SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 9
Baixar para ler offline
สื่อกลางในการสื่อสารขอมูล
ตัวกลางหรือสายเชื่อมโยง เปนสวนที่ทําใหเกิดการเชื่อมตอระหวางอุปกรณตางๆ เขาดวยกัน และ
อุปกรณที่ยอมใหขาวสารขอมูลเดินทางผานจากผูสงไปสูผูรับ สื่อกลางที่ใชในการสื่อสารขอมูลมีอยูหลาย
ประเภท แตละประเภทมีความแตกตางกันในดานของปริมาณขอมูลที่สื่อกลางนั้นๆ สามารถนําผานไปไดใน
เวลาขณะใดขณะหนึ่ง การวัดปริมาณหรือความจุในการนําขอมูลหรือที่เรียกกันวา แบนดวิดธ (bandwidth) มี
หนวยเปนจํานวน บิต ขอมูลตอวินาที (bits per second : bps) ลักษณะของตัวกลางตางๆ มีดังตอไปนี้
อุปกรณที่ยอมใหขาวสารขอมูลเดินทางผานจากผูสงไปสูผูรับ สื่อกลางที่ใชในการสื่อสารขอมูลมีอยูหลาย
ประเภท แตละประเภทมีความแตกตางกันในดานของปริมาณขอมูลที่สื่อกลางนั้นๆ สามารถนําผานไปไดใน
เวลาขณะใดขณะหนึ่ง การวัดปริมาณหรือความจุในการนําขอมูลหรือที่เรียกกันวา แบนดวิดธ (bandwidth) มี
หนวยเปนจํานวน บิต ขอมูลตอวินาที (bits per second : bps) ลักษณะของตัวกลางตางๆ มีดังตอไปนี้
1. สื่อกลางประเภทมีสาย
2. สื่อกลางประเภทไมมีสาย
1 สื่อกลางประเภทมีสาย
1) สายคูบิดเกลียว (Twisted – Pair Cable) สายคูบิดเกลียวประกอบดวยสายทองแดง ที่หุมดวย
ฉนวนพลาสติก หลังจากนั้นก็นําสายทั้งสองมาถักกันเปนเกลียวคู เชน สายคูบิดเกลียวที่ใชกับเครือขายทองถิ่น
(CAT5) การนําสายมาถักเปนเกลียวเพื่อชวยลดการแทรกแซงจากสัญญาณรบกวนสายคูบิดเกลียวมีอยู 2
รูปแบบ คือ สายคูบิดเกลียวแบบไมมีชีลด และแบบมีชิลด
สายคูบิดเกลียวแบบไมมีชีลด (Unshielded Twisted –Pair Cable :UTP
นิยมใชงานมากในปจจุบันมีลักษณะคลายกับสายโทรศัพทบานไมมีการหุมฉนวนมีแตการบิดเกลียวอยางเดียว
1.1 สายคูบิดเกลียวแบบมีชิลด (Shielded Twisted –Pair Cable :STP)
สําหรับสายSTP คลายกับสาย UTP แตสาย STP จะมีชิลดหอหุมอีกชั้นหนึ่ง ทําใหปองกันสัญญาณ
รบกวนไดดีกวาสาย UTP
ขอดี
1) ราคาถูก
2) มีน้ําหนักเบา
3) งายตอการใชงาน
ขอเสีย
1) มีความเร็วจํากัด
2) ใชกับระยะทางสั้นๆ
1.2 สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable)
สายมักทําดวยทองแดงอยูแกนกลาง ซึ่งสายทองแดงจะถูกหอหุมดวยพลาสติก จากนั้นก็จะมีชิลด
หอหุมอีกชั้นหนึ่งเพื่อปองกันสัญญาณรบกวน และหุมดวยเปลือกนอกอีกชั้นหนึ่งปองกันสัญญาณรบกวนจาก
คลื่นแมเหล็กไฟฟาไดดี สายโคแอกเชียลที่เห็นไดทั่วๆไป คือ สายที่นํามาใชตอเขากับเสาอากาศทีวีที่ใชตาม
บาน
ขอดี
1) เชื่อมตอไดในระยะไกล
2) ปองกันสัญญาณรบกวนไดดี
ขอเสีย
1) มีราคาแพง
2) สายมีขนาดใหญ
3) ติดตั้งยาก
1.3 สายไฟเบอรออปติค (Optical Fiber)
สายไฟเบอรออปติคหรือสายใยแกวนําแสง เปนสายที่มีลักษณะโปรงแสง มีรูปทรงกระบอกในตัว
ขนาดประมาณเสนผมของมนุษยแตมีขนาดเล็ก
สายไฟเบอรออปติค แบงเปน 3 ชนิด
1) Multimode step –index fiber จะสะทอนแบบหักมุม
2) Multimode graded –index มีลักษณะคลายคลื่น
3) Single mode fiber เปนแนวตรง
ขอดี
1) มีขนาดเล็กน้ําหนักเบา
2) มีความปลอดภัยในการสงขอมูล
3) มีความทนทานและมีอายุการใชงานยาวนาน
ขอเสีย
1) เสนใยแกวมีความเปราะบาง แตกหักงาย
2) มีราคาสูง เมื่อเทียบกับสายเคเบิลทั่วไป
3) การติดตั้งจําเปนตองพึ่งพาผูเชี่ยวชาญเฉพาะ
2. สื่อกลางประเภทไมมีสาย
สื่อที่ไมใชสาย สื่อประเภทนี้เปนระบบตัวกลางที่สงเปนคลื่นวิทยุ เชน อากาศที่เราใชสงคลื่นวิทยุ คลื่น
ไมโครเวฟ (Microwave) รวมทั้งการสื่อสารผานดาวเทียม
2.1 ดาวเทียม
การใชดาวเทียมสําหรับการสงขอมูลแบบดิจิตอลก็เหมือนกับการสงแบบไมโครเวฟนั่นเองคะ
ดาวเทียมนั้นจะตองรับและสงสัญญาณแบบสันตรง ดาวเทียมจะชวยสงสัญญาณในระยะไกลซึ่งทําไดมากขึ้นใน
ลักษณะของการขามภูมิภาค ขามทวีป ซึ่งสัญญาณไมโครเวฟนั้นไมสามารถทําไดเนื่องจาก ดาวเทียมนั้นจะมี
ฟุตพริ้น(Footprint) สําหรับฟุตพริ้น(Footprint) ก็คือจํานวนพื้นที่บนผิวโลกที่ดาวเทียมหนึ่งครอบคลุมการสง
สัญญาณไดนั่นเองคะ
ในปจจุบันนี้มีการใชสัญญาณดาวเทียมที่โคจรแบงออกเปน 3 ประเภท ก็คือ
ดาวเทียมแบบจีอีโอ (Geostationary Earth Orbit : GEO) ดาวเทียมชนิดนี้ จะเหมาะกับการสง
สัญญาณโทรทัศน
ดาวเทียมแบบโคจรระดับกลาง (Medium Earth Orbit : MEO) ดาวเทียมชนิดนี้ในการโคจรจะ
โนมเอียงไปยังสนศูนยสูตรนั่นเอง
ดาวเทียมแบบระดับต่ํา (Low Earth Orbit : LEO) ดาวเทียมชนิดนี้จํานวนมากสามารถครอบคลุม
การสงสัญญาณบนโลกใหทั่วถึงได
ที่จริงดาวเทียมก็คือสถานีไมโครเวฟลอยฟานั่นเอง ซึ่งทําหนาที่ขยายและทบทวนสัญญาณขอมูล รับ
และสงสัญญาณขอมูลกับสถานีดาวเทียมที่อยูบนพื้นโลก สถานีดาวเทียมภาคพื้นจะทําการสงสัญญาณขอมูล
