SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 9
Baixar para ler offline
โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระภาษาไทย



สาระพืนฐาน
      ้
ท 31101 ภาษาไทย 1       หน่วยกิต   1.0 หน่วยกิต   2   ชัวโมง/สัปดาห์
                                                        ่
ท 31102 ภาษาไทย 2       หน่วยกิต   1.0 หน่วยกิต   2   ชัวโมง/สัปดาห์
                                                          ่
ท 32103 ภาษาไทย 3       หน่วยกิต   1.0 หน่วยกิต   2   ชัวโมง/สัปดาห์
                                                            ่
ท 32104 ภาษาไทย 4       หน่วยกิต   1.0 หน่วยกิต   2   ชัวโมง/สัปดาห์
                                                              ่
ท 33105 ภาษาไทย 5       หน่วยกิต   1.0 หน่วยกิต   2   ชัวโมง/สัปดาห์
                                                                ่
ท 33106 ภาษาไทย 6       หน่วยกิต   1.0 หน่วยกิต   2   ชัวโมง/สัปดาห์
                                                                  ่

สาระเพิมเติม
       ่
ท 30201 การใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร จานวน 1.5 หน่วยกิต          60 ชัวโมง
                                                                     ่
ท 30202 การอ่านวรรณกรรมยอดเยียม จานวน 1.5 หน่วยกิต
                                 ่                             60 ชัวโมง
                                                                       ่
ท 30203 ภาษาไทยเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์ จานวน 1.5 หน่วยกิต      60 ชัวโมง ่
ท 30204 ภาษาไทยที่ใช้ในสื่ อมวลชน จานวน 1.5 หน่วยกิต           60 ชัวโมง   ่
ท 30205 ศิลปะการเขียนร้อยกรอง       จานวน 1.5 หน่วยกิต        60 ชัวโมง
                                                                   ่
ท 30206 การพิจารณาคุณค่างานประพันธ์ จานวน 1.5 หน่วยกิต          60 ชัวโมง    ่
คาอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระภาษาไทย สาระพื้นฐาน
  ้
ชันมัธยมศึกษาตอนปลาย
ท 31101 ภาษาไทย 1            จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้องไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่ องที่
อ่าน ตีความ แปลความ และขยายความจากเรื่ องที่อ่าน วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่ องที่อ่านในทุกๆ ด้านอย่างมี
เหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่านและประเมินค่าเพือนาความรู ้ ความคิดไปใช้ตดสินใจแก้ปัญหาในการ
                                                              ่                       ั
ดาเนินชีวต วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งกับเรื่ องที่อ่าน และเสนอความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล
          ิ
ตอบคาถามจากการอ่านประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่กาหนด อ่านเรื่ องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด
บันทึก ย่อความ และรายงาน สังเคราะห์ความรู ้จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งเรี ยนรู ้ต่างๆ
มาพัฒนาตน พัฒนาการเรี ยน และพัฒนาความรู ้ทางอาชีพ มีมารยาทในการอ่าน
                 เขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรี ยบเรี ยงถูกต้อง มีขอมูล ้
และสาระสาคัญชัดเจน เขียนเรี ยงความ เขียนย่อความจากสื่อที่มีรูปแบบ และเนื้อหาหลากหลาย ผลิตงานเขียน
ของตนเองในรู ปแบบต่างๆ ประเมินงานเขียนของผูอื่น แล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเอง เขียนรายงาน
                                                    ้
การศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ขอมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง บันทึก
                                                                       ้
การศึกษาค้นคว้า เพือนาไปพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ มีมารยาทในการเขียน
                     ่
                 สรุ ปแนวคิด และแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา และ
ความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล ประเมินเรื่ องที่ฟังและดูแล้วกาหนดแนวทางนาไประยุกต์ใช้
ในการดาเนินชีวต มีวจารณญาณในการเลือกเรื่ องที่ฟังและดู พูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้ม
                ิ ิ
น้าวใจและเสนอแนวคิดใหม่ ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด อธิบาย
ธรรมชาติของภาษาพลังของภาษา และลักษณะของภาษา ใช้คาและกลุ่มคา สร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์
ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคาราชาศัพท์อย่างเหมาะสม แต่งบทร้อยกรอง
วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น อธิบายและวิเคราะห์หลักการสร้างคาในภาษาไทย
วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
                 วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น วิเคราะห์ลกษณะ      ั
เด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของสังคมในอดีตวิเคราะห์และประเมิน
                                                                         ิ
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ สังเคราะห์
ข้อคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรมเพือนาไปประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้าน และอธิบาย
                                        ่                        ิ
ภูมิปัญญาทางภาษา ท่องจาและบอกคุณค่า
บทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจและนาไปใช้อางอิง             ้
มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 –
ม.6)
ท 31102 ภาษาไทย 2            จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                  อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้องไพเราะและเหมาะสมกับเรื่ องที่อ่าน
ตีความ แปลความ และขยายความจากเรื่ องที่อ่าน วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่ องที่อ่านในทุกๆ ด้านอย่างมีเหตุผล
คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่านและประเมินค่าเพือนาความรู ้ ความคิดไปใช้ตดสินใจแก้ปัญหาในการดาเนิน
                                                      ่                          ั
ชีวต วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งกับเรื่ องที่อ่าน และเสนอความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล ตอบ
    ิ
คาถามจากการอ่านประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่กาหนด อ่านเรื่ องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด
บันทึก ย่อความ และรายงาน สังเคราะห์ความรู ้จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งเรี ยนรู ้ต่างๆ
มาพัฒนาตน พัฒนาการเรี ยน และพัฒนาความรู ้ทางอาชีพ มีมารยาทในการอ่าน
                  เขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรี ยบเรี ยงถูกต้อง มีขอมูล้
และสาระสาคัญชัดเจน เขียนเรี ยงความ เขียนย่อความจากสื่อที่มีรูปแบบ และเนื้อหาหลากหลาย ผลิตงานเขียน
ของตนเองในรู ปแบบต่างๆ ประเมินงานเขียนของผูอื่น แล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเอง เขียนรายงาน
                                                    ้
การศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ขอมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง บันทึก
                                                                       ้
การศึกษาค้นคว้า เพือนาไปพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ มีมารยาทในการเขียน
                      ่
                  สรุ ปแนวคิด และแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา และ
ความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล ประเมินเรื่ องที่ฟังและดูแล้วกาหนดแนวทางนาไประยุกต์ใช้
ในการดาเนินชีวต มีวจารณญาณในการเลือกเรื่ องที่ฟังและดู พูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้ม
