรี ยกนักเรี ยน คน ออกมาทีหน้าชันเรี ยน แล้วให้นกเรี ยนจับสลากบัตรคําองค์ประกอบทีมีผล
                                                                ั
        ต่อการสร้างความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต เมือจับสลากบัตรคําเสร็ จแล้วให้นกเรี ยนั
        บอกแนวทางในการปฏิบติตนตามองค์ประกอบทีได้รับตามลําดับ ดังนี
                                   ั

            กินเป็ น                  อยูเ่ ป็ น               สังคมเป็ น               สมาธิ เป็ น

      . ครู และเพือนในชันเรี ยนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง แล้วครู อธิ บายเพิมเติมให้นกเรี ยนเข้าใจว่า
                                                                                    ั
                                                ั
        สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตมีความสัมพันธ์กน หากสุ ขภาพด้านใดด้านหนึงเสี ยสมดุลก็จะส่ งผล
        กระทบต่อด้านหนึงทันที เช่น หากร่ างกายเกิดการเจ็บป่ วย สภาวะทางด้านจิตใจก็จะมีผลกระทบ
        ทันที
                                                     99
. ครู ถามนักเรี ยนว่า นักเรี ยนคิดว่า ตนเองมีภาวะสุ ขภาพกาย และสุ ขภาพจิตสมบูรณ์หรื อไม่
  เพราะเหตุใด โดยให้อาสาสมัครนักเรี ยนทีมีความคิดเห็นทีแตกต่าง คน ออกมาแสดงความคิดเห็น
  ทีหน้าชันเรี ยน
. ครู อธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจว่า หากนักเรี ยนต้องการทราบว่า ตนเองมีภาวะสุ ขภาพกาย และสุ ขภาพจิต
                   ั
  สมบูรณ์หรื อไม่ จะต้องวัดหรื อประเมินภาวะสุ ขภาพกาย และสุ ขภาพจิต โดยสามารถประเมินได้ดวย    ้
  ตนเองหรื อประเมินจากบุคลากรทางสาธารณสุ ข
. ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง การประเมินภาวะสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต จากหนังสื อเรี ยน หรื อ
          ั
  หนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม
. ครู ให้นกเรี ยนช่วยกันสรุ ปวิธีการประเมินภาวะสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตทัง วิธี แล้วให้นกเรี ยน
            ั                                                                             ั
  ดูตวอย่างการประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีแสดงออก จากหนังสื อเรี ยน
      ั
. ครู อธิ บายเพิมเติม เพือให้นกเรี ยนเห็นความสําคัญในการพิจารณาสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และ
                               ั
  พฤติกรรมทีแสดงออกตามความเป็ นจริ งทีเกิดขึนในการทําแบบประเมิน เพราะจะทําให้ทราบผล
  การประเมินทีถูกต้องตรงกับความเป็ นจริ ง และสามารถนําแนวทางทีได้จากการประเมินไปปฏิบติตน    ั
  เพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
. ให้นกเรี ยนทําใบงานที . เรื อง การประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีแสดงออก
        ั
  เสร็ จแล้วให้นกเรี ยนนําส่ งครู ตรวจ เพือประเมินผลเป็ นรายบุคคลในชัวโมงเรี ยนครังต่อไป
                 ั

                                               =
                                         ชั วโมงที

. ครู สนทนากับนักเรี ยนเกียวกับผลการประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีแสดงออก
  แล้วให้นกเรี ยนมารับใบงานที . คืนจากครู เพืออ่านผลการประเมินและแนวทางในการปฏิบติตน
             ั                                                                                ั
  ทีเหมาะสมของแต่ละบุคคล หากนักเรี ยนสงสัยให้สอบถามครู เพิมเติมเป็ นรายบุคคล
. ครู ให้นกเรี ยนยกตัวอย่างการปฏิบติตนในการสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตว่า สามารถปฏิบติ
           ั                        ั                                                              ั
  ได้อย่างไร
  - การปฏิบติตนในการสร้างเสริ มสุ ขภาพกาย เช่น รักษาความสะอาดของร่ างกาย รับประทานอาหาร
                  ั
     ทีมีประโยชน์ ออกกําลังกายอย่างสมําเสมอ เป็ นต้น
  - การปฏิบติตนในการสร้างเสริ มสุ ขภาพจิต เช่น ทําจิตใจให้ร่าเริ งอยูเ่ สมอ มองโลกในแง่ดี พักผ่อน
                ั
     ให้เพียงพอ เป็ นต้น
. ครู อธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจว่า การรู ้จกปฏิบติตนเพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตเป็ นสิ ง
                    ั                     ั    ั
  สําคัญ เพราะทัง ส่ วนมีผลโดยตรงต่อกัน

                                           100
. ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง การปฏิบติตนเพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต จากหนังสื อเรี ยน
              ั                                  ั
         หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม
       . ครู ให้นกเรี ยนอาสาสมัคร หรื อสุ่ มเรี ยกนักเรี ยน - คน ให้บอกรายการอาหารทีควรรับประทาน
                    ั
         ใน วันเพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต ลงในแบบบันทึกรายการอาหารทีควรรับประทาน
         เพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีครู แจกให้ แล้วออกมานําเสนอทีหน้าชันเรี ยน จากนันให้
         นักเรี ยนช่วยกันบอกผลดีของการเลือกรับประทานอาหารทีมีประโยชน์
       . นักเรี ยนและครู ร่วมกันสรุ ปแนวทางในการปฏิบติตน เพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
                                                            ั
      . ครู ให้นกเรี ยนแบ่งกลุ่ม แล้วให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มนําผลการประเมินภาวะสุ ขภาพกายและ
                  ั
         สุ ขภาพจิตของตนเองมา แล้วร่ วมกันวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของภาวะความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกาย
         และสุ ขภาพจิต พร้อมทังระบุแนวทางในการปฏิบติตน เพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตที
                                                              ั
         เหมาะสมจัดทําเป็ นรายงาน ครู และนักเรี ยนร่ วมกันกําหนดระยะเวลาในการส่ งผลงาน

           นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที

7.การวัดและประเมินผล

                 วิธีการ                                เครืองมือ                       เกณฑ์
ตรวจใบงานที .                          ใบงานที .                              ร้อยละ ผ่านเกณฑ์
ประเมินรายงาน เรื อง ความสัมพันธ์      แบบประเมินรายงาน เรื อง                ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์
ของภาวะสมดุลระหว่างสุ ขภาพกาย          ความสัมพันธ์ของภาวะสมดุลระหว่าง
และสุ ขภาพจิต                          สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
ประเมินการนําเสนอผลงาน                 แบบประเมินการนําเสนอผลงาน       ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล        แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางาน      ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์
                                       รายบุคคล
ตรวจแบบทดสอบหลังเรี ยน                 แบบทดสอบหลังเรี ยน              ร้อยละ ผ่านเกณฑ์


8.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้
     8.1     สื อการเรี ยนรู้
              ) หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม.
              ) แบบบันทึกรายการอาหารทีควรรับประทานเพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
              ) ใบงานที . เรื อง การประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีแสดงออก
                                                  101
8.2 แหล่ งการเรียนรู้
    1) ห้องสมุด
     ) เอกสาร หรื อแผ่นพับของกระทรวงสาธารณสุ ข
    3) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
       www.panyathai.or.th/wiki/index.php/สุ ขภาพ
       www.dmh.go.th/qa/view.asp?id=41




                                      102
แบบบันทึกรายการอาหารทีควรรับประทานเพือสร้ างเสริมสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต


            รายการอาหารทีควรรับประทานเพือสร้ างเสริมสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต




       อาหารเช้ า                  อาหารกลางวัน                    อาหารเย็น




                                         103
แบบประเมินรายงาน เรือง ความสั มพันธ์ ของภาวะสมดุลระหว่ าง
                               สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต

กลุ่มที..........................
สมาชิกของกลุ่ม                       . ........................................        2. ........................................
                                    3. ........................................        4. ........................................
                                    5. ........................................        6. ........................................

  ลําดับ                                                                                                                                          คุณภาพผลงาน
                                                       รายการประเมิน
     ที
               การอธิ บายความสัมพันธ์ระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต
               การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของภาวะสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและ
               สุ ขภาพจิต
               การเสนอแนะแนวทางในการปฏิบติตนเพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและ
                                             ั
               สุ ขภาพจิต
               รู ปเล่มรายงาน
                                                                                                  รวม

                                                                                  ลงชือ..............................................................................ผูประเมิน
                                                                                                                                                                       ้
                                                                                                                  /                           /
                                                                                            ....................... ........................... ........................



