SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 7
วิวัฒนาการนาฏศิลป์
เสนอ
ครูพรพรรณ โพธิ์ร่มเย็น
โดย
นายวปุ ศรีณรงค์ เลขที่ 25 ชั้น ม.6/6
ภาคเรียนที่๑ ปีการศึกษา๒๕๕๘
โรงเรียนหาดอมราอักษรลักษณ์วิทยา
สมัยน่านเจ้า
สมัยน่านเจ้า การศึกษาเรื่องการละคร และนาฏศิลป์ไทยในสมัยนี้ พบว่า ไทยมีนิยายเรื่องหนึ่ง คือ เรื่อง "มโนห์รา"
ซึ่งปัจจุบันนี้ก็ยังมีอยู่ในประเทศจีนตอนใต้ในอาณาจักรน่านเจ้าเดิมนั่นเอง นิยายเรื่องนั้น คือ "นามาโนห์รา
(Namanora) เป็นนิยายของพวกไต พวกไตคือไทยเรานี่เอง แต่เป็นพวกที่ไม่อพยพลงมาจากดินแดนเดิม
เรื่องนามาโนห์รานี้จะนามาเล่นเป็นละครหรือไม่นั้นยังไม่มีหลักฐานปรากฏเด่นชัด
ส่วนการละเล่นของไทยน่านเจ้านั้นมีพวกระบาอยู่แล้ว คือ ระบาหมวก และระบานกยูง
สมัยสุโขทัย
สมัยสุโขทัย สมัยนี้ไม่มีหลักฐานเกี่ยวกับการละครนัก
เป็นสมัยที่เริ่มมีความสัมพันธ์กับชาติที่นิยมอารยธรรมของอินเดีย เช่น พม่า มอญ ขอม และละว้า
ไทยได้รู้จักเลือกเฟ้นศิลปวัฒนธรรมที่ดีของชาติที่สมาคมด้วย แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่า
ชาติไทยแต่โบราณจะไม่รู้จักการละครฟ้อนรามาก่อน เรามีการแสดงประเภทระบาราเต้นมาแต่สมัยดึกดาบรรพ์แล้ว
เมื่อไทยได้รับวัฒนธรรมด้านการละครของอินเดียเข้า ศิลปะแห่งการละเล่นพื้นเมืองของไทย คือ รา และระบา
ก็ได้วิวัฒนาการขึ้น มีการกาหนดแบบแผนแห่งศิลปะการแสดงทั้ง 3 ชนิดไว้เป็นที่แน่นอน
และบัญญัติคาเรียกศิลปะแห่งการแสดงดังกล่าวแล้วขั้นต้นว่า "โขน ละคร ฟ้อนรา" ส่วนเรื่องละครแก้บนกับละครยก
อาจมีสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยนั้นแล้วเช่นกัน
สมัยอยุธยา
สมัยกรุงศรีอยุธยาละครไทยเริ่มจัดระเบียบแบบแผนให้รัดกุมยิ่งขึ้น
มีการตั้งชื่อละครที่เคยเล่นกันอยู่ให้เป็นไปตามหลักวิชานาฏศิลป์ขึ้น มีการแสดงเกิดขึ้นในสมัยนี้หลายอย่าง เช่น
ละครชาตรี ละครนอก ละครใน โขน การแสดงบางอย่างก็รับวัฒนธรรมเพื่อนบ้าน และวัฒนธรรมต่างชาติเข้ามาผสมได้
ละครไทยเริ่มจัดระเบียบแบบแผนให้รัดกุมยิ่งขึ้น มีการตั้งชื่อละครที่เคยเล่นกันอยู่ให้เป็นไปตามหลักวิชานาฏศิลป์ขึ้น
มีการแสดงเกิดขึ้นในสมัยนี้หลายอย่าง เช่น ละครชาตรี ละครนอก ละครใน โขน
การแสดงบางอย่างก็รับวัฒนธรรมเพื่อนบ้าน และวัฒนธรรมต่างชาติเข้ามาผสมได้
สมัยธนบุรี
สมัยกรุงธนบุรี สมัยนี้เป็นช่วงต่อเนื่องหลังจากที่กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าเมื่อปี พ.ศ. 2310