                 ิ ิ
น้าวใจและเสนอแนวคิดใหม่ ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด อธิบาย
ธรรมชาติของภาษาพลังของภาษา และลักษณะของภาษา ใช้คาและกลุ่มคา สร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์
ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคาราชาศัพท์อย่างเหมาะสม แต่งบทร้อยกรอง
วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น อธิบายและวิเคราะห์หลักการสร้างคาในภาษาไทย
วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
                  วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น วิเคราะห์ลกษณะ     ั
เด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของสังคมในอดีตวิเคราะห์และประเมิน
                                                                         ิ
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ สังเคราะห์
ข้อคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรมเพือนาไปประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้าน และอธิบาย
                                        ่                        ิ
ภูมิปัญญาทางภาษา ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ
และนาไปใช้อางอิง
               ้
มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 –
ม.6)
ท 32103             ภาษาไทย          จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                    การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย บทร้อยแก้วประเภทต่างๆ ได้แก่บทความ นวนิยาย และ
ความเรี ยง บทร้อยกรอง ได้แก่โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่ าย และลิลิต การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆได้แก่
ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่ องสั้น นวนิยาย
วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรี ยน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาทเทศนา
คาบรรยาย คาสอน บทร้อยกรองร่ วมสมัย บทเพลงบทอาเศียรวาท คาขวัญ มารยาทในการอ่าน
                    การเขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้แก่อธิบาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ โต้แย้ง
โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกิจธุระ โครงการและรายงานการดาเนินโครงการ รายงานการประชุม
การกรอกแบบรายการต่างๆ การเขียนเรี ยงความ การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ ได้แก่กวีนิพนธ์ และวรรณคดี
เรื่ องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน การเขียนในรู ปแบบต่างๆ เช่น สารคดี
บันเทิงคดี การประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่างๆ เช่น แนวคิดของผูเ้ ขียน การใช้ถอยคา การเรี ยบเรี ยง
                                                                                    ้
สานวนโวหาร กลวิธีในการเขียนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การเขียน
บันทึกความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย มีมารยาทในการเขียน
                    การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู การวิเคราะห์แนวคิด การ
ใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ การประเมินเรื่ อง
                                                                                  ิ
ที่ฟังและดูเพือกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสต่างๆ เช่นการพูดต่อที่ประชุมชน การพูด
               ่
อภิปราย การพูดแสดงทรรศนะ การพูดโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
                    ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา เสียงในภาษา ส่วนประกอบของภาษา
องค์ประกอบของพยางค์และคา การใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค คาและสานวน การร้อยเรี ยงประโยค การ
เพิมคา การใช้คา การเขียนสะกดคา ระดับของภาษา คาราชาศัพท์ กาพย์ โคลง ร่ าย และฉันท์ อิทธิพลของ
     ่
ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น หลักการสร้างคาในภาษาไทย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และ สื่อ
อิเล็กทรอนิกส์
                    หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้นได้แก่ จุดมุ่งหมายการแต่ง
วรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณาเนื้อหา
และกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การ
วิเคราะห์ลกษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของ
             ั                                                                              ิ
สังคมในอดีต การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคม
และวัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึงภาษากับวัฒนธรรม และ
ภาษาถิ่น บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า
มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 –
ม.6)
ท 32104             ภาษาไทย          จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                    การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย บทร้อยแก้วประเภทต่างๆ ได้แก่บทความ นวนิยาย และ
ความเรี ยง บทร้อยกรอง ได้แก่โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่ าย และลิลิต การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆได้แก่
ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่ องสั้น นวนิยาย
วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรี ยน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาทเทศนา
คาบรรยาย คาสอน บทร้อยกรองร่ วมสมัย บทเพลงบทอาเศียรวาท คาขวัญ มารยาทในการอ่าน
                    การเขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้แก่อธิบาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ โต้แย้ง
โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกิจธุระ โครงการและรายงานการดาเนินโครงการ รายงานการประชุม
การกรอกแบบรายการต่างๆ การเขียนเรี ยงความ การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ ได้แก่กวีนิพนธ์ และวรรณคดี
เรื่ องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน การเขียนในรู ปแบบต่างๆ เช่น สารคดี
บันเทิงคดี การประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่างๆ เช่น แนวคิดของผูเ้ ขียน การใช้ถอยคา การเรี ยบเรี ยง
                                                                                    ้
สานวนโวหาร กลวิธีในการเขียนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การเขียน
บันทึกความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย มีมารยาทในการเขียน
                    การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู การวิเคราะห์แนวคิด การ
ใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ การประเมินเรื่ อง
                                                                                  ิ
ที่ฟังและดูเพือกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสต่างๆ เช่นการพูดต่อที่ประชุมชน การพูด
               ่
อภิปราย การพูดแสดงทรรศนะ การพูดโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
                    ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา เสียงในภาษา ส่วนประกอบของภาษา
องค์ประกอบของพยางค์และคา การใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค คาและสานวน การร้อยเรี ยงประโยค การ
เพิมคา การใช้คา การเขียนสะกดคา ระดับของภาษา คาราชาศัพท์ กาพย์ โคลง ร่ าย และฉันท์ อิทธิพลของ
     ่
ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น หลักการสร้างคาในภาษาไทย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และ สื่อ
อิเล็กทรอนิกส์
                    หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้นได้แก่ จุดมุ่งหมายการแต่ง
วรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณาเนื้อหา
และกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การ
