SlideShare a Scribd company logo
1 of 76
รายงาน
            วิชา องค์การและการจัดการ
                         เรื่อง
         บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด(มหาชน)

                      จัดทาโดย
            1.นายชูศักดิ์ คาทอง       54010915001
           2.นาสาวกรรณิกา ใจยอง 54010915011
           3.นายณรงค์ศักดิ์ คาจันทร์ 54010915036
          4.นางสาวมัลลิกา ภูแซมแสง 54010915097
          5.นางสาวพิมพกานต์ ประทุม 5401091206
         นิสิตชั้นปีที่ 1 คณะการบัญชีและการจัดการ
               สาขาเศรฐศาสตร์ธุรกิจ (BE541)

                         เสนอ
                  อาจารย์ วจนะ ภูผานี
          อาจารย์ประจาวิชาองค์การและการจัดการ


รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาองค์การและการจัดการ
      ภาคเรียนที่ 1        ปีการศึกษา 2554
        มหาวิทยาลัยมาสารคาม
คานา
              รายงานนี้จัดทาขึ้นเพื่อการนาเสนอผลงานทางด้านการศึกษาเป็นการศึกษาหาความรู้นอก
ห้องเรียนโดยการใช่ความรู้ที่มีหาขอมูลที่จะทา รายงานนี้เป็นการจัดทาในเรื่องของ
บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการบริหาร การว่างแผนการทางานของ
บริษัทที่มีขนาดใหญ่และเป็นธุรกิจที่มีความเปิดเผยข้อมูลเพื่อเป็นการสร้างความมั่นคงในเรื่องของการงาน
และยังเป็นบริษัท(มหาชน)จากัดนี้ก็เป็นตัวชี้วัดความมั่นคงของบริษัท บริษัทนี้จัดได้ว่าเป็นการบริหารที่
ครอบคลุมความต้องการของคนในสมัยปัจจุบัน ในเรื่องการบริโภค
              ประชาชนในสมัยนี้เป็นประชาชนที่ทันยุคทันสมัยเดิมตามเทคโนโลยีที่มีนเริ่มที่จะก้าวหน้า
อย่างรวดเร็วและมีการทางานอย่างแข่งขันสูงทาให้ประชาชนทั่วไปต้องใช่ชีวิตอยู่ในความเร่งรีบ ทาให้เกิด
แนวความใหม่ของผู้ผลิต ดั้งนั้นจึงได้เกิดบริษัทต่างๆเพิ่มขึ้นมากมาย บริษัทเกี่ยวกับอาหารก็มีมากมายใน
ปัจจุบัน ในการคิดสิ่งที่ใหม่และรวดเร็วในปัจจุบันจึงได้มีผลิตภัณฑ์ที่รวดเร็วสาหรับคนที่เร่งรีบในการ
ทางานขึ้นมาเพื่อตอบสนองความต้องการ ดั้งนั้นทางบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน)ได้จัดการ
บริหารจัดการในเรื่องของสินค้าอุปโภค บริโภค มากมายและบริษัทในเครืออีกมากมาย
              ดั้งนั้นผู้ที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน)สามารถเข้าศึกษา
เกี่ยวกับเรื่องได้ตามความต้องการ
              หากมีข้อผิดพลาดหรือได้ต้องอภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย




                                                                            คณะผู้จัดทา
สารบัญ

                                                                หน้า
บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน)                          1
ข้อมูลทั่วไป                                                     1
คณะกรรมการบริษัท                                                 7
โครงสร้างการจัดการของบริษัท                                      10
นโยบายการลงทุนและการบริหาร                                       11
กระบวนการผลิตแบบครบวงจร                                          12
มาตรฐานการผลิต                                                   20
กิจการในประเทศไทย                                                21
กิจการในต่างประเทศ                                               29
บริษัทร่วม                                                       33
การวิจัยและพัฒนา                                                 34
การประกันคุณภาพ                                                  40
ระบบตรวจสอบย้อนกลับ                                              44
ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ                                         45
ตัวอย่างบริษัทในเครือ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน)    54
ค่านิยม                                                          58
ปรัชญาองค์กร                                                     58
วิสัยทัศน์                                                       58
พันธกิจ                                                          58
ภาวะการตลาดและการแข่งขัน                                         61
ปัจจัยสาคัญที่กาหนดความสาเร็จของบริษัท                           62
เป้าหมายของการดาเนินธุรกิจ                                       64
วิเคราะห์สถานะภาพของ บ. เซเว่นอีเลฟเว่น                          65
การวิเคราะห์ทัศนภาพ                                              67