เหล่าศิลปินได้กระจัดกระจายไปในที่ต่างๆ เพราะผลจากสงคราม บางส่วนก็เสียชีวิต บางส่วนก็ถูกกวาดต้อนไปอยู่พม่า
ครั้นพระเจ้ากรุงธนบุรีได้ปราบดาภิเษกในปีชวด พ.ศ. 2311 แล้ว ทรงส่งเสริมฟื้นฟูการละครขึ้นใหม่
และรวบรวมศิลปินตลอดทั้งบทละครเก่าๆที่กระจัดกระจายไปให้เข้ามาอยู่รวมกัน
ตลอดทั้งพระองค์ได้ทรงพระราชนิพนธ์บทละคร เรื่องรามเกียรติ์ขึ้นอีก 5 ตอน คือ
 ตอนหนุมานเกี้ยวนางวานริน
 ตอนท้าวมาลีวราชว่าความ
 ตอนทศกัณฐ์ตั้งพิธีทรายกลด (เผารูปเทวดา)
 ตอนพระลักษณ์ถูกหอกกบิลพัท
 ตอนปล่อยม้าอุปการ
มีคณะละครหลวง และเอกชนเกิดขึ้นหลายโรง เช่น ละครหลวงวิชิตณรงค์ ละครไทยหมื่นเสนาะภูบาล
หมื่นโวหารภิรมย์ นอกจากละครไทยแล้วยังมีละครเขมรของหลวงพิพิธวาทีอีกด้วย
สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์การละครต่างๆ
ล้วนได้รับการสนับสนุนจากพระมหากษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์สืบเนื่องต่อกันมาเป็นลาดับตั้งแต่ การละครต่างๆ
ล้วนได้รับการสนับสนุนจากพระมหากษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์สืบเนื่องต่อกันมาเป็นลาดับตั้งแต่
สมัยรัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ทรงฟื้นฟูรวบรวมสิ่งต่างๆที่สูญเสีย และกระจัดกระจายให้สมบูรณ์
ในรัชสมัยนี้ได้มีการรวบรวมตาราฟ้อนราขึ้นไว้เป็นหลักฐานสาคัญที่สุดในประวัติการละครไทย มีบทละครที่ปรากฏตามหลักฐานอยู่ 3
เรื่อง คือ
- บทละครเรื่องอุณรุฑ
- บทละครเรื่องรามเกียรติ์
- บทละครเรื่องดาหลัง พระราชนิพนธ์ตามเค้าความของเจ้าฟ้ากุณฑลที่เรียกว่า
อิเหนาใหญ่
สมัยรัชกาลที่ 2พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นสมัยที่วรรณคดีเจริญรุ่งเรือง
เป็นยุคทองแห่งศิลปะการละคร มีนักปราชญ์ราชกวีที่ปรึกษา 3ท่าน คือ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์
กรมหลวงพิทักษ์มนตรี และสุนทรภู่มีบทละครในที่เกิดขึ้น ได้แก่เรื่องอิเหนา
ซึ่งวรรณคดีสโมสรยกย่องว่าเป็นยอดของบทละครรา และเรื่องรามเกียรติ์ ส่วนบทละครนอก ได้แก่
เรื่องไกรทอง คาวี ไชยเชษฐ์ สังข์ทอง และมณีพิชัย
สมัยรัชกาลที่ 3พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นยุคที่ละครหลวงซบเซา
เนื่องจากพระองค์ไม่สนับสนุน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลิกละครหลวงเสีย
แต่มิได้ขัดขวางผู้จะจัดแสดงละคร ทาให้เกิดคณะละครของเจ้านาย และขุนนางขึ้นแพร่หลาย หลายคณะ
หลายโรง และมีบทละครเกิดขึ้นมากมาย
สมัยรัชกาลที่ 4พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมัยนี้ได้เริ่มมีการติดต่อกับชาวต่างชาติ