ไปยังดาวเทียมซึ่งจะหมุนไปตามการหมุนของโลกซึ่งมีตําแหนงคงที่เมื่อเทียมกับตําแหนงบนพื้นโลก ดาวเทียม
จะถูกสงขึ้นไปใหลอยอยูสูงจากพื้นโลก เครื่องทบทวนสัญญาณของดาวเทียม (Transponder) จะรับสัญญาณ
ขอมูลจากสถานีภาคพื้นซึ่งมีกําลังออนลงมากแลวมาขยาย จากนั้นจะทําการทบทวนสัญญาณ และตรวจสอบ
ตําแหนงของสถานีปลายทาง แลวจึงสงสัญญาณขอมูลไปดวยความถี่ในอีกความถี่หนึ่งลงไปยังสถานีปลายทาง
การสงสัญญาณขอมูลขึ้นไปยังดาวเทียมเรียกวา "สัญญาณอัปลิงก" (Up-link) และการสงสัญญาณขอมูลก็จะ
กลับลงมายังพื้นโลกเรียกวา "สัญญาณ ดาวน-ลิงก (Down-link) ลักษณะของการรับสงสัญญาณขอมูลอาจจะ
เปนแบบจุดตอจุด (Point-to-Point) หรือแบบแพรสัญญาณ นั่นเอง
ขอดี-ขอเสีย ของการสงสัญญาณแบบดาวเทียม
ขอดี
การสงขอมูลหรือการสงสัญญาณแบบดาวเทียมจะสามรถรับ-สง ขอมูลไดเร็ว สะดวกตอการ
ติดตอสื่อสาร และสามารถสงขอมูลไดในระยะทางที่ไกล
ขอเสีย
การสงสัญญาณขอมูลทางดาวเทียมก็คือระบบดาวเทียมนั้น คลายกับไมโครเวฟ คือ อาจจะ ถูก
กระทบโดยสภาพอากาศ ดังนั้น มีการลาชาของสัญญาณในการสงขอมูลแตละชวง ดังนั้นการเชื่อมโยงขอมูล
จัดการกับปญหาความลาชา สัญญาณขอมูลสามารถถูกรบกวนจากสัญญาณ ภาคพื้นอื่น ๆ ได อีก ในการสง
สัญญาณเนื่องจากระยะทางขึ้น-ลง ของสัญญาณ และที่สําคัญคือ มีราคาสูงในการลงทุนทําใหคาบริการสูงตาม
ขึ้นมา
2.2 คลื่นวิทยุ
คลื่นวิทยุที่กระจายออกจากสายอากาศ จะเดินทางไปทุกทิศทาง ในทุกระนาบ การกระจายคลื่นนี้มี
ลักษณะเปนการขยายตัวของพลังงานออกเปนทรงกลม ถาจะพิจารณาในสวนของพื้นที่แทนหนาคลื่นจะเห็นได
วามันพุงออกไปเรื่อย ๆ จากจุดกําเนิด และสามารถเขียนแนวทิศทางเดินของหนาคลื่นไดดวยเสนตรงหรือเสน
รังสี เสนรังสีที่ลากจากสายอากาศออกไปจะทํามุมกับระนาบแนวนอน มุมนี้เรียกวา มุมแผคลื่น อาจมีคาเปน
บวก ( มุมเงย ) หรือมีคาเปนลบ ( มุมกดลง ) ก็ได มุมของการแผคลื่นนี้อาจนํามาใชเปนตัวกําหนดประเภท
ของคลื่นวิทยุได โดยทั่วไปคลื่นวิทยุอาจแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ คลื่นดิน (GROUND WAVE ) กับ
คลื่นฟา (SKY WAVE ) พลังงานคลื่นวิทยุสวนใหญจะเดินทางอยูใกล ๆ ผิวโลกหรือเรียกวาคลื่นดิน ซึ่งคลื่นนี้
จะเดินไปตามสวนโคงของโลก คลื่นอีกสวนที่ออกจากสายอากาศ ดวยมุมแผคลื่นเปนคาบวก จะเดินทางจาก
พื้นโลกพุงไปยังบรรยากาศจนถึงชั้นเพดานฟาและจะสะทอนกลับลงมายังโลกนี้เรียกวา คลื่นฟา ผลของ
คลื่นวิทยุที่มีตอรางกาย
คลื่นวิทยุสามารถทะลุเขาไปในรางกายมนุษยไดลึกประมาณ 1/10 ของความยาวคลื่นที่ตกกระทบ
และอาจทําลายเนื้อเยื่อของอวัยวะภายในบางชนิดได ผลการทําลายจะมากหรือนอย ขึ้นอยูกับความเขม
ชวงเวลาที่รางกายไดรับคลื่นและชนิดของเนื้อเยื่อ อวัยวะที่มีความไวตอคลื่นวิทยุ ไดแก นัยนตา ปอด ถุงน้ําดี
กระเพาะปสสาวะ อัณฑะ และบางสวนของระบบทางเดินอาหาร โดยเฉพาะนัยนตา และอัณฑะ เปนอวัยวะที่
ออนแอที่สุดเมื่อไดรับคลื่นวิทยุชวงไมโครเวฟ
คลื่นวิทยุชวงความถี่ตาง ๆ อาจมีผลตอรางกายดังนี้
1. คลื่นวิทยุที่มีความถี่นอยกวา 150 เมกะเฮิรตซ (มีความยาวคลื่นมากกวา 2 เมตร) คลื่นจะทะลุผาน
รางกายโดยไมกอใหเกิดผลใด ๆ เนื่องจากไมมีการดูดกลืนพลังงานของคลื่นไว รางกายจึงเปรียบเสมือนเปน
วัตถุโปรงใสตอคลื่นวิทยุชวงนี้
2. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหวาง 150 เมกะเฮิรตซ ถึง 1.2 จิกะเฮิรตซ (มีความยาวคลื่นระหวาง 2.00
ถึง 0.25 เมตร) คลื่นวิทยุชวงนี้สามารถทะลุผานเขาไปในรางกายไดลึกประมาณ 2.5 ถึง 20 เซนติเมตร
เนื้อเยื่อของอวัยวะภายในบริเวณนั้นจะดูดกลืนพลังงานของคลื่นไวถึงรอยละ 40 ของพลังงานที่ตกกระทบ ทํา
ใหเกิดความรอนขึ้นในเนื้อเยื่อ โดยที่รางกายไมสามารถรูสึกได ถารางกายไมสามารถกระจายความรอนออกไป
ในอัตราเทากับที่รับเขามา อุณหภูมิหรือระดับความรอนของรางกายจะสูงขึ้น เปนอันตรายอยางยิ่งตอรางกาย
ความรอนในรางกายที่สูงกวาระดับปกติอาจกอใหเกิดผลหลายประการ เชน
- เลือดจะแข็งตัวชากวาปกติ ผลอันนี้ถามีการเสียเลือดเกิดขึ้น อาการจะมีความรุนแรง
- การหมุนเวียนของเลือดเร็วขึ้น
- ฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดงจะมีความจุออกซิเจนลดลง ทําใหเลือดมีออกซิเจนไมเพียงพอเลี้ยง
เนื้อเยื่อตาง ๆ เมื่อเนื้อเยื่อขาดออกซิเจนจะทําใหเซลลสมอง ระบบประสาทสวนกลางและอวัยวะภายในขาด
ออกซิเจนดวย อาจทําใหมีการกระตุกของกลามเนื้อจนถึงชัก ถาสภาพเชนนี้ดําเนินตอไป ผลที่ตามมาก็คือ ไม
รูสึกตัวและอาจเสียชีวิตได
3. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหวาง 1-3 จิกะเฮิรตซ (มีความยาวคลื่นระหวาง 30 ถึง 10 เซนติเมตร) ทั้ง
