SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 18
.
.
พระพุทธศาสนาเริ่มเผยแผ่
เข้าสู่ประเทศอังกฤษ เมื่อ
ประมาณ พ.ศ.
๒๓๙๓ โดยนายสเปนเซอร์ อาร์คี ได้
พิมพ์หนังสือ
ศาสนจักรแห่งบูรพาทิศออกเผยแพร่ แต่
ไม่มีผู้สนใจมากนัก
จนกระทั่ง เซอร์เอ็ดวิน อาร์โนลด์ ได้เขียน
หนังสือ ประทีปแห่งเอเซียขึ้น และได้พิมพ์เผย
แพร่ใน พ.ศ. ๒๔๒๒ ก็ได้รับความสนใจจากชาว
อังกฤษอย่างกว้างขวาง ทำาให้ชาวอังกฤษ
เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๒ เซอร์เอ็ด
วิน อาร์โนลด์ ได้เขียนหนังสือชื่อ
ประทีปแห่งเอเซีย (Light of Asia) ได้
รับการจัดพิมพ์อย่างแพร่หลาย หนังสือ
เล่มนี้ได้มีบทบาทสำาคัญในการเผยแผ่
พุทธศาสนาในตะวันตก ชาว
ตะวันตกได้รู้จักพุทธศาสนาจากหนังสือ
เล่มนี้ ปัจจุบันนี้หนังสือประทีปแห่ง
เอเชีย เคยตีพิมพ์ในประเทศอังกฤษ
กว่า ๖๐ ครั้ง และในสหรัฐอเมริกาไม่
ตำ่ากว่า ๘๐ ครั้ง
ใน ปี พ.ศ. ๒๔๔๕ ได้มีชาวอังกฤษผู้
หนึ่งที่เลื่อมใสพุทธศาสนา ชื่อ ชาร์ลส์ เฮ
นรี่ อัลเลน เบอร์เนตต์ (Charles Henry
Allen Bernett) ได้อุปสมบทเป็นพระ
ภิกษุรูปแรกของอังกฤษและเป็นพระภิกษุ
ชาวตะวันตกรูปแรก มีฉายาว่า อานันทะ
เมตเตยยะ
ท่านเมตเตยยะสนใจพุทธศาสนา เมื่อ
อายุ๑๘ ปี ได้
เดินทางไปศึกษาพุทธศาสนาที่ลังกา มี
ความ ปรารถนาจะนำา
พุทธศาสนาไปเผยแผ่ที่อังกฤษจึง
บวชเป็นพระภิกษุเพื่อเป็น
ประโยชน์ต่อการเผยแผ่
ชาวเยอรมันมีความสนใจใน
พระพุทธศาสนามาตั้งแต่สมัยก่อน
สงครามโลกครั้งที่ ๒ แต่มีจำานวนไม่มาก
นัก โดยชาวพุทธกลุ่มแรกในเยอรมนี นำา
โดย ดร.คาร์ล ไซเดนสตั๊กเกอร์
(Dr.Karl Seidenstuecker)
ได้ก่อตั้งสมาคม
เพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
ในเยอรมนี ขึ้น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเยอรมัน
ตะวันตกดำาเนินการโดยเอกชน มีการจัด
พิมพ์วารสารและจุลสารออกเผยแพร่
นอกจากนี้ก็มีการจัดปาฐกถาธรรมและ
สนทนาธรรมเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา
เป็นประจำา หนังสือเกี่ยวกับพระพุทธ
ศาสนาที่มีชื่อเสียงมากที่สุด ได้รับการตี
พิมพ์เผยแผ่ถึง ๖ ชั่วอายุคน คือ หนังสือ
พุทธวจนะ ซึ่งเป็นหนังสือที่แปลและ
เรียบเรียงจากภาษาบาลีเป็นภาษา
เยอรมัน โดยพระภิกษุชาวเยอรมันรูป
แรก ฉายาว่า ท่านญาณดิลก หนังสือ
เล่มนี้ได้รับได้รับการตีพิมพ์ซำ้าอย่าง
พระพุทธศาสนา เริ่มเผยแผ่เข้าสู่
สหรัฐอเมริกา ประมาณปี พ.ศ.  ๒๔๒๔ โดย
พันเอก เอช. เอส.ออลคอตต์ ได้แต่ง
หนังสือชื่อ ปุจฉาวิสัชชนาทางพระพุทธศาสนา
(Buddhist Catechism ) ขึ้นเผยแผ่แต่คนยัง
ไม่ได้ให้ความสนใจเท่าใดนัก
จนกระทั่งใน พ.ศ. ๒๔๓๖
อนาคาริกะ ธัมมปาละ พุทธศาสนิก
ชาวลังกาได้เดินทาง
เข้าไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาเป็นครั้งแรก
ในสหรัฐอเมริกา จึงเริ่มมี
ผู้นับถือพระพุทธศาสนาเพิ่มขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่จะ
ใน พ.ศ. ๒๔๕๗ ได้มีการจัดตั้ง
สมาคมพระพุทธศาสนาแห่ง
สหรัฐอเมริกาขึ้น ซึ่งสมาคมนี้ในปัจจุบัน
ก็ยังดำารงอยู่และขยายสาขาไปยังรัฐ