วิเคราะห์ลกษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของ
             ั                                                                              ิ
สังคมในอดีต การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคม
และวัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึงภาษากับวัฒนธรรม และ
ภาษาถิ่น บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า
มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 –
ม.6)
ท 33105             ภาษาไทย          จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                    การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย บทร้อยแก้วประเภทต่างๆ ได้แก่บทความ นวนิยาย และ
ความเรี ยง บทร้อยกรอง ได้แก่โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่ าย และลิลิต การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆได้แก่
ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่ องสั้น นวนิยาย
วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรี ยน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาทเทศนา
คาบรรยาย คาสอน บทร้อยกรองร่ วมสมัย บทเพลงบทอาเศียรวาท คาขวัญ มารยาทในการอ่าน
                    การเขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้แก่อธิบาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ โต้แย้ง
โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกิจธุระ โครงการและรายงานการดาเนินโครงการ รายงานการประชุม
การกรอกแบบรายการต่างๆ การเขียนเรี ยงความ การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ ได้แก่กวีนิพนธ์ และวรรณคดี
เรื่ องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน การเขียนในรู ปแบบต่างๆ เช่น สารคดี
บันเทิงคดี การประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่างๆ เช่น แนวคิดของผูเ้ ขียน การใช้ถอยคา การเรี ยบเรี ยง
                                                                                    ้
สานวนโวหาร กลวิธีในการเขียนการเขียนรายงาน เชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การเขียน
บันทึกความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย มีมารยาทในการเขียน
                    การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู การวิเคราะห์แนวคิด การ
ใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ การประเมินเรื่ อง
                                                                                  ิ
ที่ฟังและดูเพือกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสต่างๆ เช่นการพูดต่อที่ประชุมชน การพูด
               ่
อภิปราย การพูดแสดงทรรศนะ การพูดโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
                    ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา เสียงในภาษา ส่วนประกอบของภาษา
องค์ประกอบของพยางค์และคา การใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค คาและสานวน การร้อยเรี ยงประโยค การ
เพิมคา การใช้คา การเขียนสะกดคา ระดับของภาษา คาราชาศัพท์ กาพย์ โคลง ร่ าย และฉันท์ อิทธิพลของ
     ่
ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น หลักการสร้างคาในภาษาไทย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และ สื่อ
อิเล็กทรอนิกส์
                    หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้นได้แก่ จุดมุ่งหมายการแต่ง
วรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีใน
วรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์ลกษณะเด่นของ       ั
วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของสังคมในอดีต การวิเคราะห์และ
                                                                     ิ
ประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคมและวัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและ
วรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึงภาษากับวัฒนธรรม และ ภาษาถิ่น บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มี
คุณค่า
มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 –
ม.6)
ท 33106             ภาษาไทย          จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                    การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย บทร้อยแก้วประเภทต่างๆ ได้แก่บทความ นวนิยาย และ
ความเรี ยง บทร้อยกรอง ได้แก่โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่ าย และลิลิต การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆได้แก่
ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่ องสั้น นวนิยาย
วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรี ยน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาทเทศนา คา
บรรยาย คาสอน บทร้อยกรองร่ วมสมัย บทเพลงบทอาเศียรวาท คาขวัญ มารยาทในการอ่าน
                    การเขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้แก่อธิบาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ โต้แย้ง
โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกิจธุระ โครงการและรายงานการดาเนินโครงการ รายงานการประชุม
การกรอกแบบรายการต่างๆ การเขียนเรี ยงความ การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ ได้แก่กวีนิพนธ์ และวรรณคดี
เรื่ องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน การเขียนในรู ปแบบต่างๆ เช่น สารคดี
บันเทิงคดี การประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่างๆ เช่น แนวคิดของผูเ้ ขียน การใช้ถอยคา การเรี ยบเรี ยง
                                                                                    ้
สานวนโวหาร กลวิธีในการเขียนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การเขียน
บันทึกความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย มีมารยาทในการเขียน
                    การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู การวิเคราะห์แนวคิด การ
ใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ การประเมินเรื่ อง
                                                                                  ิ
ที่ฟังและดูเพือกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสต่างๆ เช่นการพูดต่อที่ประชุมชน การพูด
               ่
อภิปราย การพูดแสดงทรรศนะ การพูดโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
                    ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา เสียงในภาษา ส่วนประกอบของภาษา
องค์ประกอบของพยางค์และคา การใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค คาและสานวน การร้อยเรี ยงประโยค การ
เพิมคา การใช้คา การเขียนสะกดคา ระดับของภาษา คาราชาศัพท์ กาพย์ โคลง ร่ าย และฉันท์ อิทธิพลของ
     ่
ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น หลักการสร้างคาในภาษาไทย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และ สื่อ
อิเล็กทรอนิกส์
                    หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้นได้แก่ จุดมุ่งหมายการแต่ง
วรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีใน
วรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์ลกษณะเด่นของ       ั
วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของสังคมในอดีต การวิเคราะห์และ
                                                                     ิ
ประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคมและวัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและ
วรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึงภาษากับวัฒนธรรม และ ภาษาถิ่น บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มี
คุณค่า
มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 –
ม.6)
คาอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรู ้ ภาษาไทย สาระการเพิมเติม
                                                   ่
  ้
ชันมัธยมศึกษาตอนปลาย