การวิเคราะห์ภายในองค์กร                                          69
บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด(มหาชน)
                                                ข้อมูลทั่วไป
         (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553) สถานที่ตั้งสานักงานใหญ่ เลขที่ 313 อาคาร ซี.พี. ทาวเวอร์ ถนนสีลม
แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 ประเทศไทย หมายเลขโทรศัพท์ ส่วนกลาง:+66 (0) 2625 8000
สานักเลขานุการบริษัท: +66 (0) 2625 8352, 8354
สานักลงทุนสัมพันธ์: +66 (0) 2625 8322, 8356 หมายเลขโทรสาร +66 (0) 2638 2139 ที่อยู่เว็บไซต์
http://www.cpfworldwide.com ประเภทธุรกิจ เกษตรอุตสาหกรรมและอาหารทั้งในประเทศและ
ต่างประเทศ สถานะทางกฎหมาย บริษัทมหาชนจากัด จดทะเบียนจัดตั้งในประเทศไทย เลขทะเบียนบริษัท
0107537000246 ทุนจดทะเบียน 8,206.66 ล้านบาท จานวนหุ้นที่จาหน่ายแล้ว 7,519.94 ล้านหุ้น เป็นหุ้น
สามัญทั้งจานวน จานวนหุ้นทุนที่ซื้อคืน 471.00 ล้านหุ้น จานวนหุ้นภายหลังหักหุ้นทุนซื้อคืน 7,048.94 ล้าน
หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ (Par Value) 1.00 บาทต่อหุ้น จานวนบริษัทย่อย 110 บริษัท ชื่อย่อในตลาดหลักทรัพย์
แห่งประเทศไทย CPF สาหรับหุ้นสามัญ ชื่อย่อหุ้นกู้ที่จดทะเบียนในสมาคมตลาด
ตราสารหนี้ไทยและ/หรือตลาดหลักทรัพย์
แห่งประเทศไทย CPF117A สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 1/2549 ชุดที่ 2 CPF12OA สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 1/2550 ชุดที่
2 CPF118A สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 1/2551 ชุดที่ 1 CPF138A สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 1/2551 ชุดที่ 2
CPF13NA สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 1/2552 ชุดที่ 1
 CPF14NA สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 1/2552 ชุดที่ 2 CPF15NA สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 1/2552 ชุดที่ 3 CPF155A
สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 2/2552
CPF155B สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 1/2553
 CPF14NB สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 2/2553 ชุดที่ 1
CPF17NA สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 2/2553 ชุดที่ 2

(รายละเอียดของหุ้นกู้โดยสรุป สามารถดูได้ที่ www.cpfworldwide.com หัวข้อ นักลงทุนสัมพันธ์)
ประวัติ ความเป็นมาและพัฒนาการที่สาคัญที่กล่าวถึงในส่วนนี้ เป็นพัฒนาการที่เกี่ยวกับการดาเนินธุรกิจ
และการลงทุนของบริษัทที่สาคัญโดยสรุป
    จดทะเบียนเป็นบริษัทจากัด ในนาม “บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหารสัตว์ จากัด ” เพื่อผลิตและ

        จาหน่ายอาหารสัตว์ในเขตภาคใต้ของประเทศไทย



       จดทะเบียนหุ้นสามัญเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทยภายใต้ชื่อย่อ
        ว่า “CPF”



       แปรสภาพเป็น “บริษัทมหาชนจากัด” และเปลี่ยนชื่อเป็น “บริษัท เจริญโภคภัณฑ์ อาหารสัตว์ จากัด
        (มหาชน)”