ผิวหนังและเนื้อเยื่อลึกลงไปดูดกลืนพลังงานไดราวรอยละ 20 ถึงรอยละ 100 ขึ้นอยูกับชนิดของเนื้อเยื่อ
คลื่นวิทยุเชนนี้เปนอันตรายอยางยิ่งตอนัยนตา โดยเฉพาะเลนสตาจะมีความไวเปนพิเศษตอคลื่นวิทยุความถี่
ประมาณ 3 จิกะเฮิรตซ เพราะเลนสตามีความแตกตางจากอวัยวะอื่นตรงที่ไมมีเลือดมาหลอเลี้ยงและไมมี
กลไกซอมเซลล ดังนั้นเมื่อนัยนตาไดรับคลื่นอยางตอเนื่องจะทําใหของเหลวภายในตามีอุณหภูมิสูงขึ้น โดยไม
สามารถถายโอนความรอนเพื่อใหอุณหภูมิลดลงไดเหมือนเนื้อเยื่อของอวัยวะอื่น ๆ จึงจะกอใหเกิดอันตราย
อยางรุนแรงตามมา พบวาถาอุณหภูมิของตาสูงขึ้นเซลลเลนสตาบางสวนอาจถูกทําลายอยางชา ๆ ทําใหความ
โปรงแสงของเลนสตาลดลง ตาจะขุนลงเรื่อย ๆ ในที่สุดจะเกิดเปนตอกระจก สายตาผิดปกติ และสุดทายอาจ
มองไมเห็น
4. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหวาง 3-10 จิกะเฮิรตซ (มีความยาวคลื่นระหวาง 10 ถึง 3 เซนติเมตร)
ผิวหนังชั้นบนสามารถดูดกลืนพลังงานมากที่สุด เราจะรูสึกวาเหมือนกับถูกแสงอาทิตย
5. คลื่นวิทยุที่มีความถี่สูงกวา 10 จิกะเฮิรตซ (มีความยาวคลื่นนอยกวา 3 เซนติเมตร) ผิวหนังจะ
สะทอนใหกลับออกไป โดยมีการดูดกลืนพลังงานเล็กนอย
ขอดี : ติดตั้งเพื่อเชื่อมโยงการติดตอไดสะดวก เพียงตออุปกรณเครื่องรับ-สงวิทยุกับอุปกรณ
คอมพิวเตอร แลวตรวจสอบความเรียบรอยของระบบก็สามารถจะสื่อสารขอมูลทั้งภายในและภายนอกอาคาร
ได เนื่องจากในการสื่อสารดวยระบบวิทยุจะมีระบบความพรอมกอนทําการรับสงขอมูล จึงไมคอยมีปญหาเรื่อง
สัญญาณรบกวน
ขอเสีย : มีอัตราเร็วในการสงขอมูลต่ํา นอกจากนี้ยังตองทําการขออนุญาตใชความถี่วิทยุกับ
กรมไปรษณียโทรเลขเสียกอน สําหรับคาใชจายในเรื่องของอุปกรณสื่อสารนั้นคอนขางจะมีราคาแพงกวาการ
สื่อสารดวยสายสัญญาณ
2.3 ไมโครเวฟ (Microwave)
สัญญาณคลื่นความถี่ประมาณ 100 เมกะเฮิรตซ เดินทางเปนเสนตรง ทําใหสามารถปรับทิศทางการ
สงไดแนนอน การบีบสัญญาณสงใหเปนลําแคบ ๆ จะทําใหมีพลังงานสูง สัญญาณรบกวนต่ํา การปรับจานรับ
และจานสงสัญญาณใหตรงกันพอดี จะทําใหสามารถสงสัญญาณไดหลายความถี่ไปในทิศทางเดียวกันได โดยไม
รบกวนกัน
ขอเสียคือ คลื่นไมโครเวฟไมสามารถเดินผานวัตถุที่กีดขวางได สัญญาณอาจเกิดการหักเหในระหวาง
เดินทางทําใหมาถึงจาน รับสัญญาณชากวาปกติและสัญญาณบางสวนอาจสูญหายได เรียกวาเกิด “multipath
fading” จากสภาพภูมิอากาศ และความถี่สัญญาณ คลื่นความถี่ตั้งแต 8 กิกะเฮิรตซขึ้นไป จะถูกดูดซึมโดยพื้น
น้ํา หรือเมื่อผานพายุฝนเพราะมีความยาวคลื่นเพียงไมกี่เซนติเมตร การตั้งสถานีรับ-สงสัญญาณไมโครเวฟ
(relay station) สามารถตั้งใหอยูหางกันไดถึง 30-50 กิโลเมตร นิยมนํามาใชในธุรกิจ งานใหบริการเชน
โทรศัพททางไกล โทรศัพทมือถือ การแพรภาพโทรทัศน เปนตน เพื่อหลีกเลี่ยงการวางสายเคเบิล ระบบ
ไมโครเวฟจึงมีราคาถูกกวาระบบอื่น
2.4 คลื่นอินฟราเรดและคลื่นสั้น (Infrared and millimeter wave)
นิยมใชสําหรับการสื่อสารระยะใกล คุณสมบัติของคลื่นคือ เดินทางเปนแนวตรง ราคาถูก และงายตอ
การผลิตใชงานแตไมสามารถเดินทางผานวัตถุหรือสิ่งกีดขวางได เชน รีโมทสําหรับควบคุมวิทยุ วิดีโอโทรทัศน
เครื่องเลนบังคับตาง ๆ เปนตน สามารถใชคลื่นอินฟราเรดเพื่อการสื่อสารในระบบเครือขายทองถิ่น (LAN) ได
ดี เพราะคุณสมบัติของคลื่นที่ไมสามารถเดินทาง ผานสิ่งกีดขวางได การใชระบบเครือขายในหองทํางานที่มี
อุปกรณใชคลื่นอินฟราเรดในการรับ-สงสัญญาณแบบหลาย ทิศทางติดตั้งอยู ทําใหสะดวกตอการใชเครื่อง
คอมพิวเตอรแบบพกพาซึ่งใชอุปกรณรับ-สงดวยคลื่นอินฟราเรด สามารถติดตอกับระบบเครือขายของ
สํานักงานได และยังนําคุณสมบัติของคลื่นอินฟราเรดไปใชในการจัดประชุม ทุกคนสามารถสื่อสารขอมูลดวย
เครื่องคอมพิวเตอร ผานอุปกรณสื่อสารคลื่นอินฟราเรดโดยไมตองเสียเวลาในการวาง สายเชื่อมตอระบบ
เครือขายใหหองประชุม
2.5 สัญญาณแสงเลเซอร (Laser beams)
เปนระบบการสื่อสารแบบทางเดียว ผูรับและผูสงสัญญาณขอมูลจึงตองมีอุปกรณทั้งในการรับและสง
ขอมูลดวย จึงจะสามารถสื่อสารไดสองทาง การสงขอมูลดวยแสงเลเซอรมีราคาถูกและชวงความกวางของ
ชองสัญญาณสูงมาก เมื่อเทียบกับการใชสัญญาณไมโครเวฟ ลําแสงเลเซอรมีขนาดเสนผาศูนยกลางเพียง 1
มิลลิเมตร อุปกรณรับสัญญาณมีขนาดโตกวาเพียงเล็กนอย การติดตั้งอุปกรณรับ-สงสัญญาณ ตองเปนผูที่มี
ความละเอียด ขอเสียของลําแสงเลเซอรคือ ไมสามารถสองผานสายฝนหรือหมอกหนา ๆ ไดรวมทั้งคลื่นความ
รอนจากแสงแดดอาจทําใหแสงเลเซอรเกิดการหักเหได เชนการสงสัญญาณแสงเลเซอรระหวางอาคาร เปนตน
อางอิง
บทที่ 4 ระบบเครือขายและการสื่อสาร[ออนไลน]. แหลงที่มา.
http://flukeloveskb.blogspot.com/2012/06/4.html