ต่างๆ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยมีสำานักงาน
ใหญ่อยู่ที่ เมืองซานฟราน-ซิสโก รัฐ
แคลิฟอร์เนีย
ใน พ.ศ. ๒๕๐๔
มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน
ได้เปิดการสอนหลักสูตร
พุทธศาสตร์ ขึ้นในระดับ
ปริญญาเอกและต่อมาในปี
พ.ศ. ๒๕๑๘ จึงได้ตั้ง
มหาวิทยาลัยพุทธธรรม
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาใน
สหรัฐอเมริกานั้น จัดว่ามีความสมบูรณ์
ทุกประการ เช่น การจัดปาฐกถา การ
อภิปราย สนทนาธรรม สัมมนาทาง
วิชาการ การจัดอบรมทางพระพุทธ
ศาสนาภาคฤดูร้อน
เปิดโรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์
การแสดงพระธรรมเทศนา การบำาเพ็ญ
พระพุทธศาสนาในประเทศสหรัฐอเมริกาใน
ปัจจุบัน
                 ประเทศสหรัฐอเมริกานับ
ว่ามีกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา
แพร่หลายและกว้างขวางที่สุด ที่เป็นเช่นนี้เพราะ
มีชาวไทย และชาวเอเชียที่นับถือพระพุทธ
ศาสนาอยู่กระจัดกระจายตามรัฐต่าง ๆ โดยเฉพาะ
คนไทยที่อยู่กันหนาแน่นในบางเมือง เช่น ลอส
แอนเจลิส ซานฟรานซิสโก ชิคาโก เป็นต้น ก็ได้
ร่วมกันจัดตั้งวัดไทยขึ้นในชุมชนของตนเพื่อ
ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและเป็นแหล่งที่ใช้
พบปะสังสรรค์กันระหว่างชาวพุทธ
วัดไทยในสหรัฐอเมริกาจึงมี
กระจัดกระจายอยู่ตามรัฐต่างๆ เป็นอันมาก ซึ่งมี
ในแคนาดา วัดของศาสนา
พุทธนิกายเถรวาทมีอยู่เพียงไม่กี่แห่ง วัด
แรกได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม
ค.ศ.1978 โดย พระดร.ดิกเวลลา ปิยนันทะ
มหาเถระ ผู้ที่ได้รับการเคารพนับถือเป็น
อย่างมาก ซึ่งปัจจุบันท่านได้มรณภาพไป
แล้ว โดยได้รับการสนับสนุนจาก
พุทธศาสนิกชนที่เป็นชาวศรีลังกา วัดนี้ได้รับ
พระสงฆ์จำานวนมากที่อยู่ในแคนาดาจะ
ต้องเอาใจใส่ต่อเรื่องในชุมชนของตนและต้อง
ทำาหน้าที่เป็นทูตทางศาสนา สานสัมพันธไมตรี
กับศาสนาอื่นๆ ด้วย บรรดาพระสงฆ์เหล่านี้
จะได้รับการอบรมเพื่อให้เข้าใจถึงวัฒนธรรม
ประเพณีของผู้คนต่างๆ พร้อมไปกับการนำา
หลักธรรมคำาสอนออกสั่งสอนผู้คน ในรูปแบบที่
เหมาะกับโลกที่ทันสมัย
พระธรรมทูตรูปแรกที่มาแคนาดา คือ
พระอนาคาริก ธรรมปาละ ท่านได้จุดตะเกียง
เพื่อฉายแสงแห่งธรรมในแคนาดา เมื่อ 100 ปี
ก่อน ความที่ท่านมีความเฉลียวฉลาดมาก และ
มีกลวิธีในการสอนที่เปี่ยมไปด้วยพลัง ทำาให้
พระพุทธศาสนาเข้า
สู่ประเทศญี่ปุ่นโดยผ่าน
เกาหลี ในหนังสือ
ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นชื่อ นิ
ฮอนโกชิ ได้บันทึกไว้ว่า
วันที่ ๑๒ ตุลาคม
พ.ศ.๑๐๙๕ เป็นปีที่ ๑๓
ในรัชกาลพระเจ้า กิมเมจิ
จักรพรรดิองค์ที่ ๑๙ ของ
ญี่ปุ่น
พระพุทธศาสนา
ได้เข้าสู่ญี่ปุ่น โดยพระเจ้า
เซมาโว แห่งเกาหลี ส่ง
ราชทูตไปยังราชสำานัก
พระเจ้ากิมเมจิ พร้อมด้วย
พระพุทธศาสนาได้เจริญขึ้นในประเทศ
ญี่ปุ่น ในสมัยพระจักรพรรดิกิมเมจิเป็นอย่าง
มากแต่ภายหลังที่พระองค์สิ้นพระชนม์แล้ว
พระจักรพรรดิองค์ต่อๆ มาก็มิได้ใส่พระทัยใน
พระพุทธศาสนาปล่อยให้พระพุทธศาสนา
เสื่อมโทรมลง
จนถึงสมัยจักรพรรดินีซุยโก ได้สถาปนา