โดยเฉพาะชาวยุโรปบ้างแล้ว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงโปรดเกล้าฯ
ให้ฟื้นฟูละครหลวงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง
พร้อมทั้งออกประกาศสาคัญเป็นผลให้การละครไทยขยายตัวอย่างกว้างขวาง ดังมีความโดยย่อ คือ
 พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้คนทั่วไปมีละครชาย และหญิง เพื่อบ้านเมืองจะได้ครึกครื้นขึ้น
เป็นเกียรติยศแก่แผ่นดิน
 แม้จะมีละครหลวง แต่คนที่เคยเล่นละครก็ขอให้เล่นต่อไป
 ห้ามบังคับผู้คนมาฝึกละคร ถ้าจะมาขอให้มาด้วยความสมัครใจ
 สาหรับละครที่มิใช่ของหลวง มีข้อยกเว้นคือ
- ห้ามใช้รัดเกล้ายอด เครื่องแต่งตัวลงยา และพานทองหีบทองเป็นเครื่องยก
- บททาขวัญห้ามใช้แตรสังข์
- หัวช้างห้ามทาสีเผือก ยกเว้นหัวช้างเอราวัณ
 มีประกาศกฎหมายภาษีมหรสพ พ.ศ. 2402 เก็บจากเจ้าของคณะละครตามประเภทการแสดง
และเรื่องที่แสดง
สมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว การละครในยุคนี้เริ่มมีการเปลี่ยนแปลง
เนื่องจากการละครแบบตะวันตกหลั่งไหลเข้าสู่วงการนาฏศิลป์ ทาให้เกิดละครประเภทต่างๆขึ้นมากมาย เช่น ละครพันทาง
ละครดึกดาบรรพ์ละครร้องละครพูดและลิเก ทรงส่งเสริมการละครโดยเลิกกฎหมายการเก็บอากรมหรสพเมื่อ พ.ศ.2450
ทาให้กิจการละครเฟื่องฟูขึ้นกลายเป็นอาชีพได้เจ้าของโรงละครทางฝ่ายเอกชนมีหลายราย นับตั้งแต่เจ้านายมาถึงคนธรรมดา
สมัยรัชกาลที่ 6พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในสมัยนี้ได้ชื่อว่าเป็นสมัยที่การละคร
และการดนตรีทั้งหลายได้เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด นับได้ว่าเป็นยุคทองแห่งศิลปะการละครยุคที่ 2
พระองค์ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งกรมมหรสพขึ้น เพื่อบารุงวิชาการนาฏศิลป และการดนตรี
และยังทรงเป็นบรมครูของเหล่าศิลปิน ทรงพระราชนิพนธ์บทโขน ละคร ฟ้อนราไว้เป็นจานวนมาก
สมัยรัชกาลที่ 7พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว การเมืองเกิดภาวะคับขัน
และเศรษฐกิจของประเทศทรุดโทรม เสนาบดีสภาได้ตกลงประชุมกันเลิกกรมมหรสพ
เพื่อให้มีส่วนช่วยกู้การเศรษฐกิจของประเทศ และต่อมาจึงกลับฐานะมาเป็นกองขึ้นอีก จนกระทั่งเมื่อ พ.ศ.
2478 กองมหรสพจึงอยู่ในสังกัดกรมศิลปากร ข้าราชการศิลปินจึงย้ายสังกัดมาอยู่ในกรมศิลปากร
ในสมัยนี้มีละครแนวใหม่เกิดขึ้นคือ ละครเพลง หรือที่เป็นที่รู้จักกันว่า "ละครจันทโรภาส"
ตลอดทั้งมีละครหลวงวิจิตรวาทการเกิดขึ้น