       เข้า ซื้อหุ้นสามัญในบริษัทมหาชนที่ดาเนินธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมของเครือเจริญ โภคภัณฑ์ใน
        ประเทศไทย เข้ามาอยู่ภายใต้การบริหารงานของซีพีเอฟ



       เข้า ซื้อหุ้นสามัญในบริษัทจากัดที่ดาเนินธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมและอาหารของเครือ เจริญโภค
        ภัณฑ์จานวน 9 แห่ง ซึ่งภายใต้โครงสร้างใหม่จากการลงทุนในปี 2541 และการลงทุนครั้งนี้ ทาให้
        กลุ่มบริษัทซีพีเอฟมีการดาเนินธุรกิจครอบคลุมไปทั่วทุกภาคของประเทศ โดยแบ่งเป็น 2 ธุรกิจ
        หลักคือ ธุรกิจสัตว์บก และธุรกิจสัตว์น้า ซึ่งทั้ง 2 ธุรกิจนี้มีการดาเนินงานในลักษณะครบวงจร โดย
        เริ่มจากการสรรหาวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตอาหารสัตว์ การผลิตและจาหน่ายอาหารสัตว์ การ
        เพาะพันธุ์สัตว์ การแปรรูป เนื้อสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ และการผลิตสินค้าอาหารจากเนื้อสัตว์
       เพื่อ ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของกลุ่มบริษัทซีพีเอฟที่ประสงค์ที่จะผลิตอาหารที่ มีคุณภาพสู่ตลาด
        ทั่วโลก จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น “บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน)”



       เปลี่ยนแปลงนโยบายการจ่ายเงินปันผลเป็นการจ่ายปันผลปีละ 4 ครั้ง
   เปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้นสามัญที่ตราไว้จากเดิมหุ้นละ 10 บาท เป็นหุ้นละ 1 บาท



   จัดตั้งบริษัทย่อยใหม่จานวน 5 บริษัท โดยซีพีเอฟถือหุ้นทางตรงและทางอ้อม ร้อยละ 99.99 ดังนี้
         1. C.P. Aquaculture (Beihai) Co., Ltd. เพื่อดาเนินธุรกิจสัตว์น้าในประเทศ สาธารณรัฐ
             ประชาชนจีน
         2. C.P. Food Product (Shanghai) Co., Ltd. เพื่อดาเนินธุรกิจร้านอาหารไทยในประเทศ
             สาธารณรัฐประชาชนจีน (เปลี่ยนชื่อเป็น CPF Food Trading Co., Ltd. และเปลี่ยนการ
             ดาเนินธุรกิจเป็นผู้นาเข้าและจัดจาหน่ายสินค้าประเภทเนื้อ สัตว์แปรรูปและ ผลิตภัณฑ์
             อาหารสาเร็จรูปในปี 2552)
         3. CPF Europe S.A. เพื่อดาเนินธุรกิจนาเข้าและจัดจาหน่ายสินค้าประเภท เนื้อสัตว์แปรรูป
             และผลิตภัณฑ์อาหารสาเร็จรูปในกลุ่มประเทศในสหภาพยุโรป
         4. บริษัท ซีพีเอฟ ไอทีเซ็นเตอร์ จากัด เพื่อให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้แก่กลุ่ม
             บริษัทซีพีเอฟเป็นหลัก
         5. บริษัท ซีพีเอฟ เทรนนิ่งเซ็นเตอร์ จากัด เพื่อให้บริการด้านการฝึก อบรมให้แก่ พนักงานของ
             กลุ่มบริษัทซีพีเอฟเป็นหลัก
   เข้า ร่วมลงทุนใน CP Foods (UK) Limited กับนักธุรกิจชาวอังกฤษ เพื่อดาเนินธุรกิจการนาเข้าและ
    จัดจาหน่ายสินค้าประเภทอาหารแปรรูปจากเนื้อ สัตว์และอาหารสาเร็จรูปในสหราชอาณาจักร โดย
    ซีพีเอฟถือหุ้นทางอ้อมในสัดส่วนร้อยละ 52.00