เจ้าชายโชโตกุ เป็นผู้สำาเร็จราชการแผ่นดิน
เมื่อ พ.ศ. ๑๑๓๕ เจ้าชายพระองค์นี้เองที่ได้
ในปัจจุบันชาวญี่ปุ่นนับถือพระพุทธศาสนาควบคู่ไป
กับชินโต พระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็นหลายนิกาย นิกาย
ที่สำาคัญมี ๕ นิกาย ดังนี้
• นิกายเทนได (เทียนไท้)
– พระไซโจ (เด็งกะโยไดชิ) เป็นผู้ตั้ง มีหลักคำาสอนเป็น
หลักธรรมชั้นสูง ส่งเสริมให้บูชาพระพุทธเจ้าองค์
ปัจจุบันและพระโพธิสัตว์
• นิกายชินงอน
– พระกุไก หรือโกโบไดชิ เป็นผู้ตั้งในเวลาใกล้เคียงกับนิ
กายเทนได มีหลักคำาสอนตามนิกายตันตระ สอนให้คน
บรรลุโพธิญาณด้วยการสวดมนต์อ้อนวอน ถือคัมภีร์
มหาไวโคจนสูตรเป็นสำาคัญ
• นิกายโจโด (สุขาวดี)
– โฮเนน เป็นผู้ตั้งเมื่อ พ.ศ. 1718 นิกายนี้สอนว่า สุขาวดี
เป็นแดนอมตสุขผู้จะไปถึงได้ด้วยออกพระนามพระอมิ
ตาภพุทธะ นิกายนี้มีนิกายย่อยอีกมาก เช่นโจโดชิน
.นิกายเซน(ธยาน หรือ ฌาน)
นิกายนี้ถือว่า ทุกคนมีธาตุพุทธะอยู่
ในตัว ทำาอย่างไรจึงจะให้ธาตุพุทธะนี้ปรากฏออก
มาได้ โดยความสามารถของตัวเอง สอนให้
ดำาเนินชีวิตอย่างง่าย ให้เข้าถึงโพธิญาณอย่างฉับ
พลัน นิกายนี้คนชั้นสูง และพวกนักรบนิยมมาก
เป็นต้นกำาเนิดของลัทธิบูชิโด นับถือพระโพธิธรรม
ผู้เผยแพร่ในประเทศจีน
.นิกายนิชิเรน
พระนิชิเรนไดโชนิน เป็นผู้ตั้ง นับถือสัทธรรม
พระพุทธศาสนาได้เข้ามาในประเทศจีนดังได้ปรากฎในหลักฐาน
เมื่อประมาณพุทธศักราช ๖๐๘ ในสมัยของพระจักรพรรดิเม่งเต้
แห่งราชวงค์ฮั่น พระได้จัดส่งคณะทูต ๑๘ คน ไปสืบ
พระพุทธศาสนาในอินเดีย คณะทูตชุดนี้ได้เดินทางกลับประเทศ
จีนพร้อมด้วยพระภิกษุ ๒ รูป คือ พระกาศยปมาตังคะ และพระ
ธรรมรักษ์รวมทั้งคัมภีร์ของพระพุทธศาสนาอีกส่วนหนึ่งด้วย เมื่อ
พระเถระ ๒ รูป พร้อมด้วยคณะทูตมาถึงนครโลยาง พระเจ้าฮั่น
เม่งเต้ได้ทรงสั่งให้สร้างวัดเพื่อเป็นที่อยู่ของพระทั้ง ๒ รูป นั้นซึ่ง
มีชื่อว่า วัดแป๊ะเบ๊ยี่ แปลเป็นไทยว่า วัดม้าขาว เพื่อเป็นอนุสรณ์
แก่ม้าตัวที่บรรทุกพระคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนากับพระเถระทั้ง
สอง หลังจากนั้นพระปาศยมาตังตะ กับพระธรรมรักษ์ได้แปลคำา
ภีร์พระพุทธศาสนาเป็นภาษาจีนเล่นแรก
ในสมัยราชวงศ์ฮั่น แม้ว่าพระพุทธศาสนาจะเป็นที่เลื่อมใส
แต่ก็ยังจำากัดอยู่ในวงแคบคือ ในหมู่ข้าราชการและชนชั้นสูง
แห่งราชสำานักเป็นส่วนใหญ่
แต่ยังไม่แพร่หลายในหมู่ประชาชนชาวเมือง เพราะชาว
จีนส่วนใหญ่ยังคงนับถือลัทธิขงจื้อ
และลัทธิเต๋า จนกระทั่งโม่งจื๊อ นักปราชญ์ผู้มีความสามารถ
ยิ่งได้แสดงหลักธรรมของ
พระพุทธศาสนา ให้ชาวเมืองได้เห็นถึงความจริงแท้อันลึก
ซึ้งของพระพุทธศาสนาเหนือกว่า
ลัทธิเดิม กับอาศัยความประพฤติอันบริสุทธิ์ของพระสงฆ์
เป็นเครื่องจูงใจให้ชาวจีนเกิด
ศรัทธาเลื่อมใส จนทำาให้ชาวเมืองหันมานับถือพระพุทธ
ศาสนามากกว่าลัทธิศาสนาอื่นๆ
พระพุทธศาสนาก็เจริญรุ่งเรืองมาเป็นลำาดับ จนกระทั่ง
ราชวงศ์ถัง (พ.ศ. ๑๑๖๑ - ๑๔๕๐)
พระพุทธศาสนาก็เจริญสูงสุดเพราะได้รับการสนับสนุนจาก
พระเจ้าจักรพรรดิตลอดจนนักปราชญ์ราชบัณฑิตต่างๆโดยมี