ท 40201 การใช้ ภาษาเพื่อการสื่ อสาร จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                การใช้ประโยคซับซ้อนในการเขียนบทความ เรี ยงความ การเขียนเชิงวิชาการ การเขียน
เพื่อความบันเทิง การเลือกใช้ถอยคาในการเขียน การพูด การวางแผนการเขียนและการพูด การคิด
                               ้
ไตร่ ตรองก่อนพูดและเขียน การใช้ภาษาสร้างมนุษยสัมพันธ์การทางาน การใช้ถอยคาสร้างพลัง
                                                                      ้
ความรู้สึก

ท 40202 การอ่ านวรรณกรรมยอดเยียม จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
                                ่
คาอธิบายรายวิชา
              วรรณกรรมประเภทเรื่ องสั้น สารคดี นวนิยาย ที่ได้รับรางวัลยอดเยียม การวิจารณ์
                                                                            ่
วรรณกรรมทางด้านวรรณศิลป์ เนื้ อเรื่ อง การใช้ภาษาในวรรณกรรม คุณค่าทางสังคม ศิลปกรรม และ
แนวความคิดในการดาเนินชีวิต การเขียนบทวิจารณ์ จากการอ่านวรรณกรรมยอดเยี่ยม

ท 40203 ภาษาไทยเพื่อสร้ างมนุษยสั มพันธ์ จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
              การพูดในโอกาสต่าง ๆ ด้วยการใช้ถอยคาและกิริยาท่าทางในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
                                                ้
การเขียนจดหมายส่ วนตัว การเขียนโน้มน้าวใจโดยเลือกใช้ถอยคาสร้างความรู้สึกที่ดี มรรยาทการเขียน
                                                       ้
และการพูดสร้างมนุ ษยสัมพันธ์

ท 40204 ภาษาไทยที่ใช้ ในสื่ อมวลชน
คาอธิบายรายวิชา
              ความหมายของคา ความหมายของประโยคที่ใกล้เคียงหรื อที่ใช้สับสนภาษาใน
สื่ อมวลชน การปรับเปลี่ยนตาแหน่งการขยายประโยค ทาให้ความหมายของประโยคคงเดิมหรื อ
เปลี่ยนไป
ท 40205 ศิลปะการเขียนร้ อยกรอง จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
              ความรู้ในเรื่ องฉันทลักษณ์ ตามลักษณะคาประพันธ์ประเภทกลอน โคลง ร่ าย กาพย์
และฉันท์ การใช้คาศัพท์ในการประพันธ์ และภาษากวี ความคิดและการใช้ถอยคาในการแต่งคา
                                                                    ้
ประพันธ์ การรวบรวมคาประพันธ์ จากวรรณคดี และวรรณกรรมตามรู ปแบบคาประพันธ์


ท 40206 การพิจารณาคุณค่างานประพันธ์ จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                  การแสดงความคิดเห็น การวิเคราะห์ การประเมินค่า การเล่าเรื่ อง การย่อเรื่ อง การ
ถ่ายทอดความคิด ความรู้จากการอ่านวรรณกรรมร้อยแก้ว การเขียนศึกษาค้นคว้า การเลือกใช้ภาษา
เรี ยบเรี ยงข้อความ จดบันทึกข้อมูลนาวิธีการของแผนภาพความคิดประกอบงานเขียนในรู ปแบบต่าง ๆ
การใช้ภาษาแสดงความคิดตามหลักการใช้ภาษา การคิดไตร่ ตรอง และลาดับความคิดในการเขียน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยBoonlert Aroonpiboon
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1kruthirachetthapat
 
กำนดการสอนปี55ม.3
กำนดการสอนปี55ม.3กำนดการสอนปี55ม.3
กำนดการสอนปี55ม.3Nun'Top Lovely LoveLove
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษnang_phy29
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความPensri Sangsuk
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดmouseza
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษวิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษAoyly Aoyly
 
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษรูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษAlis Sopa
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความAj.Mallika Phongphaew
 
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์เล็ก เล็ก
 

Mais procurados (20)

เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
 
กำนดการสอนปี55ม.3
กำนดการสอนปี55ม.3กำนดการสอนปี55ม.3
กำนดการสอนปี55ม.3
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
 
Pan14
Pan14Pan14
Pan14
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษวิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
 
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษรูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
009 รายงาน
009 รายงาน009 รายงาน
009 รายงาน
 

Semelhante a ภาษาไทย ปลาย

Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...aphithak
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายjiratt
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมssusere4367d
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓Mameaw Mameaw
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบปNamfon Wannapa
 

Semelhante a ภาษาไทย ปลาย (20)

Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
Thai 1-3
Thai 1-3Thai 1-3
Thai 1-3
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
10
1010
10
 
Subject Description_Worksheet 2
Subject Description_Worksheet 2Subject Description_Worksheet 2
Subject Description_Worksheet 2
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
 
Ppp+มิ้น+..
Ppp+มิ้น+..Ppp+มิ้น+..
Ppp+มิ้น+..
 