Mais conteúdo relacionado

Destaque

ปัญหาและความจำเป็น2
ปัญหาและความจำเป็น2ปัญหาและความจำเป็น2
ปัญหาและความจำเป็น2Suttipa Kamsai
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาPrawwe Papasson
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155nantakit
 
บันทึกการเจรจาครั้งที่ 2
บันทึกการเจรจาครั้งที่ 2 บันทึกการเจรจาครั้งที่ 2
บันทึกการเจรจาครั้งที่ 2 Saatunion
 
Gestión del Riesgo Corporativo
Gestión del Riesgo CorporativoGestión del Riesgo Corporativo
Gestión del Riesgo CorporativoFCGroup
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ptwnice01
 
Nutnpor 30
Nutnpor 30Nutnpor 30
Nutnpor 30nutnpor
 
ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8PluemSupichaya
 
Presentation1ssssssssssss
Presentation1ssssssssssssPresentation1ssssssssssss
Presentation1ssssssssssssNeys Swift
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ sudarat248
 
Key onet m6_english_53
Key onet m6_english_53Key onet m6_english_53
Key onet m6_english_53Miewz Tmioewr
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์nutnpor
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nantakit
 
การศ กษาและค นคว_าอ_สละ
การศ กษาและค นคว_าอ_สละการศ กษาและค นคว_าอ_สละ
การศ กษาและค นคว_าอ_สละNuumint
 
5 solucion de ecuaciones diferenciales
5 solucion de ecuaciones diferenciales5 solucion de ecuaciones diferenciales
5 solucion de ecuaciones diferencialesmorenito9001
 

Destaque (18)

ปัญหาและความจำเป็น2
ปัญหาและความจำเป็น2ปัญหาและความจำเป็น2
ปัญหาและความจำเป็น2
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155งานนำเสนอ155
งานนำเสนอ155
 
บันทึกการเจรจาครั้งที่ 2
บันทึกการเจรจาครั้งที่ 2 บันทึกการเจรจาครั้งที่ 2
บันทึกการเจรจาครั้งที่ 2
 