Mais conteúdo relacionado

Mais de sudchaleom

อาหารอาเซียนลงบล๊อค
อาหารอาเซียนลงบล๊อคอาหารอาเซียนลงบล๊อค
อาหารอาเซียนลงบล๊อคsudchaleom
 
แบบฝึกเศรษฐกิจ สังคม แอฟริกา
แบบฝึกเศรษฐกิจ สังคม แอฟริกาแบบฝึกเศรษฐกิจ สังคม แอฟริกา
แบบฝึกเศรษฐกิจ สังคม แอฟริกาsudchaleom
 
แบบฝึกภูมิอากาศแอฟริกา
แบบฝึกภูมิอากาศแอฟริกาแบบฝึกภูมิอากาศแอฟริกา
แบบฝึกภูมิอากาศแอฟริกาsudchaleom
 
แบบฝึกภูมิประเทศแอฟริกา
แบบฝึกภูมิประเทศแอฟริกาแบบฝึกภูมิประเทศแอฟริกา
แบบฝึกภูมิประเทศแอฟริกาsudchaleom
 
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค เศรษฐกิจ  สังคม  วัฒนธรรม ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค เศรษฐกิจ  สังคม  วัฒนธรรม
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม sudchaleom
 
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อคลักษณะภูมิอากาศ
ทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อคลักษณะภูมิอากาศทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อคลักษณะภูมิอากาศ
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อคลักษณะภูมิอากาศsudchaleom
 
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค ลักษณะภูมิประเทศ 2
ทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อค  ลักษณะภูมิประเทศ 2ทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อค  ลักษณะภูมิประเทศ 2
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค ลักษณะภูมิประเทศ 2sudchaleom
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์sudchaleom
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 sudchaleom
 
การ์ตูนสังคมวัฒนธรรมอเมริกา2003
การ์ตูนสังคมวัฒนธรรมอเมริกา2003การ์ตูนสังคมวัฒนธรรมอเมริกา2003
การ์ตูนสังคมวัฒนธรรมอเมริกา2003sudchaleom
 