บทที่ ๒.๒
บทที่ ๒.๒บทที่ ๒.๒
บทที่ ๒.๒
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
04 standard+188
04 standard+18804 standard+188
04 standard+188
 
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 

Mais de กลุ่มงาน วิชาการ

Mais de กลุ่มงาน วิชาการ (20)

เกี่ยวกับ
เกี่ยวกับเกี่ยวกับ
เกี่ยวกับ
 
ติดต่อเรา
ติดต่อเราติดต่อเรา
ติดต่อเรา
 
8
88
8
 
7
77
7
 
6
66
6
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
อังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้นอังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้น
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลายสุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้นสุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
สังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้นสังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้น
 
ศิลปะ ปลาย
ศิลปะ ปลายศิลปะ ปลาย
ศิลปะ ปลาย
 
ศิลปะ ต้น
ศิลปะ ต้นศิลปะ ต้น
ศิลปะ ต้น
 
วิทยาศาสตร์ ปลาย
วิทยาศาสตร์  ปลายวิทยาศาสตร์  ปลาย
วิทยาศาสตร์ ปลาย
 
วิทยาศาสตร์ ต้น
วิทยาศาสตร์  ต้นวิทยาศาสตร์  ต้น
วิทยาศาสตร์ ต้น
 
วิชาการงาน ต้น
วิชาการงาน ต้นวิชาการงาน ต้น
วิชาการงาน ต้น
 
คณิตศาสตร์ ปลาย
คณิตศาสตร์ ปลายคณิตศาสตร์ ปลาย
คณิตศาสตร์ ปลาย
 
คณิตศาสตร์ ต้น
คณิตศาสตร์ ต้นคณิตศาสตร์ ต้น
คณิตศาสตร์ ต้น
 
วิชาการงาน ปลาย
วิชาการงาน ปลายวิชาการงาน ปลาย
วิชาการงาน ปลาย
 

ภาษาไทย ปลาย

  • 1. โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระภาษาไทย สาระพืนฐาน ้ ท 31101 ภาษาไทย 1 หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต 2 ชัวโมง/สัปดาห์ ่ ท 31102 ภาษาไทย 2 หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต 2 ชัวโมง/สัปดาห์ ่ ท 32103 ภาษาไทย 3 หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต 2 ชัวโมง/สัปดาห์ ่ ท 32104 ภาษาไทย 4 หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต 2 ชัวโมง/สัปดาห์ ่ ท 33105 ภาษาไทย 5 หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต 2 ชัวโมง/สัปดาห์ ่ ท 33106 ภาษาไทย 6 หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต 2 ชัวโมง/สัปดาห์ ่ สาระเพิมเติม ่ ท 30201 การใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสาร จานวน 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่ ท 30202 การอ่านวรรณกรรมยอดเยียม จานวน 1.5 หน่วยกิต ่ 60 ชัวโมง ่ ท 30203 ภาษาไทยเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์ จานวน 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่ ท 30204 ภาษาไทยที่ใช้ในสื่ อมวลชน จานวน 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่ ท 30205 ศิลปะการเขียนร้อยกรอง จานวน 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่ ท 30206 การพิจารณาคุณค่างานประพันธ์ จานวน 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่
  • 2. คาอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระภาษาไทย สาระพื้นฐาน ้ ชันมัธยมศึกษาตอนปลาย ท 31101 ภาษาไทย 1 จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้องไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่ องที่ อ่าน ตีความ แปลความ และขยายความจากเรื่ องที่อ่าน วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่ องที่อ่านในทุกๆ ด้านอย่างมี เหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่านและประเมินค่าเพือนาความรู ้ ความคิดไปใช้ตดสินใจแก้ปัญหาในการ ่ ั ดาเนินชีวต วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งกับเรื่ องที่อ่าน และเสนอความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล ิ ตอบคาถามจากการอ่านประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่กาหนด อ่านเรื่ องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน สังเคราะห์ความรู ้จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งเรี ยนรู ้ต่างๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรี ยน และพัฒนาความรู ้ทางอาชีพ มีมารยาทในการอ่าน เขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรี ยบเรี ยงถูกต้อง มีขอมูล ้ และสาระสาคัญชัดเจน เขียนเรี ยงความ เขียนย่อความจากสื่อที่มีรูปแบบ และเนื้อหาหลากหลาย ผลิตงานเขียน ของตนเองในรู ปแบบต่างๆ ประเมินงานเขียนของผูอื่น แล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเอง เขียนรายงาน ้ การศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ขอมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง บันทึก ้ การศึกษาค้นคว้า เพือนาไปพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ มีมารยาทในการเขียน ่ สรุ ปแนวคิด และแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา และ ความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล ประเมินเรื่ องที่ฟังและดูแล้วกาหนดแนวทางนาไประยุกต์ใช้ ในการดาเนินชีวต มีวจารณญาณในการเลือกเรื่ องที่ฟังและดู พูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้ม ิ ิ น้าวใจและเสนอแนวคิดใหม่ ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด อธิบาย ธรรมชาติของภาษาพลังของภาษา และลักษณะของภาษา ใช้คาและกลุ่มคา สร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคาราชาศัพท์อย่างเหมาะสม แต่งบทร้อยกรอง วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น อธิบายและวิเคราะห์หลักการสร้างคาในภาษาไทย วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น วิเคราะห์ลกษณะ ั เด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของสังคมในอดีตวิเคราะห์และประเมิน ิ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ สังเคราะห์ ข้อคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรมเพือนาไปประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้าน และอธิบาย ่ ิ ภูมิปัญญาทางภาษา ท่องจาและบอกคุณค่า บทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจและนาไปใช้อางอิง ้ มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 – ม.6)