ข่าวIt
ข่าวItข่าวIt
ข่าวIt
 
Gestión del Riesgo Corporativo
Gestión del Riesgo CorporativoGestión del Riesgo Corporativo
Gestión del Riesgo Corporativo
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Manoel rodrigues de andrade lima árvore
Manoel rodrigues de andrade lima   árvoreManoel rodrigues de andrade lima   árvore
Manoel rodrigues de andrade lima árvore
 
Nutnpor 30
Nutnpor 30Nutnpor 30
Nutnpor 30
 
ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8
 
Presentation1ssssssssssss
Presentation1ssssssssssssPresentation1ssssssssssss
Presentation1ssssssssssss
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Key onet m6_english_53
Key onet m6_english_53Key onet m6_english_53
Key onet m6_english_53
 
Pausa ppp
Pausa pppPausa ppp
Pausa ppp
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การศ กษาและค นคว_าอ_สละ
การศ กษาและค นคว_าอ_สละการศ กษาและค นคว_าอ_สละ
การศ กษาและค นคว_าอ_สละ
 
5 solucion de ecuaciones diferenciales
5 solucion de ecuaciones diferenciales5 solucion de ecuaciones diferenciales
5 solucion de ecuaciones diferenciales
 

Semelhante a สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล

คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003Peerapas Trungtreechut
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟPram Pu-ngoen
 
คลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟคลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟPeerapas Trungtreechut
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11paween
 
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403Supanut Maiyos
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402Pitchayanis Kittichaovanun
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลnamfonsatsin
 
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405Jutapak Mahapaskorn
 
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูลเทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูลMrpopovic Popovic
 
การถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลการถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลpatcha130
 
การถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลการถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลpatcha130
 
งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4amphaiboon
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkNidzy Krajangpat
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402ANelu Upperyard
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402ANelu Upperyard
 

Semelhante a สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล (20)

Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟ
 
คลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟคลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟ
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11
 
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
 
WAVEs
WAVEsWAVEs
WAVEs
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
 
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
 
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูลเทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
การถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลการถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูล
 
การถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลการถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูล
 
งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
 

สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล

  • 1. สื่อกลางในการสื่อสารขอมูล ตัวกลางหรือสายเชื่อมโยง เปนสวนที่ทําใหเกิดการเชื่อมตอระหวางอุปกรณตางๆ เขาดวยกัน และ อุปกรณที่ยอมใหขาวสารขอมูลเดินทางผานจากผูสงไปสูผูรับ สื่อกลางที่ใชในการสื่อสารขอมูลมีอยูหลาย ประเภท แตละประเภทมีความแตกตางกันในดานของปริมาณขอมูลที่สื่อกลางนั้นๆ สามารถนําผานไปไดใน เวลาขณะใดขณะหนึ่ง การวัดปริมาณหรือความจุในการนําขอมูลหรือที่เรียกกันวา แบนดวิดธ (bandwidth) มี หนวยเปนจํานวน บิต ขอมูลตอวินาที (bits per second : bps) ลักษณะของตัวกลางตางๆ มีดังตอไปนี้ อุปกรณที่ยอมใหขาวสารขอมูลเดินทางผานจากผูสงไปสูผูรับ สื่อกลางที่ใชในการสื่อสารขอมูลมีอยูหลาย ประเภท แตละประเภทมีความแตกตางกันในดานของปริมาณขอมูลที่สื่อกลางนั้นๆ สามารถนําผานไปไดใน เวลาขณะใดขณะหนึ่ง การวัดปริมาณหรือความจุในการนําขอมูลหรือที่เรียกกันวา แบนดวิดธ (bandwidth) มี หนวยเปนจํานวน บิต ขอมูลตอวินาที (bits per second : bps) ลักษณะของตัวกลางตางๆ มีดังตอไปนี้ 1. สื่อกลางประเภทมีสาย 2. สื่อกลางประเภทไมมีสาย 1 สื่อกลางประเภทมีสาย 1) สายคูบิดเกลียว (Twisted – Pair Cable) สายคูบิดเกลียวประกอบดวยสายทองแดง ที่หุมดวย ฉนวนพลาสติก หลังจากนั้นก็นําสายทั้งสองมาถักกันเปนเกลียวคู เชน สายคูบิดเกลียวที่ใชกับเครือขายทองถิ่น (CAT5) การนําสายมาถักเปนเกลียวเพื่อชวยลดการแทรกแซงจากสัญญาณรบกวนสายคูบิดเกลียวมีอยู 2 รูปแบบ คือ สายคูบิดเกลียวแบบไมมีชีลด และแบบมีชิลด สายคูบิดเกลียวแบบไมมีชีลด (Unshielded Twisted –Pair Cable :UTP นิยมใชงานมากในปจจุบันมีลักษณะคลายกับสายโทรศัพทบานไมมีการหุมฉนวนมีแตการบิดเกลียวอยางเดียว
  • 2. 1.1 สายคูบิดเกลียวแบบมีชิลด (Shielded Twisted –Pair Cable :STP) สําหรับสายSTP คลายกับสาย UTP แตสาย STP จะมีชิลดหอหุมอีกชั้นหนึ่ง ทําใหปองกันสัญญาณ รบกวนไดดีกวาสาย UTP ขอดี 1) ราคาถูก 2) มีน้ําหนักเบา 3) งายตอการใชงาน ขอเสีย 1) มีความเร็วจํากัด 2) ใชกับระยะทางสั้นๆ 1.2 สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) สายมักทําดวยทองแดงอยูแกนกลาง ซึ่งสายทองแดงจะถูกหอหุมดวยพลาสติก จากนั้นก็จะมีชิลด หอหุมอีกชั้นหนึ่งเพื่อปองกันสัญญาณรบกวน และหุมดวยเปลือกนอกอีกชั้นหนึ่งปองกันสัญญาณรบกวนจาก คลื่นแมเหล็กไฟฟาไดดี สายโคแอกเชียลที่เห็นไดทั่วๆไป คือ สายที่นํามาใชตอเขากับเสาอากาศทีวีที่ใชตาม บาน
  • 3. ขอดี 1) เชื่อมตอไดในระยะไกล 2) ปองกันสัญญาณรบกวนไดดี ขอเสีย 1) มีราคาแพง 2) สายมีขนาดใหญ 3) ติดตั้งยาก 1.3 สายไฟเบอรออปติค (Optical Fiber) สายไฟเบอรออปติคหรือสายใยแกวนําแสง เปนสายที่มีลักษณะโปรงแสง มีรูปทรงกระบอกในตัว ขนาดประมาณเสนผมของมนุษยแตมีขนาดเล็ก สายไฟเบอรออปติค แบงเปน 3 ชนิด 1) Multimode step –index fiber จะสะทอนแบบหักมุม 2) Multimode graded –index มีลักษณะคลายคลื่น 3) Single mode fiber เปนแนวตรง ขอดี 1) มีขนาดเล็กน้ําหนักเบา 2) มีความปลอดภัยในการสงขอมูล 3) มีความทนทานและมีอายุการใชงานยาวนาน
  • 4. ขอเสีย 1) เสนใยแกวมีความเปราะบาง แตกหักงาย 2) มีราคาสูง เมื่อเทียบกับสายเคเบิลทั่วไป 3) การติดตั้งจําเปนตองพึ่งพาผูเชี่ยวชาญเฉพาะ 2. สื่อกลางประเภทไมมีสาย สื่อที่ไมใชสาย สื่อประเภทนี้เปนระบบตัวกลางที่สงเปนคลื่นวิทยุ เชน อากาศที่เราใชสงคลื่นวิทยุ คลื่น ไมโครเวฟ (Microwave) รวมทั้งการสื่อสารผานดาวเทียม 2.1 ดาวเทียม การใชดาวเทียมสําหรับการสงขอมูลแบบดิจิตอลก็เหมือนกับการสงแบบไมโครเวฟนั่นเองคะ ดาวเทียมนั้นจะตองรับและสงสัญญาณแบบสันตรง ดาวเทียมจะชวยสงสัญญาณในระยะไกลซึ่งทําไดมากขึ้นใน ลักษณะของการขามภูมิภาค ขามทวีป ซึ่งสัญญาณไมโครเวฟนั้นไมสามารถทําไดเนื่องจาก ดาวเทียมนั้นจะมี ฟุตพริ้น(Footprint) สําหรับฟุตพริ้น(Footprint) ก็คือจํานวนพื้นที่บนผิวโลกที่ดาวเทียมหนึ่งครอบคลุมการสง สัญญาณไดนั่นเองคะ ในปจจุบันนี้มีการใชสัญญาณดาวเทียมที่โคจรแบงออกเปน 3 ประเภท ก็คือ ดาวเทียมแบบจีอีโอ (Geostationary Earth Orbit : GEO) ดาวเทียมชนิดนี้ จะเหมาะกับการสง สัญญาณโทรทัศน ดาวเทียมแบบโคจรระดับกลาง (Medium Earth Orbit : MEO) ดาวเทียมชนิดนี้ในการโคจรจะ โนมเอียงไปยังสนศูนยสูตรนั่นเอง ดาวเทียมแบบระดับต่ํา (Low Earth Orbit : LEO) ดาวเทียมชนิดนี้จํานวนมากสามารถครอบคลุม การสงสัญญาณบนโลกใหทั่วถึงได ที่จริงดาวเทียมก็คือสถานีไมโครเวฟลอยฟานั่นเอง ซึ่งทําหนาที่ขยายและทบทวนสัญญาณขอมูล รับ