   จัดตั้งบริษัทย่อยใหม่จานวน 4 บริษัท โดยซีพีเอฟถือหุ้นทางตรงและทางอ้อมใน สัดส่วนร้อยละ
    99.99 ดังนี้
         1. CP Foods West, Inc. เพื่อนาเข้าและจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารในประเทศสหรัฐอเมริกา
         2. บริษัท ยูนิเวอร์แซล ฟู้ด แอนด์ มาร์เก็ตติ้ง จากัด เพื่อดาเนินธุรกิจค้าส่งและ ค้าปลีก
             ผลิตภัณฑ์อาหารสาเร็จรูป และธุรกิจอาหารจานด่วนในประเทศไทย
         3. บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล เพ็ท ฟู้ด จากัด เพื่อดาเนินธุรกิจค้าส่งและค้าปลีก ผลิตภัณฑ์
             อาหารสาเร็จรูป สาหรับสัตว์เลี้ยงในประเทศไทย
         4. C.P. Aquaculture (Hainan) Co., Ltd. เพื่อดาเนินธุรกิจผลิตและจาหน่าย อาหารสัตว์ ฟาร์ม
             เพาะเลี้ยงสัตว์น้า และเพาะพันธุ์สัตว์น้า ในประเทศสาธารณรัประชาชนจีน
   เข้า ร่วมลงทุนกับ Aviagen, Inc. จัดตั้งบริษัท รอส บรีดเดอร์ส สยาม จากัด เพื่อ ดาเนินธุรกิจผลิต
    และจาหน่ายลูกไก่พ่อแม่พันธุ์เนื้อในประเทศไทย โดยซีพเอฟถือหุ้นทางอ้อม ในสัดส่วนร้อยละ
    49.99
   เข้าลง ทุนโดยบริษัทย่อยเพื่อซื้อหุ้นสามัญในสัดส่วนร้อยละ 84.49 ของ C.P. Standart Gida Sanayi
    ve Ticaret A.S. ซึ่งเป็นบริษัทที่ดาเนินธุรกิจอาหารสัตว์ และไก่ครบวงจร ในประเทศตุรกี
   จัดตั้ง บริษัทย่อยใหม่ได้แก่ CPF Tokyo Company Limited เพื่อดาเนินธุรกิจนาเข้าและจัดจาหน่าย
    สินค้า ประเภทเนื้อสัตว์แปรรูป และผลิตภัณฑ์อาหารสาเร็จรูปในประเทศญี่ปุ่น โดย ซีพีเอฟ ถือหุ้น
    ทางอ้อมในสัดส่วนร้อยละ 99.99