เกณฑ์ การให้ คะแนน                                                                         เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ
   ดีมาก                            =           4                                                ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
   ดี                               =                                                                    -        ดีมาก
   พอใช้                            =                                                                    -          ดี
   ปรับปรุ ง                        =           1                                                       -         พอใช้
                                                                                                     ตํากว่า     ปรับปรุ ง



                                                                          104
ใบงานที . เรือง การประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต
                                   และพฤติกรรมทีแสดงออก

คําชี แจง ให้นกเรี ยนขีดเครื องหมาย ลงในช่องว่างตามระดับอาการทีเกิดขึนกับตนเองในช่วงระยะเวลา
              ั
           เดือน ทีผ่านมาตามความเป็ นจริ ง พร้อมทังบอกอาการทีแสดงออกมาด้วยว่าเป็ นประเภทใด


                                                        ระดับอาการ                ประเภท
                  ลักษณะอาการ
                                             ไม่ เคยเลย บางครัง เป็ นประจํา (กาย/จิต/พฤติกรรม)
       .   ปวดศีรษะข้างเดียว
       .   นอนไม่หลับ กระสับกระส่ าย
       .   กลุมใจ หงุดหงิด รําคาญใจ
                 ้
       .   ไม่มีสมาธิ
       .   ก้าวร้าว พูดจาหยาบคาย
       .   คลืนไส้อาเจียน
       .   ขว้างปา ทําลายสิ งของ
       .   รู ้สึกว่าตนเองเป็ นคนไร้ค่า
       .   เบืออาหาร
       .   ฉุ นเฉี ยว โมโหง่าย
       .   โต้เถียงด้วยเหตุผลมากกว่าอารมณ์
       .   สามารถเข้ากับคนอืนได้ง่าย
       .   ยอมแพ้เสมอเมือเผชิญปั ญหา
       .   ทํางานคล่องแคล่วว่องไว
       .   เชือฟังคําสังสอนของผูใหญ่
                                   ้




ภาระ

                                                   105
ใบงานที . เรือง การประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต
                                  และพฤติกรรมทีแสดงออก

คําชี แจง ให้นกเรี ยนขีดเครื องหมาย ลงในช่องว่างตามระดับอาการทีเกิดขึนกับตนเองในช่วงระยะเวลา
              ั
           เดือน ทีผ่านมาตามความเป็ นจริ ง พร้อมทังบอกอาการทีแสดงออกมาด้วยว่าเป็ นประเภทใด


                                                    ระดับอาการ                ประเภท
              ลักษณะอาการ
                                         ไม่ เคยเลย บางครัง เป็ นประจํา (กาย/จิต/พฤติกรรม)
   .   ปวดศีรษะข้างเดียว
   .   นอนไม่หลับ กระสับกระส่ าย
   .   กลุมใจ หงุดหงิด รําคาญใจ
             ้
   .   ไม่มีสมาธิ
   .   ก้าวร้าว พูดจาหยาบคาย
   .   คลืนไส้อาเจียน
   .   ขว้างปา ทําลายสิ งของ
   .   รู ้สึกว่าตนเองเป็ นคนไร้ค่า
   .   เบืออาหาร
   .   ฉุ นเฉี ยว โมโหง่าย
   .   โต้เถียงด้วยเหตุผลมากกว่าอารมณ์
   .   สามารถเข้ากับคนอืนได้ง่าย
   .   ยอมแพ้เสมอเมือเผชิญปั ญหา
   .   ทํางานคล่องแคล่วว่องไว
   .   เชือฟังคําสังสอนของผูใหญ่
                               ้




                                               106
แบบประเมินการนําเสนอผลงาน


 ลําดับ                                                                                   คุณภาพการปฏิบัติ
                            รายการประเมิน
    ที                                                                       4                   3                    2                   1
   1      นําเสนอเนื อหาในผลงานได้ถูกต้อง
   2      การลําดับขันตอนของเนือเรื อง
   3      การนําเสนอมีความน่าสนใจ
   4      การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
   5      การตรงต่อเวลา
                                                    รวม

                                                          ลงชือ..............................................................................ผูประเมิน
                                                                                                                                               ้
                                                               ......................./.........................../........................

เกณฑ์ การให้ คะแนน
      ผลงานหรื อพฤติกรรมสมบูรณ์ชดเจน
                                 ั                        ให้           คะแนน
      ผลงานหรื อพฤติกรรมค่อนข้างสมบูรณ์                   ให้           คะแนน
      ผลงานหรื อพฤติกรรมมีขอบกพร่ องเป็ นบางส่ วน
                           ้                              ให้           คะแนน
      ผลงานหรื อพฤติกรรมมีขอบกพร่ องมาก
                             ้                            ให้           คะแนน

เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ
           ช่ วงคะแนน            ระดับคุณภาพ
               18-20                ดีมาก
               14-17                  ดี
               10-13                พอใช้
            ตํากว่า                ปรับปรุ ง

                                               107
แบบสั งเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล

                                                                                            การแก้ ไข
                                                     การทํางาน
          ชือ – สกุล        การแสดง การยอมรับฟัง                                           ปัญหาหรือ              รวม
ลําดับ                                               ตามทีได้ รับ      ความมีนําใจ
         ของผู้รับการ      ความคิดเห็น  ผู้อน
                                            ื                                               ปรับปรุง
   ที                                                มอบหมาย
           ประเมิน                                                                           ผลงาน              คะแนน




                                                           ลงชือ...................................................ผูประเมิน
                                                                                                                     ้
                                                                ............../.................../................
เกณฑ์ การให้ คะแนน
       ปฏิบติหรื อแสดงพฤติกรรมอย่างสมําเสมอ
               ั                                    ให้   คะแนน
       ปฏิบติหรื อแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง
                 ั                                  ให้   คะแนน
       ปฏิบติหรื อแสดงพฤติกรรมบางครัง
           ั                                        ให้   คะแนน
       ปฏิบติหรื อแสดงพฤติกรรมน้อยครัง
             ั                                      ให้   คะแนน
เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ
              ช่ วงคะแนน            ระดับคุณภาพ
                  18-20                ดีมาก
                  14-17                  ดี
                  10-13                พอใช้
               ตํากว่า                ปรับปรุ ง

                                                   108
บันทึกหลังหน่ วยการเรี ยนรู้ อิงมาตรฐาน
     ตอนที     นักเรี ยนมีความรู ้ความสามารถตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชีวัดของหน่วยการเรี ยนรู ้
               ต่อไปนี พ . (ม. / )
          ด้านความรู ้



                              ( จํานวน                        คน คิดเป็ นร้ อยละ                      )
          ด้านสมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยน



          ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์




สรุปผลจากการประเมินชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ประจําหน่ วยการเรียนรู้
  ระดับคุณภาพดีมาก      จํานวน                          คน คิดเป็ นร้ อยละ
  ระดับคุณภาพดี         จํานวน                          คน คิดเป็ นร้ อยละ
  ระดับคุณภาพพอใช้      จํานวน                         คน คิดเป็ นร้ อยละ
  ระดับคุณภาพปรับปรุง จํานวน                           คน คิดเป็ นร้ อยละ


  ปั ญหา/อุปสรรค

  แนวทางการแก้ไข



                          ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ทได้ รับมอบหมาย
                                                               ี
ข้อเสนอแนะ




                                                                             ลงชือ
                                                                         (                                )
                                                                       ตําแหน่ง

                                                    109
ตอนที     การตรวจสอบคุณภาพนักเรียนเพือเตรียมความพร้ อมรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก      ร้ อยละ
          ระดับการศึกษาขันพืนฐาน
. นักเรียนมีคณธรรม จริยธรรม และค่ านิยมทีพึงประสงค์
                ุ
   . . เป็ นนักเรี ยนที ดีของโรงเรี ยน
         1) ความซือสัตย์ สุจริ ต
            ) มีวนย   ิ ั
            ) มุ่งมันในการทํางาน
   . . เป็ นลูกที ดีของพ่ อแม่ ผู้ปกครอง
                    ่
            ) อยูอย่างพอเพียง
            ) มีความเอืออาทร
            ) มีความกตัญ ูกตเวที
   . เป็ นสมาชิ กที ดีของชุมชน
            ) รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
            ) รักความเป็ นไทย
            ) มีจิตสาธารณะ
. นักเรียนมีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีดี
    . มีสุขภาพดี มีนาหนัก ส่ วนสูง และสมรรถภาพทางกาย ตามเกณฑ์
                            ํ
         รวมทังรู้ จักดูแลตนเองให้ มีความปลอดภัย
        1) สุขภาพดี
          ) มีนาหนัก ส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
                       ํ
          ) รู ้จกวิธีดูแลรักษาตนเองให้ปลอดภัย
                  ั
    . มีสุขภาพจิ ตดี มีมนุษยสัมพันธ์ ทีดีต่อผู้อืน และมีสุนทรี ยภาพ
          ) มีสุขภาพจิตดี
          ) มีมนุษยสัมพันธ์ดี
          ) มีสุนทรี ยภาพ
. นักเรียนมีความใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
   . มีนิสัยรั กการอ่ าน สนใจ แสวงหาความรู้ จากแหล่ งต่ างๆ รอบตัว และสามารถเรี ยนรู้
         ด้ วยตนเองได้
          ) รักการอ่าน สนใจการอ่าน
          ) สนใจแสวงหาความรู ้จากแหล่งต่างๆ รอบตัว
          ) สามารถเรี ยนรู ้ดวยตนเอง
                                ้
   . นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู้ เป็ นที มได้
          ) ใช้กระบวนการเรี ยนรู ้ระหว่างกัน
          ) เรี ยนรู ้เป็ นทีม