  • 5. และสงสัญญาณขอมูลกับสถานีดาวเทียมที่อยูบนพื้นโลก สถานีดาวเทียมภาคพื้นจะทําการสงสัญญาณขอมูล ไปยังดาวเทียมซึ่งจะหมุนไปตามการหมุนของโลกซึ่งมีตําแหนงคงที่เมื่อเทียมกับตําแหนงบนพื้นโลก ดาวเทียม จะถูกสงขึ้นไปใหลอยอยูสูงจากพื้นโลก เครื่องทบทวนสัญญาณของดาวเทียม (Transponder) จะรับสัญญาณ ขอมูลจากสถานีภาคพื้นซึ่งมีกําลังออนลงมากแลวมาขยาย จากนั้นจะทําการทบทวนสัญญาณ และตรวจสอบ ตําแหนงของสถานีปลายทาง แลวจึงสงสัญญาณขอมูลไปดวยความถี่ในอีกความถี่หนึ่งลงไปยังสถานีปลายทาง การสงสัญญาณขอมูลขึ้นไปยังดาวเทียมเรียกวา "สัญญาณอัปลิงก" (Up-link) และการสงสัญญาณขอมูลก็จะ กลับลงมายังพื้นโลกเรียกวา "สัญญาณ ดาวน-ลิงก (Down-link) ลักษณะของการรับสงสัญญาณขอมูลอาจจะ เปนแบบจุดตอจุด (Point-to-Point) หรือแบบแพรสัญญาณ นั่นเอง ขอดี-ขอเสีย ของการสงสัญญาณแบบดาวเทียม ขอดี การสงขอมูลหรือการสงสัญญาณแบบดาวเทียมจะสามรถรับ-สง ขอมูลไดเร็ว สะดวกตอการ ติดตอสื่อสาร และสามารถสงขอมูลไดในระยะทางที่ไกล ขอเสีย การสงสัญญาณขอมูลทางดาวเทียมก็คือระบบดาวเทียมนั้น คลายกับไมโครเวฟ คือ อาจจะ ถูก กระทบโดยสภาพอากาศ ดังนั้น มีการลาชาของสัญญาณในการสงขอมูลแตละชวง ดังนั้นการเชื่อมโยงขอมูล จัดการกับปญหาความลาชา สัญญาณขอมูลสามารถถูกรบกวนจากสัญญาณ ภาคพื้นอื่น ๆ ได อีก ในการสง สัญญาณเนื่องจากระยะทางขึ้น-ลง ของสัญญาณ และที่สําคัญคือ มีราคาสูงในการลงทุนทําใหคาบริการสูงตาม ขึ้นมา 2.2 คลื่นวิทยุ
  • 6. คลื่นวิทยุที่กระจายออกจากสายอากาศ จะเดินทางไปทุกทิศทาง ในทุกระนาบ การกระจายคลื่นนี้มี ลักษณะเปนการขยายตัวของพลังงานออกเปนทรงกลม ถาจะพิจารณาในสวนของพื้นที่แทนหนาคลื่นจะเห็นได วามันพุงออกไปเรื่อย ๆ จากจุดกําเนิด และสามารถเขียนแนวทิศทางเดินของหนาคลื่นไดดวยเสนตรงหรือเสน รังสี เสนรังสีที่ลากจากสายอากาศออกไปจะทํามุมกับระนาบแนวนอน มุมนี้เรียกวา มุมแผคลื่น อาจมีคาเปน บวก ( มุมเงย ) หรือมีคาเปนลบ ( มุมกดลง ) ก็ได มุมของการแผคลื่นนี้อาจนํามาใชเปนตัวกําหนดประเภท ของคลื่นวิทยุได โดยทั่วไปคลื่นวิทยุอาจแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ คลื่นดิน (GROUND WAVE ) กับ คลื่นฟา (SKY WAVE ) พลังงานคลื่นวิทยุสวนใหญจะเดินทางอยูใกล ๆ ผิวโลกหรือเรียกวาคลื่นดิน ซึ่งคลื่นนี้ จะเดินไปตามสวนโคงของโลก คลื่นอีกสวนที่ออกจากสายอากาศ ดวยมุมแผคลื่นเปนคาบวก จะเดินทางจาก พื้นโลกพุงไปยังบรรยากาศจนถึงชั้นเพดานฟาและจะสะทอนกลับลงมายังโลกนี้เรียกวา คลื่นฟา ผลของ คลื่นวิทยุที่มีตอรางกาย คลื่นวิทยุสามารถทะลุเขาไปในรางกายมนุษยไดลึกประมาณ 1/10 ของความยาวคลื่นที่ตกกระทบ และอาจทําลายเนื้อเยื่อของอวัยวะภายในบางชนิดได ผลการทําลายจะมากหรือนอย ขึ้นอยูกับความเขม ชวงเวลาที่รางกายไดรับคลื่นและชนิดของเนื้อเยื่อ อวัยวะที่มีความไวตอคลื่นวิทยุ ไดแก นัยนตา ปอด ถุงน้ําดี กระเพาะปสสาวะ อัณฑะ และบางสวนของระบบทางเดินอาหาร โดยเฉพาะนัยนตา และอัณฑะ เปนอวัยวะที่ ออนแอที่สุดเมื่อไดรับคลื่นวิทยุชวงไมโครเวฟ คลื่นวิทยุชวงความถี่ตาง ๆ อาจมีผลตอรางกายดังนี้ 1. คลื่นวิทยุที่มีความถี่นอยกวา 150 เมกะเฮิรตซ (มีความยาวคลื่นมากกวา 2 เมตร) คลื่นจะทะลุผาน รางกายโดยไมกอใหเกิดผลใด ๆ เนื่องจากไมมีการดูดกลืนพลังงานของคลื่นไว รางกายจึงเปรียบเสมือนเปน วัตถุโปรงใสตอคลื่นวิทยุชวงนี้ 2. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหวาง 150 เมกะเฮิรตซ ถึง 1.2 จิกะเฮิรตซ (มีความยาวคลื่นระหวาง 2.00 ถึง 0.25 เมตร) คลื่นวิทยุชวงนี้สามารถทะลุผานเขาไปในรางกายไดลึกประมาณ 2.5 ถึง 20 เซนติเมตร เนื้อเยื่อของอวัยวะภายในบริเวณนั้นจะดูดกลืนพลังงานของคลื่นไวถึงรอยละ 40 ของพลังงานที่ตกกระทบ ทํา ใหเกิดความรอนขึ้นในเนื้อเยื่อ โดยที่รางกายไมสามารถรูสึกได ถารางกายไมสามารถกระจายความรอนออกไป ในอัตราเทากับที่รับเขามา อุณหภูมิหรือระดับความรอนของรางกายจะสูงขึ้น เปนอันตรายอยางยิ่งตอรางกาย ความรอนในรางกายที่สูงกวาระดับปกติอาจกอใหเกิดผลหลายประการ เชน - เลือดจะแข็งตัวชากวาปกติ ผลอันนี้ถามีการเสียเลือดเกิดขึ้น อาการจะมีความรุนแรง - การหมุนเวียนของเลือดเร็วขึ้น - ฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดงจะมีความจุออกซิเจนลดลง ทําใหเลือดมีออกซิเจนไมเพียงพอเลี้ยง เนื้อเยื่อตาง ๆ เมื่อเนื้อเยื่อขาดออกซิเจนจะทําใหเซลลสมอง ระบบประสาทสวนกลางและอวัยวะภายในขาด ออกซิเจนดวย อาจทําใหมีการกระตุกของกลามเนื้อจนถึงชัก ถาสภาพเชนนี้ดําเนินตอไป ผลที่ตามมาก็คือ ไม รูสึกตัวและอาจเสียชีวิตได