   โอน กิจการแปรรูปสัตว์น้า จากบริษัทย่อย 3 บริษัท ได้แก่ บริษัท ซีฟู้ดส์ เอ็นเตอร์ไพรซ์ จากัด
    บริษัท กรุงเทพเพาะเลี้ยงกุ้ง จากัด และบริษัท แกลง จากัด เพื่อปรับโครงสร้างการดาเนิน ธุรกิจสาย
    สัตว์น้า ซึ่งประกอบด้วย การผลิตอาหารสัตว์น้า การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า และการแปรรูปให้เข้ามาอยู่
    ภายใต้บริษัทเดียว
   จัดตั้งบริษัทย่อยขึ้นใหม่จานวน 3 บริษัท ดังนี้
         1. Calibre Nature (M) Sdn. Bhd. เพื่อการลงทุนในธุรกิจสายสัตว์น้าในประเทศมาเลเซีย ซึ่ง
              รวมถึงการผลิตและจาหน่ายอาหารสัตว์น้า ฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้า และแปรรูปสัตว์น้าโดย
              ซีพีเอฟถือหุ้นร้อยละ 100.00
         2. บริษัท ซีพี-โยเนะคิว จากัด (เปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท ซีพีเอฟ พรีเมียมฟู้ดส์ จากัด ในปี 2552)
              เพื่อผลิตผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากเนื้อสัตว์ โดย ซีพีเอฟถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 80.50
              (ปัจจุบัน ซีพีเอฟถือหุ้นร้อยละ 99.99)
         3. CPF Denmark A/S เพื่อดาเนินธุรกิจนาเข้าของกลุ่มบริษัท และแหล่งอื่นๆ เพื่อนาไปจัด
              จาหน่ายในกลุ่มประเทศแถบสแกนดิเนเวียและยุโรป โดยซีพีเอฟถือหุ้นทางอ้อมใน
              สัดส่วนร้อยละ 52.00
   เข้า ซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนใน Charoen Pokphand (India) Private Limited (CP India) โดยบริษัทย่อย
    เป็นผลให้สัดส่วนการถือหุ้น CP India เพิ่มจากร้อยละ 19.00 เป็น ร้อยละ 71.20 ทาให้ CP India มี
    สถานะเป็นบริษัทย่อยของซีพีเอฟ
   รวม กิจการของบริษัทย่อยในกลุ่มธุรกิจอาหารครบวงจรในเขตกรุงเทพมหานคร โดยผู้โอน ได้แก่
    บริษัท ฟาร์ม กรุงเทพ จากัด บริษัท ซี.พี. อุตสาหกรรมอาหาร ส่งออก จากัด และบริษัท ซี.พี.
    ผลิตภัณฑ์อาหาร จากัด และผู้รับโอนกิจการได้แก่ บริษัท ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร จากัด
   เข้า ซื้อหุ้นสามัญทั้งหมดของ Star Feedmills (M) Sdn. Bhd. (“SFM”) โดยบริษัทย่อย เป็นผลให้ซีพี
    เอฟถือหุ้นทางอ้อมใน SFM ร้อยละ 100.00
   เข้าซื้อธุรกิจการผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากเนื้อสัตว์จาก บริษัท ซี .พี.อินเตอร์ฟู้ด
    (ไทยแลนด์) จากัด
   ขายเงินลงทุนในหุ้นสามัญ LOTUS-CPF (PRC) Investment Co., Ltd. ทั้งหมดออกไป
   จัดตั้งบริษัทย่อยขึ้นใหม่จานวน 2 บริษัท ดังนี้
         1. Charoen Pokphand Foods (Overseas) LLC. เพื่อดาเนินธุรกิจผลิตอาหาร สัตว์ และเลี้ยง
               สัตว์ในประเทศรัสเซีย โดยซีพีเอฟถือหุ้นทางอ้อมในสัดส่วนร้อยละ 99.99
         2. C.P. Laos Co., Ltd. เพื่อดาเนินธุรกิจผลิตอาหารสัตว์ และเลี้ยงสัตว์ ในประเทศสาธารณรัฐ
               ประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยซีพีเอฟถือหุ้นทางอ้อม ในสัดส่วนร้อยละ 99.61
   เข้า ซื้อหุ้นสามัญทั้งหมดของ Asia Aquaculture (M) Sdn. Bhd. (“AA”) โดยบริษัทย่อย เป็นผลให้ซี
    พีเอฟถือหุ้นทางอ้อมใน AA ร้อยละ 100.00

   เปลี่ยนแปลงนโยบายการจ่ายเงินปันผลเป็นการจ่ายปันผลปีละ 2 ครั้ง
   จัดตั้งบริษัทย่อยขึ้นใหม่จานวน 2 บริษัท ดังนี้
         1. C.P. Aquaculture (Dongfang) Co., Ltd. เพื่อดาเนินธุรกิจฟาร์มเพาะฟัก ลูกกุ้งในประเทศ
              สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยซีพีเอฟถือหุ้นทางตรงใน
              สัดส่วนร้อยละ 100.00
         2. Charoen Pokphand Foods Philippines Corporation เพื่อดาเนินธุรกิจเพาะฟักลูกกุ้งใน
              ประเทศฟิลิปปินส์ โดยซีพีเอฟถือหุ้นทางตรงในสัดส่วน
              ร้อยละ 100.00
   เข้า ซื้อหุ้นสามัญของ C.P. Standart Gida Sanayi ve Ticaret A.S. (“CPS”) โดยบริษัทย่อย เป็นผล
    ให้สัดส่วนการถือหุ้นใน CPS เพิ่มจากร้อยละ 92.64 เป็นร้อยละ 100.00