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a ปุ

วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
Orapan Chamnan
 
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลกบทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
Itt Bandhudhara
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
Nongkran Jarurnphong
 

Semelhante a ปุ (20)

วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลกบทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
บทความพระมเหลเถไถ คันฉ่องส่องเงาแปลก
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯเอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
 
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
 
ละครชาตรี.docx
ละครชาตรี.docxละครชาตรี.docx
ละครชาตรี.docx
 
หุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.docหุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.doc
 
หุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.docหุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.doc
 
อิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิง
อิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิงอิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิง
อิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิง
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณีนิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
 
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณีนิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 

ปุ

  • 1. วิวัฒนาการนาฏศิลป์ เสนอ ครูพรพรรณ โพธิ์ร่มเย็น โดย นายวปุ ศรีณรงค์ เลขที่ 25 ชั้น ม.6/6 ภาคเรียนที่๑ ปีการศึกษา๒๕๕๘ โรงเรียนหาดอมราอักษรลักษณ์วิทยา
  • 2. สมัยน่านเจ้า สมัยน่านเจ้า การศึกษาเรื่องการละคร และนาฏศิลป์ไทยในสมัยนี้ พบว่า ไทยมีนิยายเรื่องหนึ่ง คือ เรื่อง "มโนห์รา" ซึ่งปัจจุบันนี้ก็ยังมีอยู่ในประเทศจีนตอนใต้ในอาณาจักรน่านเจ้าเดิมนั่นเอง นิยายเรื่องนั้น คือ "นามาโนห์รา (Namanora) เป็นนิยายของพวกไต พวกไตคือไทยเรานี่เอง แต่เป็นพวกที่ไม่อพยพลงมาจากดินแดนเดิม เรื่องนามาโนห์รานี้จะนามาเล่นเป็นละครหรือไม่นั้นยังไม่มีหลักฐานปรากฏเด่นชัด ส่วนการละเล่นของไทยน่านเจ้านั้นมีพวกระบาอยู่แล้ว คือ ระบาหมวก และระบานกยูง
  • 3. สมัยสุโขทัย สมัยสุโขทัย สมัยนี้ไม่มีหลักฐานเกี่ยวกับการละครนัก เป็นสมัยที่เริ่มมีความสัมพันธ์กับชาติที่นิยมอารยธรรมของอินเดีย เช่น พม่า มอญ ขอม และละว้า ไทยได้รู้จักเลือกเฟ้นศิลปวัฒนธรรมที่ดีของชาติที่สมาคมด้วย แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่า ชาติไทยแต่โบราณจะไม่รู้จักการละครฟ้อนรามาก่อน เรามีการแสดงประเภทระบาราเต้นมาแต่สมัยดึกดาบรรพ์แล้ว เมื่อไทยได้รับวัฒนธรรมด้านการละครของอินเดียเข้า ศิลปะแห่งการละเล่นพื้นเมืองของไทย คือ รา และระบา ก็ได้วิวัฒนาการขึ้น มีการกาหนดแบบแผนแห่งศิลปะการแสดงทั้ง 3 ชนิดไว้เป็นที่แน่นอน และบัญญัติคาเรียกศิลปะแห่งการแสดงดังกล่าวแล้วขั้นต้นว่า "โขน ละคร ฟ้อนรา" ส่วนเรื่องละครแก้บนกับละครยก อาจมีสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยนั้นแล้วเช่นกัน