  • 7. 3. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหวาง 1-3 จิกะเฮิรตซ (มีความยาวคลื่นระหวาง 30 ถึง 10 เซนติเมตร) ทั้ง ผิวหนังและเนื้อเยื่อลึกลงไปดูดกลืนพลังงานไดราวรอยละ 20 ถึงรอยละ 100 ขึ้นอยูกับชนิดของเนื้อเยื่อ คลื่นวิทยุเชนนี้เปนอันตรายอยางยิ่งตอนัยนตา โดยเฉพาะเลนสตาจะมีความไวเปนพิเศษตอคลื่นวิทยุความถี่ ประมาณ 3 จิกะเฮิรตซ เพราะเลนสตามีความแตกตางจากอวัยวะอื่นตรงที่ไมมีเลือดมาหลอเลี้ยงและไมมี กลไกซอมเซลล ดังนั้นเมื่อนัยนตาไดรับคลื่นอยางตอเนื่องจะทําใหของเหลวภายในตามีอุณหภูมิสูงขึ้น โดยไม สามารถถายโอนความรอนเพื่อใหอุณหภูมิลดลงไดเหมือนเนื้อเยื่อของอวัยวะอื่น ๆ จึงจะกอใหเกิดอันตราย อยางรุนแรงตามมา พบวาถาอุณหภูมิของตาสูงขึ้นเซลลเลนสตาบางสวนอาจถูกทําลายอยางชา ๆ ทําใหความ โปรงแสงของเลนสตาลดลง ตาจะขุนลงเรื่อย ๆ ในที่สุดจะเกิดเปนตอกระจก สายตาผิดปกติ และสุดทายอาจ มองไมเห็น 4. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหวาง 3-10 จิกะเฮิรตซ (มีความยาวคลื่นระหวาง 10 ถึง 3 เซนติเมตร) ผิวหนังชั้นบนสามารถดูดกลืนพลังงานมากที่สุด เราจะรูสึกวาเหมือนกับถูกแสงอาทิตย 5. คลื่นวิทยุที่มีความถี่สูงกวา 10 จิกะเฮิรตซ (มีความยาวคลื่นนอยกวา 3 เซนติเมตร) ผิวหนังจะ สะทอนใหกลับออกไป โดยมีการดูดกลืนพลังงานเล็กนอย ขอดี : ติดตั้งเพื่อเชื่อมโยงการติดตอไดสะดวก เพียงตออุปกรณเครื่องรับ-สงวิทยุกับอุปกรณ คอมพิวเตอร แลวตรวจสอบความเรียบรอยของระบบก็สามารถจะสื่อสารขอมูลทั้งภายในและภายนอกอาคาร ได เนื่องจากในการสื่อสารดวยระบบวิทยุจะมีระบบความพรอมกอนทําการรับสงขอมูล จึงไมคอยมีปญหาเรื่อง สัญญาณรบกวน ขอเสีย : มีอัตราเร็วในการสงขอมูลต่ํา นอกจากนี้ยังตองทําการขออนุญาตใชความถี่วิทยุกับ กรมไปรษณียโทรเลขเสียกอน สําหรับคาใชจายในเรื่องของอุปกรณสื่อสารนั้นคอนขางจะมีราคาแพงกวาการ สื่อสารดวยสายสัญญาณ 2.3 ไมโครเวฟ (Microwave) สัญญาณคลื่นความถี่ประมาณ 100 เมกะเฮิรตซ เดินทางเปนเสนตรง ทําใหสามารถปรับทิศทางการ สงไดแนนอน การบีบสัญญาณสงใหเปนลําแคบ ๆ จะทําใหมีพลังงานสูง สัญญาณรบกวนต่ํา การปรับจานรับ และจานสงสัญญาณใหตรงกันพอดี จะทําใหสามารถสงสัญญาณไดหลายความถี่ไปในทิศทางเดียวกันได โดยไม รบกวนกัน ขอเสียคือ คลื่นไมโครเวฟไมสามารถเดินผานวัตถุที่กีดขวางได สัญญาณอาจเกิดการหักเหในระหวาง เดินทางทําใหมาถึงจาน รับสัญญาณชากวาปกติและสัญญาณบางสวนอาจสูญหายได เรียกวาเกิด “multipath fading” จากสภาพภูมิอากาศ และความถี่สัญญาณ คลื่นความถี่ตั้งแต 8 กิกะเฮิรตซขึ้นไป จะถูกดูดซึมโดยพื้น น้ํา หรือเมื่อผานพายุฝนเพราะมีความยาวคลื่นเพียงไมกี่เซนติเมตร การตั้งสถานีรับ-สงสัญญาณไมโครเวฟ (relay station) สามารถตั้งใหอยูหางกันไดถึง 30-50 กิโลเมตร นิยมนํามาใชในธุรกิจ งานใหบริการเชน
  • 8. โทรศัพททางไกล โทรศัพทมือถือ การแพรภาพโทรทัศน เปนตน เพื่อหลีกเลี่ยงการวางสายเคเบิล ระบบ ไมโครเวฟจึงมีราคาถูกกวาระบบอื่น 2.4 คลื่นอินฟราเรดและคลื่นสั้น (Infrared and millimeter wave) นิยมใชสําหรับการสื่อสารระยะใกล คุณสมบัติของคลื่นคือ เดินทางเปนแนวตรง ราคาถูก และงายตอ การผลิตใชงานแตไมสามารถเดินทางผานวัตถุหรือสิ่งกีดขวางได เชน รีโมทสําหรับควบคุมวิทยุ วิดีโอโทรทัศน เครื่องเลนบังคับตาง ๆ เปนตน สามารถใชคลื่นอินฟราเรดเพื่อการสื่อสารในระบบเครือขายทองถิ่น (LAN) ได ดี เพราะคุณสมบัติของคลื่นที่ไมสามารถเดินทาง ผานสิ่งกีดขวางได การใชระบบเครือขายในหองทํางานที่มี อุปกรณใชคลื่นอินฟราเรดในการรับ-สงสัญญาณแบบหลาย ทิศทางติดตั้งอยู ทําใหสะดวกตอการใชเครื่อง คอมพิวเตอรแบบพกพาซึ่งใชอุปกรณรับ-สงดวยคลื่นอินฟราเรด สามารถติดตอกับระบบเครือขายของ สํานักงานได และยังนําคุณสมบัติของคลื่นอินฟราเรดไปใชในการจัดประชุม ทุกคนสามารถสื่อสารขอมูลดวย เครื่องคอมพิวเตอร ผานอุปกรณสื่อสารคลื่นอินฟราเรดโดยไมตองเสียเวลาในการวาง สายเชื่อมตอระบบ เครือขายใหหองประชุม 2.5 สัญญาณแสงเลเซอร (Laser beams) เปนระบบการสื่อสารแบบทางเดียว ผูรับและผูสงสัญญาณขอมูลจึงตองมีอุปกรณทั้งในการรับและสง ขอมูลดวย จึงจะสามารถสื่อสารไดสองทาง การสงขอมูลดวยแสงเลเซอรมีราคาถูกและชวงความกวางของ ชองสัญญาณสูงมาก เมื่อเทียบกับการใชสัญญาณไมโครเวฟ ลําแสงเลเซอรมีขนาดเสนผาศูนยกลางเพียง 1 มิลลิเมตร อุปกรณรับสัญญาณมีขนาดโตกวาเพียงเล็กนอย การติดตั้งอุปกรณรับ-สงสัญญาณ ตองเปนผูที่มี ความละเอียด ขอเสียของลําแสงเลเซอรคือ ไมสามารถสองผานสายฝนหรือหมอกหนา ๆ ไดรวมทั้งคลื่นความ รอนจากแสงแดดอาจทําใหแสงเลเซอรเกิดการหักเหได เชนการสงสัญญาณแสงเลเซอรระหวางอาคาร เปนตน อางอิง
  • 9. บทที่ 4 ระบบเครือขายและการสื่อสาร[ออนไลน]. แหลงที่มา. http://flukeloveskb.blogspot.com/2012/06/4.html