   ซื้อหุ้นคืนเพื่อบริหารทางการเงิน



   เข้า ซื้อหุ้นสามัญของ Charoen Pokphand (India) Private Limited ("CPI") เป็นผลให้สัดส่วนการถือ
    หุ้นใน CPI เพิ่มจากร้อยละ 71.20 เป็นร้อยละ 99.99
   เข้า ซื้อเงินลงทุนในบริษัทจานวน 5 แห่ง โดยบริษัทย่อย ซึ่งบริษัททั้ง 5 แห่งดังกล่าวเป็นผู้ถือหุ้น
    ทางตรง และ/หรือทางอ้อมของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ของประเทศไต้หวัน ซึ่งได้แก่
    Charoen Pokphand Enterprise (Taiwan) Co., Ltd. ("CPE") เป็นผลให้ซีพีเอฟถือหุ้นทางอ้อมใน
    CPEร้อยละ 32.41
   C.P. Vietnam Livestock Corporation ("CPVL") ได้ควบรวมกิจการกับ Charoen Pokphand
       Vietnam Corporation ("CPV") โดย CPVL ออกหุ้นสามัญให้กับผู้ถือหุ้นของ CPV และรับโอน
       ทรัพย์สินและหนี้สินของ CPV เข้ามาเป็นของ CPVL การควบรวมดังกล่าวส่งผลให้สัดส่วนการถือ
       หุ้นของซีพีเอฟใน CPVL ลดลงจากร้อยละ 40.00 เป็นร้อยละ 29.18 แต่มิได้ทาให้ส่วนได้ของซีพี
       เอฟใน CPVL เปลี่ยนแปลงลดลงแต่อย่างใด

                                           ค่านิยมองค์กร


ตลอดจนการพิทักษ์รักษาสิ่งแวดล้อม อันเป็นประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม การมุ่งมั่นในการ
พัฒนาสินค้าและบริการ ใหม่ๆ ที่มีคุณภาพและมาตรฐานสูงด้วยวิทยาการและเทคโนโลยีที่นา
สมัย อันจะยังประโยชน์ให้กับคู่ค้า และลูกค้าทั้งปวง
ซีพีเอฟ ตระหนักดีว่าทรัพยากรบุคคล เป็นองค์ประกอบที่มีความสาคัญอย่างยิ่ง ต่อความสาเร็จ
ในการดาเนินธุรกิจ ของบริษัท การมีค่านิยมและพฤติกรรมการทางานที่ดี และเหมาะสม
เปรียบเสมือนพลังผลักดัน ให้บริษัทเดินไปสู่เป้าหมายที่กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น
เราจึงได้ประกาศ คุณค่าหลักขององค์กร 6 ประการ ที่เรียกว่า ซีพีเอฟเวย์ (CPF Way) อันเป็น
พฤติกรรมพื้นฐานขององค์กร ที่จะทาให้พนักงานทุกคน มีส่วนร่วมแรงร่วมใจกันสร้างธุรกิจ
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้
คณะกรรมการบริษัท
ณ วันที่ 16 มีนาคม 2554 คณะกรรมการของบริษัทประกอบด้วย กรรมการจานวน 15 คน ดังนี:้
ชื่อ-นามสกุล                      ตาแหน่ง
 1. นายธนินท์ เจียรวนนท์            ประธานกรรมการ
 2. พล.ต.อ.เภา สารสิน               รองประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ
 3. นายประเสริฐ พุ่งกุมาร           รองประธานกรรมการ
 4. นายมิน เธียรวร                  รองประธานกรรมการ
 5. นายชิงชัย โลหะวัฒนะกุล          รองประธานกรรมการ
 6. นายอาสา สารสิน                  กรรมการอิสระ
 7. ศ.นพ.อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ       กรรมการอิสระ
 8. ศ.กิตติคุณ สุภาพรรณ รัตนาภรณ์   กรรมการอิสระ
 9. ดร.ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์      กรรมการอิสระ
 10. นายพงษ์เทพ เจียรวนนท์          กรรมการ
 11. ดร.วีรวัฒน์ กาญจนดุล           กรรมการ
 12. นายอดิเรก ศรีประทักษ์          กรรมการ
 13. นายพงษ์ วิเศษไพฑูรย์           กรรมการ
 14. นายสุนทร อรุณานนท์ชัย          กรรมการ
 15. นางอรุณี วัชรานานันท์          กรรมการ



คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการตรวจสอบของซีพีเอฟได้รับ การแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท โดย
คณะกรรมการตรวจสอบชุดปัจจุบันมีวาระการดารงตาแหน่ง 3 ปี ซึ่งจะครบวาระในวันที่ 23
ธันวาคม 2554 โดย ณ วันที่ 16 มีนาคม 2554 คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการ
อิสระจานวน 5 คน ดังนี้ :
   1. พล.ต.อ.เภา สารสิน                     ประธานกรรมการตรวจสอบ
   2. นายอาสา สารสิน                        กรรมการตรวจสอบ
   3. ศ.นพ. อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ            กรรมการตรวจสอบ
   4. ศ.กิตติคุณ สุภาพรรณ รัตนาภรณ์         กรรมการตรวจสอบ
   5. ดร.ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์            กรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการบริหาร
ณ วันที่ 16 มีนาคม 2554 คณะกรรมการบริหารของบริษัทประกอบด้วย
  ชื่อ-นามสกุล                            ตาแหน่ง
  1. นายชิงชัย โลหะวัฒนะกุล           ประธานกรรมการบริหาร
  2. นายอดิเรก ศรีประทักษ์            กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานคณะผู้บริหาร
  3. นายพงษ์ วิเศษไพฑูรย์             ประธานผู้บริหารฝ่ายปฏิบัติการ สายธุรกิจสัตว์น้า
  4. นายพงษ์เทพ เจียรวนนท์            กรรมการบริหาร
  5. นางอรุณี วัชรานานันท์            กรรมการบริหาร
  6. นายวรวิทย์ เจนธนากุล             กรรมการบริหาร
  7. นายธีรศักดิ์ อุรุนานนท์          กรรมการบริหาร
  8. นายวิทิต ภูธนทรัพย์              กรรมการบริหาร
  9. นางสาวพัชรา ชาติบัญชาชัย         กรรมการบริหาร
  10. นายไพศาล จิระกิจเจริญ           ประธานผู้บริหารฝ่ายการเงิน และ
                                      เลขานุการคณะกรรม การบริหาร