                                                110
ตอนที    การตรวจสอบคุณภาพนักเรียนเพือเตรียมความพร้ อมรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก                      ร้ อยละ
         ระดับการศึกษาขันพืนฐาน
  . สามารถใช้ เทคโนโลยีในการเรี ยนรู้
         ) การรู ้จกเลือกใช้เทคโนโลยี
                   ั
         ) มีทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
               ั
         ) มีการเรี ยนรู ้ การสื อสาร การทํางาน
. นักเรียนคิดเป็ น
   . มีความสามารถในการคิดเป็ นระบบ
         ) สามารถจําแนกแยกแยะองค์ประกอบ
         ) สามารถพิจารณาความสัมพันธ์เชือมโยง
         ) สามารถกําหนดประเด็น วิเคราะห์ประเด็น
         ) สามารถประสมประสาน และหลอมองค์ประกอบต่างๆ ได้ สามารถสรุ ปความคิดได้
            ต่อยอดความคิดได้
   . มีความสามารถในการคิดสร้ างสรรค์
         ) มีความรู ้ความเข้าใจในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
         ) สามารถใช้กระบวนการคิดสร้างสรรค์
         ) มีผลงานจากความคิดสร้างสรรค์
   . ความสามารถในการคิดแก้ ปัญหา
         ) มีการศึกษาข้อมูลเพือการตัดสิ นใจ
         ) ตัดสิ นใจได้อย่างสมเหตุสมผล
         ) ใช้กระบวนการในการคิดแก้ปัญหา
         ) สามารถคิดแก้ปัญหาได้
. นักเรียนมีผลสัมฤทธิตามหลักสูตร (ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัดข้ อ...............................)
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ คณิ ตศาสตร์
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ศิลปะ
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาต่ างประเทศ




                                                          111

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3teerachon
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
คู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวคู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวTeacher Sophonnawit
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1teerachon
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2teerachon
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์bambookruble
 

Mais procurados (20)

หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
คู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวคู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถว
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
อำลา อาลัย จากใจครู
อำลา  อาลัย  จากใจครูอำลา  อาลัย  จากใจครู
อำลา อาลัย จากใจครู
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 

Semelhante a สุขฯ ม.2 หน่วย 4

สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์guest5660a9a
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์tassanee chaicharoen
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่tassanee chaicharoen
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1sonsukda
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพtassanee chaicharoen
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
ชื่อเรื่อง การบริหารสมองสนองศักยภาพการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สำห...
ชื่อเรื่อง การบริหารสมองสนองศักยภาพการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สำห...ชื่อเรื่อง การบริหารสมองสนองศักยภาพการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สำห...
ชื่อเรื่อง การบริหารสมองสนองศักยภาพการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สำห...Thanapol Seesuk
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Sareenakache
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1maina052
 

Semelhante a สุขฯ ม.2 หน่วย 4 (20)

สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
ชื่อเรื่อง การบริหารสมองสนองศักยภาพการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สำห...
ชื่อเรื่อง การบริหารสมองสนองศักยภาพการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สำห...ชื่อเรื่อง การบริหารสมองสนองศักยภาพการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สำห...
ชื่อเรื่อง การบริหารสมองสนองศักยภาพการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สำห...
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
หน่วยที่๙
หน่วยที่๙หน่วยที่๙
หน่วยที่๙
 
09chap7
09chap709chap7
09chap7
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 