  • 4. สมัยอยุธยา สมัยกรุงศรีอยุธยาละครไทยเริ่มจัดระเบียบแบบแผนให้รัดกุมยิ่งขึ้น มีการตั้งชื่อละครที่เคยเล่นกันอยู่ให้เป็นไปตามหลักวิชานาฏศิลป์ขึ้น มีการแสดงเกิดขึ้นในสมัยนี้หลายอย่าง เช่น ละครชาตรี ละครนอก ละครใน โขน การแสดงบางอย่างก็รับวัฒนธรรมเพื่อนบ้าน และวัฒนธรรมต่างชาติเข้ามาผสมได้ ละครไทยเริ่มจัดระเบียบแบบแผนให้รัดกุมยิ่งขึ้น มีการตั้งชื่อละครที่เคยเล่นกันอยู่ให้เป็นไปตามหลักวิชานาฏศิลป์ขึ้น มีการแสดงเกิดขึ้นในสมัยนี้หลายอย่าง เช่น ละครชาตรี ละครนอก ละครใน โขน การแสดงบางอย่างก็รับวัฒนธรรมเพื่อนบ้าน และวัฒนธรรมต่างชาติเข้ามาผสมได้
  • 5. สมัยธนบุรี สมัยกรุงธนบุรี สมัยนี้เป็นช่วงต่อเนื่องหลังจากที่กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าเมื่อปี พ.ศ. 2310 เหล่าศิลปินได้กระจัดกระจายไปในที่ต่างๆ เพราะผลจากสงคราม บางส่วนก็เสียชีวิต บางส่วนก็ถูกกวาดต้อนไปอยู่พม่า ครั้นพระเจ้ากรุงธนบุรีได้ปราบดาภิเษกในปีชวด พ.ศ. 2311 แล้ว ทรงส่งเสริมฟื้นฟูการละครขึ้นใหม่ และรวบรวมศิลปินตลอดทั้งบทละครเก่าๆที่กระจัดกระจายไปให้เข้ามาอยู่รวมกัน ตลอดทั้งพระองค์ได้ทรงพระราชนิพนธ์บทละคร เรื่องรามเกียรติ์ขึ้นอีก 5 ตอน คือ  ตอนหนุมานเกี้ยวนางวานริน  ตอนท้าวมาลีวราชว่าความ  ตอนทศกัณฐ์ตั้งพิธีทรายกลด (เผารูปเทวดา)  ตอนพระลักษณ์ถูกหอกกบิลพัท  ตอนปล่อยม้าอุปการ มีคณะละครหลวง และเอกชนเกิดขึ้นหลายโรง เช่น ละครหลวงวิชิตณรงค์ ละครไทยหมื่นเสนาะภูบาล หมื่นโวหารภิรมย์ นอกจากละครไทยแล้วยังมีละครเขมรของหลวงพิพิธวาทีอีกด้วย
  • 6. สมัยรัตนโกสินทร์ สมัยกรุงรัตนโกสินทร์การละครต่างๆ ล้วนได้รับการสนับสนุนจากพระมหากษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์สืบเนื่องต่อกันมาเป็นลาดับตั้งแต่ การละครต่างๆ ล้วนได้รับการสนับสนุนจากพระมหากษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์สืบเนื่องต่อกันมาเป็นลาดับตั้งแต่ สมัยรัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ทรงฟื้นฟูรวบรวมสิ่งต่างๆที่สูญเสีย และกระจัดกระจายให้สมบูรณ์ ในรัชสมัยนี้ได้มีการรวบรวมตาราฟ้อนราขึ้นไว้เป็นหลักฐานสาคัญที่สุดในประวัติการละครไทย มีบทละครที่ปรากฏตามหลักฐานอยู่ 3 เรื่อง คือ - บทละครเรื่องอุณรุฑ - บทละครเรื่องรามเกียรติ์ - บทละครเรื่องดาหลัง พระราชนิพนธ์ตามเค้าความของเจ้าฟ้ากุณฑลที่เรียกว่า อิเหนาใหญ่ สมัยรัชกาลที่ 2พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นสมัยที่วรรณคดีเจริญรุ่งเรือง เป็นยุคทองแห่งศิลปะการละคร มีนักปราชญ์ราชกวีที่ปรึกษา 3ท่าน คือ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ กรมหลวงพิทักษ์มนตรี และสุนทรภู่มีบทละครในที่เกิดขึ้น ได้แก่เรื่องอิเหนา ซึ่งวรรณคดีสโมสรยกย่องว่าเป็นยอดของบทละครรา และเรื่องรามเกียรติ์ ส่วนบทละครนอก ได้แก่ เรื่องไกรทอง คาวี ไชยเชษฐ์ สังข์ทอง และมณีพิชัย สมัยรัชกาลที่ 3พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นยุคที่ละครหลวงซบเซา เนื่องจากพระองค์ไม่สนับสนุน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลิกละครหลวงเสีย แต่มิได้ขัดขวางผู้จะจัดแสดงละคร ทาให้เกิดคณะละครของเจ้านาย และขุนนางขึ้นแพร่หลาย หลายคณะ หลายโรง และมีบทละครเกิดขึ้นมากมาย สมัยรัชกาลที่ 4พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมัยนี้ได้เริ่มมีการติดต่อกับชาวต่างชาติ โดยเฉพาะชาวยุโรปบ้างแล้ว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้ฟื้นฟูละครหลวงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง พร้อมทั้งออกประกาศสาคัญเป็นผลให้การละครไทยขยายตัวอย่างกว้างขวาง ดังมีความโดยย่อ คือ  พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้คนทั่วไปมีละครชาย และหญิง เพื่อบ้านเมืองจะได้ครึกครื้นขึ้น เป็นเกียรติยศแก่แผ่นดิน  แม้จะมีละครหลวง แต่คนที่เคยเล่นละครก็ขอให้เล่นต่อไป  ห้ามบังคับผู้คนมาฝึกละคร ถ้าจะมาขอให้มาด้วยความสมัครใจ  สาหรับละครที่มิใช่ของหลวง มีข้อยกเว้นคือ - ห้ามใช้รัดเกล้ายอด เครื่องแต่งตัวลงยา และพานทองหีบทองเป็นเครื่องยก
  • 7. - บททาขวัญห้ามใช้แตรสังข์ - หัวช้างห้ามทาสีเผือก ยกเว้นหัวช้างเอราวัณ  มีประกาศกฎหมายภาษีมหรสพ พ.ศ. 2402 เก็บจากเจ้าของคณะละครตามประเภทการแสดง และเรื่องที่แสดง สมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว การละครในยุคนี้เริ่มมีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากการละครแบบตะวันตกหลั่งไหลเข้าสู่วงการนาฏศิลป์ ทาให้เกิดละครประเภทต่างๆขึ้นมากมาย เช่น ละครพันทาง ละครดึกดาบรรพ์ละครร้องละครพูดและลิเก ทรงส่งเสริมการละครโดยเลิกกฎหมายการเก็บอากรมหรสพเมื่อ พ.ศ.2450 ทาให้กิจการละครเฟื่องฟูขึ้นกลายเป็นอาชีพได้เจ้าของโรงละครทางฝ่ายเอกชนมีหลายราย นับตั้งแต่เจ้านายมาถึงคนธรรมดา สมัยรัชกาลที่ 6พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในสมัยนี้ได้ชื่อว่าเป็นสมัยที่การละคร และการดนตรีทั้งหลายได้เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด นับได้ว่าเป็นยุคทองแห่งศิลปะการละครยุคที่ 2 พระองค์ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งกรมมหรสพขึ้น เพื่อบารุงวิชาการนาฏศิลป และการดนตรี และยังทรงเป็นบรมครูของเหล่าศิลปิน ทรงพระราชนิพนธ์บทโขน ละคร ฟ้อนราไว้เป็นจานวนมาก สมัยรัชกาลที่ 7พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว การเมืองเกิดภาวะคับขัน และเศรษฐกิจของประเทศทรุดโทรม เสนาบดีสภาได้ตกลงประชุมกันเลิกกรมมหรสพ เพื่อให้มีส่วนช่วยกู้การเศรษฐกิจของประเทศ และต่อมาจึงกลับฐานะมาเป็นกองขึ้นอีก จนกระทั่งเมื่อ พ.ศ. 2478 กองมหรสพจึงอยู่ในสังกัดกรมศิลปากร ข้าราชการศิลปินจึงย้ายสังกัดมาอยู่ในกรมศิลปากร ในสมัยนี้มีละครแนวใหม่เกิดขึ้นคือ ละครเพลง หรือที่เป็นที่รู้จักกันว่า "ละครจันทโรภาส" ตลอดทั้งมีละครหลวงวิจิตรวาทการเกิดขึ้น