  • 3. ท 31102 ภาษาไทย 2 จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้องไพเราะและเหมาะสมกับเรื่ องที่อ่าน ตีความ แปลความ และขยายความจากเรื่ องที่อ่าน วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่ องที่อ่านในทุกๆ ด้านอย่างมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่ องที่อ่านและประเมินค่าเพือนาความรู ้ ความคิดไปใช้ตดสินใจแก้ปัญหาในการดาเนิน ่ ั ชีวต วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้งกับเรื่ องที่อ่าน และเสนอความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล ตอบ ิ คาถามจากการอ่านประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่กาหนด อ่านเรื่ องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน สังเคราะห์ความรู ้จากการอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งเรี ยนรู ้ต่างๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรี ยน และพัฒนาความรู ้ทางอาชีพ มีมารยาทในการอ่าน เขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรี ยบเรี ยงถูกต้อง มีขอมูล้ และสาระสาคัญชัดเจน เขียนเรี ยงความ เขียนย่อความจากสื่อที่มีรูปแบบ และเนื้อหาหลากหลาย ผลิตงานเขียน ของตนเองในรู ปแบบต่างๆ ประเมินงานเขียนของผูอื่น แล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเอง เขียนรายงาน ้ การศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ขอมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง บันทึก ้ การศึกษาค้นคว้า เพือนาไปพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ มีมารยาทในการเขียน ่ สรุ ปแนวคิด และแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา และ ความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล ประเมินเรื่ องที่ฟังและดูแล้วกาหนดแนวทางนาไประยุกต์ใช้ ในการดาเนินชีวต มีวจารณญาณในการเลือกเรื่ องที่ฟังและดู พูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้ม ิ ิ น้าวใจและเสนอแนวคิดใหม่ ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด อธิบาย ธรรมชาติของภาษาพลังของภาษา และลักษณะของภาษา ใช้คาและกลุ่มคา สร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคาราชาศัพท์อย่างเหมาะสม แต่งบทร้อยกรอง วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น อธิบายและวิเคราะห์หลักการสร้างคาในภาษาไทย วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น วิเคราะห์ลกษณะ ั เด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของสังคมในอดีตวิเคราะห์และประเมิน ิ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ สังเคราะห์ ข้อคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรมเพือนาไปประยุกต์ใช้ในชีวตจริ ง รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้าน และอธิบาย ่ ิ ภูมิปัญญาทางภาษา ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ และนาไปใช้อางอิง ้ มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 – ม.6)
  • 4. ท 32103 ภาษาไทย จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย บทร้อยแก้วประเภทต่างๆ ได้แก่บทความ นวนิยาย และ ความเรี ยง บทร้อยกรอง ได้แก่โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่ าย และลิลิต การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆได้แก่ ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่ องสั้น นวนิยาย วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรี ยน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาทเทศนา คาบรรยาย คาสอน บทร้อยกรองร่ วมสมัย บทเพลงบทอาเศียรวาท คาขวัญ มารยาทในการอ่าน การเขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้แก่อธิบาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกิจธุระ โครงการและรายงานการดาเนินโครงการ รายงานการประชุม การกรอกแบบรายการต่างๆ การเขียนเรี ยงความ การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ ได้แก่กวีนิพนธ์ และวรรณคดี เรื่ องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน การเขียนในรู ปแบบต่างๆ เช่น สารคดี บันเทิงคดี การประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่างๆ เช่น แนวคิดของผูเ้ ขียน การใช้ถอยคา การเรี ยบเรี ยง ้ สานวนโวหาร กลวิธีในการเขียนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การเขียน บันทึกความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย มีมารยาทในการเขียน การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู การวิเคราะห์แนวคิด การ ใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ การประเมินเรื่ อง ิ ที่ฟังและดูเพือกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสต่างๆ เช่นการพูดต่อที่ประชุมชน การพูด ่ อภิปราย การพูดแสดงทรรศนะ การพูดโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา เสียงในภาษา ส่วนประกอบของภาษา องค์ประกอบของพยางค์และคา การใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค คาและสานวน การร้อยเรี ยงประโยค การ เพิมคา การใช้คา การเขียนสะกดคา ระดับของภาษา คาราชาศัพท์ กาพย์ โคลง ร่ าย และฉันท์ อิทธิพลของ ่ ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น หลักการสร้างคาในภาษาไทย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และ สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้นได้แก่ จุดมุ่งหมายการแต่ง วรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณาเนื้อหา และกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การ วิเคราะห์ลกษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของ ั ิ สังคมในอดีต การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคม และวัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึงภาษากับวัฒนธรรม และ ภาษาถิ่น บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 – ม.6)