สุขฯ ม.2 หน่วย 4

  • 1. หน่ วยการเรียนรู้ ที สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต รายวิชา สุ ขศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุ ขศึกษาและพลศึกษา ชันมัธยมศึกษาปี ที เวลาเรียน ชัวโมง 1.มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชีวัด พ . ม. / วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของภาวะสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต 2.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด ั สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตมีความสัมพันธ์กน จึงควรรู ้จกวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของภาวะสมดุล ั ทัง ด้าน เพือให้สามารถปฏิบติตนในการสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีดีได้ ั 3.สาระการเรียนรู้ . สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต . สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน - 4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน . ความสามารถในการสื อสาร . ความสามารถในการคิด ) ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2) ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ . ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต ั ิ ) กระบวนการปฏิบติ ั 2) กระบวนการทํางานกลุ่ม 80
  • 2. 5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนย ิ ั 2. ใฝ่ เรี ยนรู ้ 3. มีความรับผิดชอบ 4. มีจิตสาธารณะ 6.ชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) รายงาน เรื อง ความสัมพันธ์ของภาวะสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต 7.การวัดและการประเมินผล . การประเมินก่ อนเรียน - แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที . การประเมินระหว่ างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ) ใบงานที . เรื อง จากกายถึงใจไปสู่ พฤติกรรม ) ใบงานที . เรื อง การประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีแสดงออก ) ประเมินการนําเสนอผลงาน ) สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล ) สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม . การประเมินหลังเรียน - แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที . การประเมินชิ นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ประเมินรายงาน เรื อง ความสัมพันธ์ของภาวะสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต 81
  • 3. 8.กิจกรรมการเรียนรู้ นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่ อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที กิจกรรมที ความสํ าคัญของสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต วิธีสอนแบบกรณีศึกษา และวิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการสร้ างความตระหนัก เวลา ชั วโมง . ครู นาบทสนทนาของนิ ดกับทีม มาอ่านให้นกเรี ยนฟัง แล้วให้นกเรี ยนแสดงความคิดเห็นในประเด็น ํ ั ั ทีกําหนด . ครู ตงประเด็นคําถาม เพือให้นกเรี ยนฝึ กการคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นจากบทสนทนา ั ั ข้างต้น ่ . ครู อธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจว่า จากบทสนทนาข้างต้นจะเห็นได้วา ทีมเกิดความวิตกกังวล และ ั ความเครี ยดเกียวกับเรื องสอบทีเกิดจากความกดดัน และความคาดหวังของพ่อแม่ จนส่ งผลให้เกิด ่ อาการปวดศีรษะ นอนไม่หลับ และอาเจียน จะเห็นได้วาสุ ขภาพจิตและสุ ขภาพกายมีความสัมพันธ์กน ั . ครู นาแผนภูมิพีระมิด แสดงภาวะทีสมบูรณ์ทงทางร่ างกาย ทางจิต ทางสังคม และทางจิตวิญญาณ มาให้ ํ ั นักเรี ยนดูทีหน้าชันเรี ยน แล้วให้นกเรี ยนพิจารณาความสัมพันธ์ของภาวะต่างๆ ั . ให้นกเรี ยนร่ วมกันอภิปรายความสัมพันธ์ของภาวะต่างๆ แล้วครู ช่วยสรุ ปสาระสําคัญ ั . ครู ให้นกเรี ยนอาสาสมัคร หรื อสุ่ มเรี ยกนักเรี ยน - คน ให้อธิ บายคําว่า จิตเป็ นนาย กายเป็ นบ่าว ั แล้วครู อธิ บายเพิมเติม . ครู ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง ความสัมพันธ์ระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต จากหนังสื อเรี ยน ั หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม แล้วครู อธิ บายให้นกเรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจ ั มากยิงขึน . นักเรี ยนทําใบงานที . เรือง จากกายถึงใจไปสู่ พฤติกรรม เสร็ จแล้วนําส่ งครู ผสอน ครู สุ่มเรี ยก ู้ นักเรี ยน - คน ออกมานําเสนอผลงานในใบงาน แล้วครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้เรื อง ความสัมพันธ์ระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต 82
  • 4. กิจกรรมที ความสมดุลระหว่ างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต วิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์ , กระบวนการคิดอย่ างมีวิจารณญาณ เวลา ชั วโมง 1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกียวกับปั จจัย หรื อองค์ประกอบทีมีผลต่อการสร้างความสมดุล ระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต . ครู ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง ความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต จากหนังสื อเรี ยน ั ํ ในประเด็นทีครู กาหนด ดังนี ) องค์ประกอบในการสร้างความสมดุล ) การประเมินภาวะสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต . ครู สุ่มเรี ยกนักเรี ยน คน ออกมาทีหน้าชันเรี ยน แล้วให้นกเรี ยนจับสลากบัตรคําองค์ประกอบทีมี ั ผลต่อการสร้างสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต เมือจับสลากบัตรคําเสร็ จเรี ยบร้อยแล้วให้ นักเรี ยนบอกแนวทางในการปฏิบติตนตามองค์ประกอบทีได้รับตามลําดับ ั . ครู ถามนักเรี ยนว่า นักเรี ยนคิดว่า ตนเองมีภาวะสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตสมบูรณ์หรื อไม่ เพราะเหตุใด โดยให้อาสาสมัครนักเรี ยนทีมีความคิดเห็นทีแตกต่าง คน ออกมาแสดงความคิดเห็น ทีหน้าชันเรี ยน . ครู อธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจว่า หากนักเรี ยนต้องการทราบว่า ตนเองมีภาวะสุ ขภาพกาย และสุ ขภาพจิต ั สมบูรณ์หรื อไม่ จะต้องวัดหรื อประเมินภาวะสุ ขภาพกาย และสุ ขภาพจิต โดยสามารถประเมินได้ดวย ้ ตนเอง หรื อประเมินจากบุคลากรทางสาธารณสุ ข . ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง การประเมินภาวะสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต จากหนังสื อเรี ยน หรื อ ั หนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม . ครู ให้นกเรี ยนช่วยกันสรุ ปวิธีการประเมินภาวะสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตทัง วิธี แล้วให้นกเรี ยนดู ั ั ตัวอย่างการประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีแสดงออก จากหนังสื อเรี ยน . ให้นกเรี ยนทําใบงานที . เรื อง การประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีแสดงออก ั เสร็ จแล้วให้นกเรี ยนนําส่ งครู ตรวจ เพือประเมินผลเป็ นรายบุคคล ั . ครู สนทนากับนักเรี ยนเกียวกับผลการประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีแสดงออก แล้ว ให้นกเรี ยนมารับใบงานที . คืนจากครู เพืออ่านผลการประเมินและแนวทางในการปฏิบติตนที ั ั เหมาะสมของแต่ละคนให้เพือนฟังทีหน้าชันเรี ยน 83