แบบฝึกศิลปวรรณกรรม
แบบฝึกศิลปวรรณกรรมแบบฝึกศิลปวรรณกรรม
แบบฝึกศิลปวรรณกรรมsudchaleom
 
แผนที่ศึก 9 ทัพ
แผนที่ศึก 9 ทัพแผนที่ศึก 9 ทัพ
แผนที่ศึก 9 ทัพsudchaleom
 
ต่างประเทศ 2
ต่างประเทศ 2ต่างประเทศ 2
ต่างประเทศ 2sudchaleom
 
ต่างประเทศ 1
ต่างประเทศ 1ต่างประเทศ 1
ต่างประเทศ 1sudchaleom
 
แบบฝึกสังคม ศาสนา เศรษฐกิจ
แบบฝึกสังคม ศาสนา เศรษฐกิจแบบฝึกสังคม ศาสนา เศรษฐกิจ
แบบฝึกสังคม ศาสนา เศรษฐกิจsudchaleom
 
แบบฝึก 1
แบบฝึก 1แบบฝึก 1
แบบฝึก 1sudchaleom
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศความสัมพันธ์กับต่างประเทศ
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศsudchaleom
 
ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมsudchaleom
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจsudchaleom
 
สังคม การศึกษา ศาสนา
สังคม การศึกษา ศาสนาสังคม การศึกษา ศาสนา
สังคม การศึกษา ศาสนาsudchaleom
 

Mais de sudchaleom (20)

อาหารอาเซียนลงบล๊อค
อาหารอาเซียนลงบล๊อคอาหารอาเซียนลงบล๊อค
อาหารอาเซียนลงบล๊อค
 
แบบฝึกเศรษฐกิจ สังคม แอฟริกา
แบบฝึกเศรษฐกิจ สังคม แอฟริกาแบบฝึกเศรษฐกิจ สังคม แอฟริกา
แบบฝึกเศรษฐกิจ สังคม แอฟริกา
 
แบบฝึกภูมิอากาศแอฟริกา
แบบฝึกภูมิอากาศแอฟริกาแบบฝึกภูมิอากาศแอฟริกา
แบบฝึกภูมิอากาศแอฟริกา
 
แบบฝึกภูมิประเทศแอฟริกา
แบบฝึกภูมิประเทศแอฟริกาแบบฝึกภูมิประเทศแอฟริกา
แบบฝึกภูมิประเทศแอฟริกา
 
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค เศรษฐกิจ  สังคม  วัฒนธรรม ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค เศรษฐกิจ  สังคม  วัฒนธรรม
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
 
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อคลักษณะภูมิอากาศ
ทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อคลักษณะภูมิอากาศทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อคลักษณะภูมิอากาศ
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อคลักษณะภูมิอากาศ
 
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค ลักษณะภูมิประเทศ 2
ทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อค  ลักษณะภูมิประเทศ 2ทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อค  ลักษณะภูมิประเทศ 2
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อค ลักษณะภูมิประเทศ 2
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
 
การ์ตูนสังคมวัฒนธรรมอเมริกา2003
การ์ตูนสังคมวัฒนธรรมอเมริกา2003การ์ตูนสังคมวัฒนธรรมอเมริกา2003
การ์ตูนสังคมวัฒนธรรมอเมริกา2003
 
แบบฝึกศิลปวรรณกรรม
แบบฝึกศิลปวรรณกรรมแบบฝึกศิลปวรรณกรรม
แบบฝึกศิลปวรรณกรรม
 
แผนที่ศึก 9 ทัพ
แผนที่ศึก 9 ทัพแผนที่ศึก 9 ทัพ
แผนที่ศึก 9 ทัพ
 
ต่างประเทศ 2
ต่างประเทศ 2ต่างประเทศ 2
ต่างประเทศ 2
 
ต่างประเทศ 1
ต่างประเทศ 1ต่างประเทศ 1
ต่างประเทศ 1
 
แบบฝึกสังคม ศาสนา เศรษฐกิจ
แบบฝึกสังคม ศาสนา เศรษฐกิจแบบฝึกสังคม ศาสนา เศรษฐกิจ
แบบฝึกสังคม ศาสนา เศรษฐกิจ
 
แบบฝึก 1
แบบฝึก 1แบบฝึก 1
แบบฝึก 1
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศความสัมพันธ์กับต่างประเทศ
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ
 
ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สังคม การศึกษา ศาสนา
สังคม การศึกษา ศาสนาสังคม การศึกษา ศาสนา
สังคม การศึกษา ศาสนา
 

การเผยแพร่ศาสนา