  • 5. ท 32104 ภาษาไทย จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย บทร้อยแก้วประเภทต่างๆ ได้แก่บทความ นวนิยาย และ ความเรี ยง บทร้อยกรอง ได้แก่โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่ าย และลิลิต การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆได้แก่ ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่ องสั้น นวนิยาย วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรี ยน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาทเทศนา คาบรรยาย คาสอน บทร้อยกรองร่ วมสมัย บทเพลงบทอาเศียรวาท คาขวัญ มารยาทในการอ่าน การเขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้แก่อธิบาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกิจธุระ โครงการและรายงานการดาเนินโครงการ รายงานการประชุม การกรอกแบบรายการต่างๆ การเขียนเรี ยงความ การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ ได้แก่กวีนิพนธ์ และวรรณคดี เรื่ องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน การเขียนในรู ปแบบต่างๆ เช่น สารคดี บันเทิงคดี การประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่างๆ เช่น แนวคิดของผูเ้ ขียน การใช้ถอยคา การเรี ยบเรี ยง ้ สานวนโวหาร กลวิธีในการเขียนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การเขียน บันทึกความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย มีมารยาทในการเขียน การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู การวิเคราะห์แนวคิด การ ใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ การประเมินเรื่ อง ิ ที่ฟังและดูเพือกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสต่างๆ เช่นการพูดต่อที่ประชุมชน การพูด ่ อภิปราย การพูดแสดงทรรศนะ การพูดโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา เสียงในภาษา ส่วนประกอบของภาษา องค์ประกอบของพยางค์และคา การใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค คาและสานวน การร้อยเรี ยงประโยค การ เพิมคา การใช้คา การเขียนสะกดคา ระดับของภาษา คาราชาศัพท์ กาพย์ โคลง ร่ าย และฉันท์ อิทธิพลของ ่ ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น หลักการสร้างคาในภาษาไทย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และ สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้นได้แก่ จุดมุ่งหมายการแต่ง วรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณาเนื้อหา และกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การ วิเคราะห์ลกษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของ ั ิ สังคมในอดีต การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคม และวัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึงภาษากับวัฒนธรรม และ ภาษาถิ่น บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 – ม.6)
  • 6. ท 33105 ภาษาไทย จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย บทร้อยแก้วประเภทต่างๆ ได้แก่บทความ นวนิยาย และ ความเรี ยง บทร้อยกรอง ได้แก่โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่ าย และลิลิต การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆได้แก่ ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่ องสั้น นวนิยาย วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรี ยน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาทเทศนา คาบรรยาย คาสอน บทร้อยกรองร่ วมสมัย บทเพลงบทอาเศียรวาท คาขวัญ มารยาทในการอ่าน การเขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้แก่อธิบาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกิจธุระ โครงการและรายงานการดาเนินโครงการ รายงานการประชุม การกรอกแบบรายการต่างๆ การเขียนเรี ยงความ การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ ได้แก่กวีนิพนธ์ และวรรณคดี เรื่ องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน การเขียนในรู ปแบบต่างๆ เช่น สารคดี บันเทิงคดี การประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่างๆ เช่น แนวคิดของผูเ้ ขียน การใช้ถอยคา การเรี ยบเรี ยง ้ สานวนโวหาร กลวิธีในการเขียนการเขียนรายงาน เชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การเขียน บันทึกความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย มีมารยาทในการเขียน การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู การวิเคราะห์แนวคิด การ ใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ การประเมินเรื่ อง ิ ที่ฟังและดูเพือกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสต่างๆ เช่นการพูดต่อที่ประชุมชน การพูด ่ อภิปราย การพูดแสดงทรรศนะ การพูดโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา เสียงในภาษา ส่วนประกอบของภาษา องค์ประกอบของพยางค์และคา การใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค คาและสานวน การร้อยเรี ยงประโยค การ เพิมคา การใช้คา การเขียนสะกดคา ระดับของภาษา คาราชาศัพท์ กาพย์ โคลง ร่ าย และฉันท์ อิทธิพลของ ่ ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น หลักการสร้างคาในภาษาไทย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และ สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้นได้แก่ จุดมุ่งหมายการแต่ง วรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีใน วรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์ลกษณะเด่นของ ั วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของสังคมในอดีต การวิเคราะห์และ ิ ประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคมและวัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและ วรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึงภาษากับวัฒนธรรม และ ภาษาถิ่น บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มี คุณค่า มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 – ม.6)