  • 5. . ครู ให้นกเรี ยนยกตัวอย่างการปฏิบติตนในการสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตว่า สามารถปฏิบติ ั ั ั ได้อย่างไร . ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง การปฏิบติตนเพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต จากหนังสื อเรี ยน ั ั หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม . ให้นกเรี ยนอาสาสมัคร หรื อสุ่ มเรี ยกนักเรี ยน - คน ให้บอกรายการอาหารใน วัน ทีควรรับประทาน ั เพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตลงในแบบบันทึกรายการอาหารทีควรรับประทานเพือ สร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต . นักเรี ยนและครู ร่วมกันสรุ ปแนวทางในการปฏิบติตน เพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต ั . ครู ให้นกเรี ยนแบ่งกลุ่ม แล้วให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มนําผลการประเมินภาวะสุ ขภาพกายและ ั สุ ขภาพจิตของตนเองมา แล้วร่ วมกันวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของภาวะความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกาย และสุ ขภาพจิต พร้อมทังระบุแนวทางในการปฏิบติตน เพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตที ั เหมาะสมจัดทําเป็ นรายงาน ครู และนักเรี ยนร่ วมกันกําหนดระยะเวลาในการส่ งผลงาน นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที 9.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้ 9.1 สื อการเรี ยนรู้ 1) หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม. ) บทสนทนาของนิ ดกับทีม ) แผนภูมิพีระมิด แสดงภาวะทีสมบูรณ์ทงทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางจิตวิญญาณ ั ) แผนผัง แสดงความสัมพันธ์ของสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีมีผลกระทบถึงกัน ) แบบบันทึกรายการอาหารทีควรรับประทานเพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต ) ใบงานที . เรื อง จากกายถึงใจไปสู่ พฤติกรรม ) ใบงานที . เรื อง การประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีแสดงออก . แหล่ งการเรียนรู้ ) ห้องสมุด ) เอกสาร หรื อแผ่นพับของกระทรวงสาธารณสุ ข 3) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ www.panyathai.or.th/wiki/index.php/สุ ขภาพ www.dmh.go.th/qa/view.asp?id=41 84
  • 6. การประเมินชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แบบประเมินรายงาน เรือง ความสั มพันธ์ ของภาวะสมดุล ระหว่ างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต คําอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน รายการประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง ( ) . การอธิบาย อธิบายความสัมพันธ์ อธิบายความสัมพันธ์ อธิบายความสัมพันธ์ อธิบายความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ ระหว่างสุขภาพกาย ระหว่างสุขภาพกาย ระหว่างสุขภาพกาย ระหว่างสุขภาพกาย ระหว่ าง และสุขภาพจิตได้ และสุขภาพจิตได้ และสุขภาพจิตได้ และสุขภาพจิตได้ สุ ขภาพกายและ ถูกต้อง ละเอียด ชัดเจน ถูกต้องเป็ นส่วนใหญ่ ถูกต้องเป็ นบางส่วน ถูกต้องเพียงส่วนน้อย สุ ขภาพจิต และเข้าใจง่าย และเข้าใจง่าย แต่เข้าใจยาก และเข้าใจยาก . การวิเคราะห์ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ ของ ของภาวะสมดุลระหว่าง ของภาวะสมดุลระหว่าง ของภาวะสมดุลระหว่าง ของภาวะสมดุลระหว่าง ภาวะสมดุลระหว่ าง สุขภาพกายและ สุขภาพกายและ สุขภาพกายและ สุขภาพกายและ สุ ขภาพกายและ สุขภาพจิตได้ถูกต้อง สุขภาพจิตได้ถูกต้อง สุขภาพจิตได้ถูกต้อง สุขภาพจิตได้ถูกต้อง สุ ขภาพจิต ละเอียด ชัดเจน ชัดเจน พร้อมมีเหตุผล ชัดเจน พร้อมมีเหตุผล ชัดเจน พร้อมมีเหตุผล ครอบคลุมทุกประเด็น ประกอบเป็ นส่วนใหญ่ ประกอบเป็ นบางส่ วน ประกอบเพียงบางส่ วน พร้อมมีเหตุผลประกอบ . การเสนอแนะ เสนอแนะแนวทางใน เสนอแนะแนวทางใน เสนอแนะแนวทางใน เสนอแนะแนวทางใน แนวทางในการ การปฏิบติตนเพือ ั การปฏิบติตนเพือ ั การปฏิบติตนเพือ ั การปฏิบติตนเพือ ั ปฏิบัตตนเพือ ิ สร้างเสริ มสุขภาพกาย สร้างเสริ มสุขภาพกาย สร้างเสริ มสุขภาพกาย สร้างเสริ มสุขภาพกาย สร้ างเสริม และสุขภาพจิตของตน และสุขภาพจิตของตน และสุขภาพจิตของตน และสุขภาพจิตของตน สุ ขภาพกายและ ได้ถูกต้อง เหมาะสม ได้ถูกต้อง เหมาะสม ได้ถูกต้อง เหมาะสม ได้ถูกต้องเพียง สุ ขภาพจิต และนําไปปฏิบติ ั เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นบางส่วน ส่วนน้อย และนําไป ได้ง่าย และนําไปปฏิบติ ั และนําไปปฏิบติ ั ปฏิบติได้ยาก ั ได้ง่าย ได้ง่าย 4. รู ปเล่ มรายงาน ออกแบบปกสวยงาม ออกแบบปกสวยงาม ออกแบบปกค่อนข้าง ออกแบบปก แปลกใหม่ น่าสนใจ คล้ายคลึงกับแบบทัวไป สวยงาม คล้ายคลึง ไม่สวยงาม รู ปเล่มแน่นหนา รู ปเล่มแน่นหนา กับแบบทัวไป รู ปเล่มค่อนข้าง รู ปเล่มค่อนข้าง แน่นหนา แน่นหนา 85
  • 7. เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ - ดีมาก - ดี - พอใช้ ตํากว่า ปรับปรุ ง 86
  • 8. แบบทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที คําชี แจง ให้นกเรี ยนเลือกคําตอบทีถูกต้องทีสุ ดเพียงข้อเดียว ั . ผูทีมีสุขภาพกายดีมกไม่เจ็บป่ วย เพราะสาเหตุใด ้ ั ก. มีความแข็งแรง ข. มีสุขภาพจิตดี ค. มีความต้านทานโรคทีดี ง. ทํากิจกรรมต่างๆ ได้ดี . บุคคลใดมีวธีสร้างเสริ มสุ ขภาพกายทีดีทีสุ ด ิ ก. ดินได้รับอากาศทีบริ สุทธิ ข. นําออกกําลังกายเป็ นประจํา ค. ลมทําจิตใจให้ร่าเริ งแจ่มใสอยูเ่ สมอ ง. ไฟรับประทานเฉพาะผักและผลไม้ทีมีราคาแพง . สุ ขภาวะทางร่ างกาย หมายถึงอะไร ก. การมีอวัยวะครบถ้วน ข. การมีรูปร่ างผอมเพรี ยว ค. การมีรูปร่ างอ้วนท้วนสมบูรณ์ ง. การมีร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรง . ข้อใดไม่ ใช่ ความหมายของสุ ขภาวะทางจิต ก. จิตใจทีมีแต่ความสุ ข ข. จิตใจทีมีความร่ าเริ ง สดใส ค. จิตใจทีมีแต่ความเห็นแก่ตวั ง. จิตใจทีมีความเมตตากรุ ณา . ผูทีมีสุขภาพจิตดีก่อให้เกิดประโยชน์อย่างไร ้ ก. ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี ข. มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง ค. เป็ นทีรักของคนรอบข้าง ง. มีอารมณ์ร่าเริ ง แจ่มใส . คนทีมักอารมณ์ไม่ดีเป็ นประจําจะส่ งผลกระทบต่อร่ างกายหลายประการ ยกเว้ นข้อใด ก. ความดันโลหิ ตสู ง ข. ปวดเมือยกล้ามเนือ ค. ปวดศีรษะ ง. ปวดท้อง 87
  • 9. . บุคคลใดปฏิบติตนในการสร้างเสริ มสุ ขภาพจิตไม่ เหมาะสม ั ก. หงษ์ชอบดูหนังฟังเพลง ่ ข. เหมยอยูในทีทีมีอากาศบริ สุทธิ ค. พลอยออกกําลังกายสมําเสมอ ง. ริ นออกไปเทียวสถานเริ งรมย์เสมอเมือไม่สบายใจ . ข้อใดไม่ ใช่ องค์ประกอบในการสร้างความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต ก. กินเป็ น ข. รักเป็ น ค. สังคมเป็ น ง. สมาธิ เป็ น . ข้อใดไม่ ใช่ การปฏิบติตนเพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต ั ก. การทําจิตใจให้ร่าเริ ง แจ่มใสอยูเ่ สมอ ข. การรับประทานอาหารทีมีประโยชน์ ค. การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ง. การรักษาอนามัยส่ วนบุคคล ่ 10. จากคํากล่าวทีว่า “สุ ขภาพจิตทีดี มักจะอยูในร่ างกายทีสมบูรณ์” นักเรี ยนเห็นด้วยกับคํากล่าวนีหรื อไม่ เพราะเหตุใด ก. เห็นด้วย เพราะผูมีสุขภาพกายทีดี มักมีสุขภาพจิตทีดีดวย ้ ้ ข. เห็นด้วย เพราะคนทีร่ างกายสมบูรณ์ส่วนใหญ่จะมีสุขภาพจิตดี ค. ไม่เห็นด้วย เพราะสุ ขภาพกายกับสุ ขภาพจิตไม่มีความสัมพันธ์กน ั ง. ไม่เห็นด้วย เพราะคนทีมีสุขภาพจิตดีไม่จาเป็ นต้องมีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง ํ เฉลย แบบทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที 4 1. ค .ข .ง .ค .ง .ก .ง .ข .ค .ก 88
  • 10. แผนการจัดการเรียนรู้ ที 1 เรือง ความสําคัญของสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต เวลา ชัวโมง หน่ วยการเรียนรู้ ที สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต ชันมัธยมศึกษาปี ที 1.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด ั สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตมีความสัมพันธ์กน จึงมีผลต่อการแสดงออกทางพฤติกรรมโดยผูมี ้ ่ สุ ขภาพกายทีดียอมมีสุขภาพจิตทีดีดวย ้ 2.ตัวชีวัด/จุดประสงค์ การเรียนรู้ 2.1 ตัวชี วัด พ . ม. / วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของภาวะสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายสุ ขภาพจิต 2.2 จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ ) บอกความสําคัญของสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตได้ ) อธิ บายความสัมพันธ์ระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตได้ 3.สาระการเรียนรู้ . สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต . สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน - 4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน . ความสามารถในการสื อสาร . ความสามารถในการคิด ) ทักษะการคิดวิเคราะห์ ) ทักษะการคิดสร้างสรรค์ . ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต ั ิ ) กระบวนการปฏิบติ ั 89
  • 11. 5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนย ิ ั . ใฝ่ เรี ยนรู ้ . มีความรับผิดชอบ . มีจิตสาธารณะ 6.กิจกรรมการเรียนรู้ (วิธีสอนแบบกรณีศึกษา และวิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการสร้ างความตระหนัก) นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่ อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที ชั วโมงที 1. ครู นาบทสนทนาของนิ ดกับทีม มาอ่านให้นกเรี ยนฟัง แล้วให้นกเรี ยนแสดงความคิดเห็นในประเด็น ํ ั ั ทีกําหนด นิด : เป็ นอะไรไปจ๊ะ เช้านีดูไม่สดชืนเลย ทีม นอนไม่ค่อยหลับเลยปวดศีรษะนิดหน่อย : นิด : ทีมเครี ยดเรื องสอบหรื อเปล่าจึงได้เก็บไปคิดและเป็ นกังวลจนนอนไม่หลับ ทีม : อืม... ยอมรับว่าเครี ยด อาเจียนไปหลายครังเลยนะ พ่อแม่ทีมก็หวังว่าทีมต้อง สอบได้คะแนนดีเหมือนทุกๆ เทอม นิด : เข้าใจๆ ยังไงก็ตองดูแลสุ ขภาพบ้างนะ อย่าเครี ยดเดียวจะล้มหมอนนอนเสื อ ้ นะจ๊ะทีม 2. ครู ตงประเด็นคําถาม เพือให้นกเรี ยนฝึ กการคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นจากบทสนทนา ั ั ข้างต้น ตัวอย่างคําถามเช่น - นักเรี ยนคิดว่า ความวิตกกังวล หรื อความเครี ยดเป็ นสาเหตุของอาการปวดศีรษะหรื อไม่ อย่างไร - นักเรี ยนคิดว่า คนทีมีความวิตกกังวล หรื อความเครี ยดจะแสดงออกทางสี หน้า หรื อพฤติกรรม หรื อไม่ อย่างไร ั - นักเรี ยนคิดว่า สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตมีความสัมพันธ์กนหรื อไม่ อย่างไร 90
  • 12. . ครู อธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจว่า จากบทสนทนาข้างต้นจะเห็นได้วา ทีมเกิดความวิตกกังวล และ ั ความเครี ยดเกียวกับเรื องสอบทีเกิดจากความกดดันและความคาดหวังของพ่อแม่ จนส่ งผลให้เกิด ่ อาการปวดศีรษะ นอนไม่หลับ และอาเจียน จึงเห็นได้วา สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตมีความสัมพันธ์กน ั . ครู นาแผนภูมิพีระมิด แสดงภาวะทีสมบูรณ์ทงทางร่ างกาย ทางจิต ทางสังคม และทางจิตวิญญาณ ํ ั มาให้นกเรี ยนดูทีหน้าชันเรี ยน แล้วให้นกเรี ยนพิจารณาความสัมพันธ์ของภาวะต่างๆ ั ั . ให้นกเรี ยนร่ วมกันอธิ บายความสัมพันธ์ของภาวะต่างๆ แล้วครู ช่วยสรุ ปสาระสําคัญ ดังนี ั - การมีร่างกายทีสมบูรณ์แข็งแรง ไม่มีโรค ไม่มีความพิการ มีสิงแวดล้อมทีดีส่งเสริ มสุ ขภาพ จะส่ งผลให้จิตใจแจ่มใส ร่ าเริ ง มีสติ และสามารถอยูร่วมกันในครอบครัว ชุมชน และสังคมได้ ่ อย่างมีความสุ ข ส่ งผลให้ชุมชนและสังคมมีความเข้มแข็ง กระทําแต่สิงทีดี มีคุณธรรม และสร้าง มโนธรรมให้เกิดขึนอย่างถาวร ชั วโมงที . ครู ให้นกเรี ยนอาสาสมัคร หรื อสุ่ มเรี ยกนักเรี ยน - คน ให้อธิ บายคําว่า “จิตเป็ นนาย กายเป็ นบ่าว” ั แล้วครู อธิ บายให้นกเรี ยนทราบว่า จิตเป็ นตัวกําหนด ควบคุม สังการการทํางานของร่ างกาย จึงเรี ยก ั ่ ได้วา จิตเป็ นนาย กายเป็ นบ่าว . ครู ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง ความสัมพันธ์ระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต จากหนังสื อเรี ยน ั หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม . ครู ให้นกเรี ยนดูแผนผัง แสดงความสัมพันธ์ของสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีมีผลกระทบ ั ต่อกัน แล้วครู อธิ บายเพิมเติม เพือให้นกเรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจมากยิงขึน ั . นักเรี ยนทําใบงานที . เรือง จากกายถึงใจไปสู่ พฤติกรรม เสร็ จแล้วนําส่ งครู ผสอน จากนันครู ู้ สุ่ มเรี ยกนักเรี ยน - คน ออกมานําเสนอผลงานในใบงานที . แล้วครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ป ความรู ้เรื อง ความสัมพันธ์ระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต 7.การวัดและประเมินผล วิธีการ เครืองมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน แบบทดสอบก่อนเรี ยน ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที . ใบงานที . ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางาน ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ รายบุคคล 91
  • 13. 8.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้ 8.1 สื อการเรี ยนรู้ ) หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม. 2) บทสนทนาของนิ ดกับทีม ) แผนภูมิพีระมิด แสดงภาวะทีสมบูรณ์ทงทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางจิตวิญญาณ ั 4) แผนผัง แสดงความสัมพันธ์ของสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีมีผลกระทบถึงกัน ) ใบงานที . เรื อง จากกายถึงใจไปสู่ พฤติกรรม 8.2 แหล่ งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุด 2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ www.panyathai.or.th/wiki/index.php/สุ ขภาพ www.dmh.go.th/qa/view.asp?id=41 92
  • 14. แผนภูมิพระมิด แสดงภาวะทีสมบูรณ์ ทังทางกาย ี ทางจิต ทางสั งคม และทางจิตวิญญาณ การทําความดี มีคุณธรรม มโนธรรม สุ ขภาวะทางจิตวิญญาณ การอยูร่วมกันด้วยดี ครอบครัวอบอุ่น ่ ชุมชนเข้มแข็ง สุ ขภาวะทางสังคม จิตใจแจ่มใส ร่ าเริ ง มีสติ สมาธิ ปั ญญา สุ ขภาวะทางจิต ร่ างกายสมบูรณ์ แข็งแรง ไม่มีโรค ไม่พิการ สุ ขภาวะทางร่ างกาย มีสิงแวดล้อมทีส่ งเสริ มสุ ขภาพ 93
  • 15. แผนผัง แสดงความสั มพันธ์ ของสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีมีผลกระทบถึงกัน 94
  • 16. ใบงานที 1.1 เรือง จากกายถึงใจไปสู่ พฤติกรรม คําชี แจง ให้นกเรี ยนเขียนสถานการณ์สมมุติพร้อมบทสนทนา เพือแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ของสุ ขภาพกาย ั สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีมีผลกระทบต่อกัน มา สถานการณ์ สถานการณ์ บทสนทนา 95
  • 17. ใบงานที 1.1 เรือง จากกายถึงใจไปสู่ พฤติกรรม คําชี แจง ให้นกเรี ยนเขียนสถานการณ์สมมุติพร้อมบทสนทนา เพือแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ของสุ ขภาพกาย ั สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีมีผลกระทบต่อกัน มา สถานการณ์ สถานการณ์ ชะเอมกับน้ อยหน่ าเป็ นเพือนสนิทกัน ทัง คนเป็ นเด็กดี ขยันเรี ยน และ ชอบทํากิจกรรม เดื อนหน้ าน้ อยหน่ าจะต้ องเป็ นตัวแทนของโรงเรี ยนไปแข่ งขัน วาดภาพ แต่ กต้องสอบปลายภาคด้ วย ทําให้ น้อยหน่ าเกิดความวิตกกังวล กลัวว่ า ็ จะอ่ านหนังสื อเตรี ยมสอบไม่ ทัน บทสนทนา ชะเอม : น้ อยหน่ า ทําไมทําหน้ านิวคิ วขมวดอย่ างนันล่ ะจ้ ะ น้ อยหน่ า : ฉั นมีเรื องไม่ ค่อยสบายใจจ้ ะ เดือนหน้ าต้ องไปแข่ งขันวาดภาพ แต่ กต้องสอบ ็ ปลายภาคด้ วย นีคิ ดมากจนปวดหั วไปหมดแล้ วจ้ ะ ชะเอม : อ๋ อ...อย่ างนีนีเอง อย่ าคิ ดมากไปเลยจ้ ะ ถ้ าคิ ดมากไปก็ไม่ ช่วยให้ อะไรดีขึนหรอกนะ แล้ วยังทําให้ ปวดหั วส่ งผลเสี ยต่ อสุ ขภาพอี ก น้ อยหน่ า : แล้ วฉั นควรทําอย่ างไรดีล่ะจ้ ะ ชะเอม : ตอนนีมีเวลาเหลืออี ก เดือน ฉั นว่ าเธอลองแบ่ งเวลาดูสิจ๊ะ เช่ น วันจันทร์ ถึงวัน ศุกร์ หลังเลิกเรี ยนทุกวันก็อ่านหนังสื อ ทบทวนความรู้ เพื อเตรี ยมสอบ ส่ วนวันเสาร์ อาทิ ตย์ กฝึกซ้ อมวาดภาพ และถ้ ามีเวลาเหลือก็อ่านหนังสื อต่ ออี ก ็ น้ อยหน่ า : อ๋ อ...อย่ างนีนีเอง ขอบใจมากนะจ้ ะชะเอม ฉั นจะลองทําดู ชะเอม : จ้ ะ จะได้ ไม่ ต้องปวดหั วอี กนะ (หมายเหตุ พิ จารณาตามผลงานของนักเรี ยน โดยให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ สอน) ู 96
  • 18. แบบสั งเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล ความมีนําใจ ชือ – สกุล การรับฟัง การแสดง รวม ลําดับ ความมีวนัย ิ เอือเฟื อ การตรงต่ อเวลา ของผู้รับการ ความคิดเห็น ความคิดเห็น ที เสียสละ ประเมิน คะแนน ลงชือ...................................................ผูประเมิน ้ ............../.................../................ เกณฑ์ การให้ คะแนน ปฏิบติหรื อแสดงพฤติกรรมอย่างสมําเสมอ ั ให้ คะแนน ปฏิบติหรื อแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง ั ให้ คะแนน ปฏิบติหรื อแสดงพฤติกรรมบางครัง ั ให้ คะแนน ปฏิบติหรื อแสดงพฤติกรรมน้อยครัง ั ให้ คะแนน เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18-20 ดีมาก 14-17 ดี 10-13 พอใช้ ตํากว่า ปรับปรุ ง 97
  • 19. แผนการจัดการเรียนรู้ ที เรือง ความสมดุลระหว่ างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต เวลา ชัวโมง หน่ วยการเรียนรู้ ที 4 สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต ชันมัธยมศึกษาปี ที 1.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด ั สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตมีความเกียวข้องสัมพันธ์กน การสร้างความสมดุลระหว่างทัง สิ ง จึงถือ เป็ นความสําคัญอย่างยิงทีจะสามารถปฏิบติตน เพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีเหมาะสมและ ั ่ ดํารงชีวิตอยูในสังคมด้วยความเป็ นปกติสุข 2.ตัวชีวัด/จุดประสงค์ การเรียนรู้ 2.1 ตัวชี วัด พ . ม. / วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของภาวะสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต 2.2 จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ ) อธิ บายความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตได้ ) บอกองค์ประกอบในการสร้างความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตได้ ) บอกแนวทางการปฏิบติตนเพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตได้ ั 4) ปฏิบติตนเพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตได้อย่างเหมาะสม ั 3.สาระการเรียนรู้ . สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต . สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน - 4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน . ความสามารถในการสื อสาร . ความสามารถในการคิด ) ทักษะการคิดวิเคราะห์ ) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ 98