  • 7. ท 33106 ภาษาไทย จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย บทร้อยแก้วประเภทต่างๆ ได้แก่บทความ นวนิยาย และ ความเรี ยง บทร้อยกรอง ได้แก่โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่ าย และลิลิต การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆได้แก่ ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่ องสั้น นวนิยาย วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรี ยน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาทเทศนา คา บรรยาย คาสอน บทร้อยกรองร่ วมสมัย บทเพลงบทอาเศียรวาท คาขวัญ มารยาทในการอ่าน การเขียนสื่อสารในรู ปแบบต่างๆ ได้แก่อธิบาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว เชิญชวน ประกาศ จดหมายกิจธุระ โครงการและรายงานการดาเนินโครงการ รายงานการประชุม การกรอกแบบรายการต่างๆ การเขียนเรี ยงความ การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ ได้แก่กวีนิพนธ์ และวรรณคดี เรื่ องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบ้าน การเขียนในรู ปแบบต่างๆ เช่น สารคดี บันเทิงคดี การประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่างๆ เช่น แนวคิดของผูเ้ ขียน การใช้ถอยคา การเรี ยบเรี ยง ้ สานวนโวหาร กลวิธีในการเขียนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การเขียน บันทึกความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย มีมารยาทในการเขียน การพูดสรุ ปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็นจากเรื่ องที่ฟังและดู การวิเคราะห์แนวคิด การ ใช้ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่ องที่ฟังและดู การเลือกเรื่ องที่ฟังและดูอย่างมีวจารณญาณ การประเมินเรื่ อง ิ ที่ฟังและดูเพือกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ การพูดในโอกาสต่างๆ เช่นการพูดต่อที่ประชุมชน การพูด ่ อภิปราย การพูดแสดงทรรศนะ การพูดโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ลักษณะของภาษา เสียงในภาษา ส่วนประกอบของภาษา องค์ประกอบของพยางค์และคา การใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค คาและสานวน การร้อยเรี ยงประโยค การ เพิมคา การใช้คา การเขียนสะกดคา ระดับของภาษา คาราชาศัพท์ กาพย์ โคลง ร่ าย และฉันท์ อิทธิพลของ ่ ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น หลักการสร้างคาในภาษาไทย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และ สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้นได้แก่ จุดมุ่งหมายการแต่ง วรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารู ปแบบของวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีใน วรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์ลกษณะเด่นของ ั วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวตของสังคมในอดีต การวิเคราะห์และ ิ ประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคมและวัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและ วรรณกรรม วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึงภาษากับวัฒนธรรม และ ภาษาถิ่น บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มี คุณค่า มาตรฐานที่ ท 1.1.1 – ท 1.1.9 ท 2.1.1 – ท 2.1.8 ท 3.1.1 – ท 3.1.6 ท 4.1.1 – ท 4.1.7 ท 5.1.1 – ท 5.1.6 (ม.4 – ม.6)
  • 8. คาอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรู ้ ภาษาไทย สาระการเพิมเติม ่ ้ ชันมัธยมศึกษาตอนปลาย ท 40201 การใช้ ภาษาเพื่อการสื่ อสาร จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การใช้ประโยคซับซ้อนในการเขียนบทความ เรี ยงความ การเขียนเชิงวิชาการ การเขียน เพื่อความบันเทิง การเลือกใช้ถอยคาในการเขียน การพูด การวางแผนการเขียนและการพูด การคิด ้ ไตร่ ตรองก่อนพูดและเขียน การใช้ภาษาสร้างมนุษยสัมพันธ์การทางาน การใช้ถอยคาสร้างพลัง ้ ความรู้สึก ท 40202 การอ่ านวรรณกรรมยอดเยียม จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง ่ คาอธิบายรายวิชา วรรณกรรมประเภทเรื่ องสั้น สารคดี นวนิยาย ที่ได้รับรางวัลยอดเยียม การวิจารณ์ ่ วรรณกรรมทางด้านวรรณศิลป์ เนื้ อเรื่ อง การใช้ภาษาในวรรณกรรม คุณค่าทางสังคม ศิลปกรรม และ แนวความคิดในการดาเนินชีวิต การเขียนบทวิจารณ์ จากการอ่านวรรณกรรมยอดเยี่ยม ท 40203 ภาษาไทยเพื่อสร้ างมนุษยสั มพันธ์ จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การพูดในโอกาสต่าง ๆ ด้วยการใช้ถอยคาและกิริยาท่าทางในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ ้ การเขียนจดหมายส่ วนตัว การเขียนโน้มน้าวใจโดยเลือกใช้ถอยคาสร้างความรู้สึกที่ดี มรรยาทการเขียน ้ และการพูดสร้างมนุ ษยสัมพันธ์ ท 40204 ภาษาไทยที่ใช้ ในสื่ อมวลชน คาอธิบายรายวิชา ความหมายของคา ความหมายของประโยคที่ใกล้เคียงหรื อที่ใช้สับสนภาษาใน สื่ อมวลชน การปรับเปลี่ยนตาแหน่งการขยายประโยค ทาให้ความหมายของประโยคคงเดิมหรื อ เปลี่ยนไป
  • 9. ท 40205 ศิลปะการเขียนร้ อยกรอง จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ความรู้ในเรื่ องฉันทลักษณ์ ตามลักษณะคาประพันธ์ประเภทกลอน โคลง ร่ าย กาพย์ และฉันท์ การใช้คาศัพท์ในการประพันธ์ และภาษากวี ความคิดและการใช้ถอยคาในการแต่งคา ้ ประพันธ์ การรวบรวมคาประพันธ์ จากวรรณคดี และวรรณกรรมตามรู ปแบบคาประพันธ์ ท 40206 การพิจารณาคุณค่างานประพันธ์ จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การแสดงความคิดเห็น การวิเคราะห์ การประเมินค่า การเล่าเรื่ อง การย่อเรื่ อง การ ถ่ายทอดความคิด ความรู้จากการอ่านวรรณกรรมร้อยแก้ว การเขียนศึกษาค้นคว้า การเลือกใช้ภาษา เรี ยบเรี ยงข้อความ จดบันทึกข้อมูลนาวิธีการของแผนภาพความคิดประกอบงานเขียนในรู ปแบบต่าง ๆ การใช้ภาษาแสดงความคิดตามหลักการใช้ภาษา การคิดไตร่ ตรอง และลาดับความคิดในการเขียน