  • 20. . ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต ั ิ ) กระบวนการปฏิบติ ั ) กระบวนการทํางานกลุ่ม 5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนย ิ ั . ใฝ่ เรี ยนรู ้ . มีความรับผิดชอบ . มีจิตสาธารณะ 6.กิจกรรมการเรียนรู้ (วิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์ , กระบวนการคิดอย่ างมีวิจารณญาณ) ชั วโมงที 1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกียวกับปั จจัย หรื อองค์ประกอบทีมีผลต่อการสร้างความสมดุล ระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต . ครู ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง ความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต จากหนังสื อเรี ยน ั ํ ในประเด็นทีครู กาหนด ดังนี ) องค์ประกอบในการสร้างความสมดุล ) การประเมินภาวะสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต . ครู สุ่มเรี ยกนักเรี ยน คน ออกมาทีหน้าชันเรี ยน แล้วให้นกเรี ยนจับสลากบัตรคําองค์ประกอบทีมีผล ั ต่อการสร้างความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต เมือจับสลากบัตรคําเสร็ จแล้วให้นกเรี ยนั บอกแนวทางในการปฏิบติตนตามองค์ประกอบทีได้รับตามลําดับ ดังนี ั กินเป็ น อยูเ่ ป็ น สังคมเป็ น สมาธิ เป็ น . ครู และเพือนในชันเรี ยนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง แล้วครู อธิ บายเพิมเติมให้นกเรี ยนเข้าใจว่า ั ั สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตมีความสัมพันธ์กน หากสุ ขภาพด้านใดด้านหนึงเสี ยสมดุลก็จะส่ งผล กระทบต่อด้านหนึงทันที เช่น หากร่ างกายเกิดการเจ็บป่ วย สภาวะทางด้านจิตใจก็จะมีผลกระทบ ทันที 99
  • 21. . ครู ถามนักเรี ยนว่า นักเรี ยนคิดว่า ตนเองมีภาวะสุ ขภาพกาย และสุ ขภาพจิตสมบูรณ์หรื อไม่ เพราะเหตุใด โดยให้อาสาสมัครนักเรี ยนทีมีความคิดเห็นทีแตกต่าง คน ออกมาแสดงความคิดเห็น ทีหน้าชันเรี ยน . ครู อธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจว่า หากนักเรี ยนต้องการทราบว่า ตนเองมีภาวะสุ ขภาพกาย และสุ ขภาพจิต ั สมบูรณ์หรื อไม่ จะต้องวัดหรื อประเมินภาวะสุ ขภาพกาย และสุ ขภาพจิต โดยสามารถประเมินได้ดวย ้ ตนเองหรื อประเมินจากบุคลากรทางสาธารณสุ ข . ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง การประเมินภาวะสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต จากหนังสื อเรี ยน หรื อ ั หนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม . ครู ให้นกเรี ยนช่วยกันสรุ ปวิธีการประเมินภาวะสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตทัง วิธี แล้วให้นกเรี ยน ั ั ดูตวอย่างการประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีแสดงออก จากหนังสื อเรี ยน ั . ครู อธิ บายเพิมเติม เพือให้นกเรี ยนเห็นความสําคัญในการพิจารณาสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และ ั พฤติกรรมทีแสดงออกตามความเป็ นจริ งทีเกิดขึนในการทําแบบประเมิน เพราะจะทําให้ทราบผล การประเมินทีถูกต้องตรงกับความเป็ นจริ ง และสามารถนําแนวทางทีได้จากการประเมินไปปฏิบติตน ั เพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม . ให้นกเรี ยนทําใบงานที . เรื อง การประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีแสดงออก ั เสร็ จแล้วให้นกเรี ยนนําส่ งครู ตรวจ เพือประเมินผลเป็ นรายบุคคลในชัวโมงเรี ยนครังต่อไป ั = ชั วโมงที . ครู สนทนากับนักเรี ยนเกียวกับผลการประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีแสดงออก แล้วให้นกเรี ยนมารับใบงานที . คืนจากครู เพืออ่านผลการประเมินและแนวทางในการปฏิบติตน ั ั ทีเหมาะสมของแต่ละบุคคล หากนักเรี ยนสงสัยให้สอบถามครู เพิมเติมเป็ นรายบุคคล . ครู ให้นกเรี ยนยกตัวอย่างการปฏิบติตนในการสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตว่า สามารถปฏิบติ ั ั ั ได้อย่างไร - การปฏิบติตนในการสร้างเสริ มสุ ขภาพกาย เช่น รักษาความสะอาดของร่ างกาย รับประทานอาหาร ั ทีมีประโยชน์ ออกกําลังกายอย่างสมําเสมอ เป็ นต้น - การปฏิบติตนในการสร้างเสริ มสุ ขภาพจิต เช่น ทําจิตใจให้ร่าเริ งอยูเ่ สมอ มองโลกในแง่ดี พักผ่อน ั ให้เพียงพอ เป็ นต้น . ครู อธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจว่า การรู ้จกปฏิบติตนเพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตเป็ นสิ ง ั ั ั สําคัญ เพราะทัง ส่ วนมีผลโดยตรงต่อกัน 100
  • 22. . ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง การปฏิบติตนเพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต จากหนังสื อเรี ยน ั ั หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม . ครู ให้นกเรี ยนอาสาสมัคร หรื อสุ่ มเรี ยกนักเรี ยน - คน ให้บอกรายการอาหารทีควรรับประทาน ั ใน วันเพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต ลงในแบบบันทึกรายการอาหารทีควรรับประทาน เพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีครู แจกให้ แล้วออกมานําเสนอทีหน้าชันเรี ยน จากนันให้ นักเรี ยนช่วยกันบอกผลดีของการเลือกรับประทานอาหารทีมีประโยชน์ . นักเรี ยนและครู ร่วมกันสรุ ปแนวทางในการปฏิบติตน เพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต ั . ครู ให้นกเรี ยนแบ่งกลุ่ม แล้วให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มนําผลการประเมินภาวะสุ ขภาพกายและ ั สุ ขภาพจิตของตนเองมา แล้วร่ วมกันวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของภาวะความสมดุลระหว่างสุ ขภาพกาย และสุ ขภาพจิต พร้อมทังระบุแนวทางในการปฏิบติตน เพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตที ั เหมาะสมจัดทําเป็ นรายงาน ครู และนักเรี ยนร่ วมกันกําหนดระยะเวลาในการส่ งผลงาน นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที 7.การวัดและประเมินผล วิธีการ เครืองมือ เกณฑ์ ตรวจใบงานที . ใบงานที . ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ ประเมินรายงาน เรื อง ความสัมพันธ์ แบบประเมินรายงาน เรื อง ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ ของภาวะสมดุลระหว่างสุ ขภาพกาย ความสัมพันธ์ของภาวะสมดุลระหว่าง และสุ ขภาพจิต สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต ประเมินการนําเสนอผลงาน แบบประเมินการนําเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางาน ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ รายบุคคล ตรวจแบบทดสอบหลังเรี ยน แบบทดสอบหลังเรี ยน ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ 8.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้ 8.1 สื อการเรี ยนรู้ ) หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม. ) แบบบันทึกรายการอาหารทีควรรับประทานเพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต ) ใบงานที . เรื อง การประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีแสดงออก 101
  • 23. 8.2 แหล่ งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุด ) เอกสาร หรื อแผ่นพับของกระทรวงสาธารณสุ ข 3) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ www.panyathai.or.th/wiki/index.php/สุ ขภาพ www.dmh.go.th/qa/view.asp?id=41 102
  • 24. แบบบันทึกรายการอาหารทีควรรับประทานเพือสร้ างเสริมสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต รายการอาหารทีควรรับประทานเพือสร้ างเสริมสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต อาหารเช้ า อาหารกลางวัน อาหารเย็น 103
  • 25. แบบประเมินรายงาน เรือง ความสั มพันธ์ ของภาวะสมดุลระหว่ าง สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต กลุ่มที.......................... สมาชิกของกลุ่ม . ........................................ 2. ........................................ 3. ........................................ 4. ........................................ 5. ........................................ 6. ........................................ ลําดับ คุณภาพผลงาน รายการประเมิน ที การอธิ บายความสัมพันธ์ระหว่างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของภาวะสมดุลระหว่างสุ ขภาพกายและ สุ ขภาพจิต การเสนอแนะแนวทางในการปฏิบติตนเพือสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและ ั สุ ขภาพจิต รู ปเล่มรายงาน รวม ลงชือ..............................................................................ผูประเมิน ้ / / ....................... ........................... ........................ เกณฑ์ การให้ คะแนน เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ ดีมาก = 4 ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ ดี = - ดีมาก พอใช้ = - ดี ปรับปรุ ง = 1 - พอใช้ ตํากว่า ปรับปรุ ง 104
  • 26. ใบงานที . เรือง การประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีแสดงออก คําชี แจง ให้นกเรี ยนขีดเครื องหมาย ลงในช่องว่างตามระดับอาการทีเกิดขึนกับตนเองในช่วงระยะเวลา ั เดือน ทีผ่านมาตามความเป็ นจริ ง พร้อมทังบอกอาการทีแสดงออกมาด้วยว่าเป็ นประเภทใด ระดับอาการ ประเภท ลักษณะอาการ ไม่ เคยเลย บางครัง เป็ นประจํา (กาย/จิต/พฤติกรรม) . ปวดศีรษะข้างเดียว . นอนไม่หลับ กระสับกระส่ าย . กลุมใจ หงุดหงิด รําคาญใจ ้ . ไม่มีสมาธิ . ก้าวร้าว พูดจาหยาบคาย . คลืนไส้อาเจียน . ขว้างปา ทําลายสิ งของ . รู ้สึกว่าตนเองเป็ นคนไร้ค่า . เบืออาหาร . ฉุ นเฉี ยว โมโหง่าย . โต้เถียงด้วยเหตุผลมากกว่าอารมณ์ . สามารถเข้ากับคนอืนได้ง่าย . ยอมแพ้เสมอเมือเผชิญปั ญหา . ทํางานคล่องแคล่วว่องไว . เชือฟังคําสังสอนของผูใหญ่ ้ ภาระ 105
  • 27. ใบงานที . เรือง การประเมินสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และพฤติกรรมทีแสดงออก คําชี แจง ให้นกเรี ยนขีดเครื องหมาย ลงในช่องว่างตามระดับอาการทีเกิดขึนกับตนเองในช่วงระยะเวลา ั เดือน ทีผ่านมาตามความเป็ นจริ ง พร้อมทังบอกอาการทีแสดงออกมาด้วยว่าเป็ นประเภทใด ระดับอาการ ประเภท ลักษณะอาการ ไม่ เคยเลย บางครัง เป็ นประจํา (กาย/จิต/พฤติกรรม) . ปวดศีรษะข้างเดียว . นอนไม่หลับ กระสับกระส่ าย . กลุมใจ หงุดหงิด รําคาญใจ ้ . ไม่มีสมาธิ . ก้าวร้าว พูดจาหยาบคาย . คลืนไส้อาเจียน . ขว้างปา ทําลายสิ งของ . รู ้สึกว่าตนเองเป็ นคนไร้ค่า . เบืออาหาร . ฉุ นเฉี ยว โมโหง่าย . โต้เถียงด้วยเหตุผลมากกว่าอารมณ์ . สามารถเข้ากับคนอืนได้ง่าย . ยอมแพ้เสมอเมือเผชิญปั ญหา . ทํางานคล่องแคล่วว่องไว . เชือฟังคําสังสอนของผูใหญ่ ้ 106
  • 28. แบบประเมินการนําเสนอผลงาน ลําดับ คุณภาพการปฏิบัติ รายการประเมิน ที 4 3 2 1 1 นําเสนอเนื อหาในผลงานได้ถูกต้อง 2 การลําดับขันตอนของเนือเรื อง 3 การนําเสนอมีความน่าสนใจ 4 การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม 5 การตรงต่อเวลา รวม ลงชือ..............................................................................ผูประเมิน ้ ......................./.........................../........................ เกณฑ์ การให้ คะแนน ผลงานหรื อพฤติกรรมสมบูรณ์ชดเจน ั ให้ คะแนน ผลงานหรื อพฤติกรรมค่อนข้างสมบูรณ์ ให้ คะแนน ผลงานหรื อพฤติกรรมมีขอบกพร่ องเป็ นบางส่ วน ้ ให้ คะแนน ผลงานหรื อพฤติกรรมมีขอบกพร่ องมาก ้ ให้ คะแนน เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18-20 ดีมาก 14-17 ดี 10-13 พอใช้ ตํากว่า ปรับปรุ ง 107
  • 29. แบบสั งเกตพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล การแก้ ไข การทํางาน ชือ – สกุล การแสดง การยอมรับฟัง ปัญหาหรือ รวม ลําดับ ตามทีได้ รับ ความมีนําใจ ของผู้รับการ ความคิดเห็น ผู้อน ื ปรับปรุง ที มอบหมาย ประเมิน ผลงาน คะแนน ลงชือ...................................................ผูประเมิน ้ ............../.................../................ เกณฑ์ การให้ คะแนน ปฏิบติหรื อแสดงพฤติกรรมอย่างสมําเสมอ ั ให้ คะแนน ปฏิบติหรื อแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง ั ให้ คะแนน ปฏิบติหรื อแสดงพฤติกรรมบางครัง ั ให้ คะแนน ปฏิบติหรื อแสดงพฤติกรรมน้อยครัง ั ให้ คะแนน เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18-20 ดีมาก 14-17 ดี 10-13 พอใช้ ตํากว่า ปรับปรุ ง 108
  • 30. บันทึกหลังหน่ วยการเรี ยนรู้ อิงมาตรฐาน ตอนที นักเรี ยนมีความรู ้ความสามารถตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชีวัดของหน่วยการเรี ยนรู ้ ต่อไปนี พ . (ม. / ) ด้านความรู ้ ( จํานวน คน คิดเป็ นร้ อยละ ) ด้านสมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยน ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สรุปผลจากการประเมินชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ประจําหน่ วยการเรียนรู้ ระดับคุณภาพดีมาก จํานวน คน คิดเป็ นร้ อยละ ระดับคุณภาพดี จํานวน คน คิดเป็ นร้ อยละ ระดับคุณภาพพอใช้ จํานวน คน คิดเป็ นร้ อยละ ระดับคุณภาพปรับปรุง จํานวน คน คิดเป็ นร้ อยละ ปั ญหา/อุปสรรค แนวทางการแก้ไข ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ทได้ รับมอบหมาย ี ข้อเสนอแนะ ลงชือ ( ) ตําแหน่ง 109
  • 31. ตอนที การตรวจสอบคุณภาพนักเรียนเพือเตรียมความพร้ อมรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก ร้ อยละ ระดับการศึกษาขันพืนฐาน . นักเรียนมีคณธรรม จริยธรรม และค่ านิยมทีพึงประสงค์ ุ . . เป็ นนักเรี ยนที ดีของโรงเรี ยน 1) ความซือสัตย์ สุจริ ต ) มีวนย ิ ั ) มุ่งมันในการทํางาน . . เป็ นลูกที ดีของพ่ อแม่ ผู้ปกครอง ่ ) อยูอย่างพอเพียง ) มีความเอืออาทร ) มีความกตัญ ูกตเวที . เป็ นสมาชิ กที ดีของชุมชน ) รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ) รักความเป็ นไทย ) มีจิตสาธารณะ . นักเรียนมีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีดี . มีสุขภาพดี มีนาหนัก ส่ วนสูง และสมรรถภาพทางกาย ตามเกณฑ์ ํ รวมทังรู้ จักดูแลตนเองให้ มีความปลอดภัย 1) สุขภาพดี ) มีนาหนัก ส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ ํ ) รู ้จกวิธีดูแลรักษาตนเองให้ปลอดภัย ั . มีสุขภาพจิ ตดี มีมนุษยสัมพันธ์ ทีดีต่อผู้อืน และมีสุนทรี ยภาพ ) มีสุขภาพจิตดี ) มีมนุษยสัมพันธ์ดี ) มีสุนทรี ยภาพ . นักเรียนมีความใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน . มีนิสัยรั กการอ่ าน สนใจ แสวงหาความรู้ จากแหล่ งต่ างๆ รอบตัว และสามารถเรี ยนรู้ ด้ วยตนเองได้ ) รักการอ่าน สนใจการอ่าน ) สนใจแสวงหาความรู ้จากแหล่งต่างๆ รอบตัว ) สามารถเรี ยนรู ้ดวยตนเอง ้ . นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู้ เป็ นที มได้ ) ใช้กระบวนการเรี ยนรู ้ระหว่างกัน ) เรี ยนรู ้เป็ นทีม 110
  • 32. ตอนที การตรวจสอบคุณภาพนักเรียนเพือเตรียมความพร้ อมรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก ร้ อยละ ระดับการศึกษาขันพืนฐาน . สามารถใช้ เทคโนโลยีในการเรี ยนรู้ ) การรู ้จกเลือกใช้เทคโนโลยี ั ) มีทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี ั ) มีการเรี ยนรู ้ การสื อสาร การทํางาน . นักเรียนคิดเป็ น . มีความสามารถในการคิดเป็ นระบบ ) สามารถจําแนกแยกแยะองค์ประกอบ ) สามารถพิจารณาความสัมพันธ์เชือมโยง ) สามารถกําหนดประเด็น วิเคราะห์ประเด็น ) สามารถประสมประสาน และหลอมองค์ประกอบต่างๆ ได้ สามารถสรุ ปความคิดได้ ต่อยอดความคิดได้ . มีความสามารถในการคิดสร้ างสรรค์ ) มีความรู ้ความเข้าใจในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ) สามารถใช้กระบวนการคิดสร้างสรรค์ ) มีผลงานจากความคิดสร้างสรรค์ . ความสามารถในการคิดแก้ ปัญหา ) มีการศึกษาข้อมูลเพือการตัดสิ นใจ ) ตัดสิ นใจได้อย่างสมเหตุสมผล ) ใช้กระบวนการในการคิดแก้ปัญหา ) สามารถคิดแก้ปัญหาได้ . นักเรียนมีผลสัมฤทธิตามหลักสูตร (ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัดข้ อ...............................) . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ คณิ ตศาสตร์ . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์ . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ศิลปะ . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาต่ างประเทศ 111