ผู้บริหาร
ณ วันที่ 16 มีนาคม 2554 ผู้บริหารของซีพีเอฟประกอบด้วย:
  ชื่อ-นามสกุล                     ตาแหน่ง
1. นายอดิเรก ศรีประทักษ์(1)          ประธานผู้บริหารฝ่ายปฏิบัติการ สายธุรกิจอาหาร
                                     (รักษาการ)
2. นายพงษ์ วิเศษไพฑูรย์(1)           ประธานผู้บริหารฝ่ายปฏิบัติการ สายธุรกิจสัตว์น้า
3. นายวีรชัย รัตนบานชื่น(1)          ประธานผู้บริหารฝ่ายปฏิบัติการ สายธุรกิจสัตว์บก
                                     และรองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานอาหาร
                                     สัตว์บก (รักษาการ)
4. นายธีรศักดิ์ อุรุนานนท์(1)        ประธาน ผู้บริหารฝ่ายปฏิบัติการ สายธุรกิจการค้า
                                     ภายในประเทศ และรองกรรมการผู้จัดการบริหาร
                                     สายงานอาหารแปรรูปสัตว์บก และรองกรรมการ
                                     ผู้จัดการบริหาร สายงานการค้าภายในประเทศ
                                     (รักษาการ)
5. นายพิสิฐ โอมพรนุวัฒน์(1)          ประธานผู้บริหารฝ่ายปฏิบัติการ สายธุรกิจการค้า
                                     ต่างประเทศ
6. นายไพศาล จิระกิจเจริญ(1)         ประธานผู้บริหารฝ่ายการเงิน
7. ดร. สมหมาย เตชะศิรินุกูล         รองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานอาหารแปรรูป
                                    สัตว์น้า
8. นายสุขวัฒน์ ด่านเสริมสุข         รองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานอาหาร
                                    สาเร็จรูป
9. นายประจิตต์ อุดหนุน              รองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานวิจัยและ
                                    พัฒนาพันธุ์สัตว์ และเทคโนโลการเลี้ยงสัตว์ปีก
10. นายสมควร ชูวรรธนะปกรณ์          รองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานวิจัยและ
                                    พัฒนาพันธุ์สัตว์และ เทคโนโลยีการเลี้ยงสุกร
11. น.สพ. สุจินต์ ธรรมศาสตร์        รองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานเพาะเลี้ยงสัตว์
                                    น้า และ สายงานวิจัยและพัฒนาพันธุ์สัตว์และ
                                    เทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์น้า
12. นายเอนก บุญหนุน                 รองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานเลี้ยงสัตว์
13. นายวิทิต ภูธนทรัพย์             รองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานอาหารสัตว์น้า
14. นายวรวิทย์ เจนธนากุล            รองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานบริหารทั่วไป
15. นายประเดิม โชติศุภราช           รองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานเทคโนโลยี
                                    สารสนเทศและระบบงาน
16. นายทินกร เรือนทิพย์             รองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานทรัพยากร
                                    บุคคล
หมายเหตุ: (1) ผู้บริหารตามนิยามในประกาศคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาด
หลักทรัพย์ ที่ กจ.
        17/2551 เรื่อง การกาหนดบทนิยาม ในประกาศเกี่ยวกับการออกและเสนอขาย
หลักทรัพย์
โครงสร้างการจัดการของบริษัท
   ณ วันที่ 16 มีนาคม 2554
ภายหลังการปรับโครง สร้างการดาเนินธุรกิจ ซีพีเอฟได้กาหนดนโยบายการลงทุนที่ชัดเจนว่าจะลงทุนเฉพาะในธุรกิจหลักหร
 ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักของซีพีเอฟเท่านั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ซีพีเอฟมีเงินลงทุน (วิธีราคาทุน) ในบริษัทย่อย
 บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้องรวม 21,514 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 24 ของสินทรัพย์รวมของซีพีเอฟ โดยซีพีเอฟม
 นโยบายที่จะแต่งตั้งตัวแทนเข้าไปดารงตาแหน่งเป็นกรรมการที่มี อานาจควบคุมในบริษัทย่อย เพื่อควบคุมดูแลการบริหารงาน
 ของบริษัทย่อยให้เป็นไปตามนโยบายของบริษัทอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทั้งนี้ ซีพีเอฟจะได้รับรายงานผลการ
 ดาเนินงานจากบริษัทย่อยเป็นประจาทุกเดือน และมีการประชุมร่วมกันอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง เพื่อพิจารณาถึงผลการดาเนินงาน
 และร่วมกันวางแผนงานและเป้าหมายในการดาเนิน งาน

 ในการพิจารณาเข้าร่วม ลงทุนในแต่ละครั้ง ซีพีเอฟอาจจะเข้าลงทุนเอง หรือให้บริษัทย่อยที่ดาเนินธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกันเป็น ผ
 ลงทุน ทั้งนี้ หากเป็นการลงทุนในบริษัทย่อย ซีพีเอฟมีนโยบายที่จะลงทุนในสัดส่วนร้อยละ 100 เว้นแต่จะเป็นการลงทุนร่วมก
 กับพันธมิตรทางธุรกิจ




ในการดาเนินธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรม ด้านการเลี้ยงสัตว์และผลิตอาหารจากเนื้อสัตว์ทั้งใน
ประเทศและ ต่างประเทศ โดยการดาเนินธุรกิจส่วนใหญ่อยู่ในประเทศไทย
การดาเนินธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมครบ วงจรในประเทศไทย ซึ่งดาเนินการโดยซีพีเอฟ และ
บริษัทย่อยในประเทศไทยนั้น เป็นธุรกิจที่เริ่มต้นตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบเพื่อใช้ในการผลิต
อาหารสัตว์ การเพาะพันธุ์สัตว์ การเลี้ยงสัตว์ในเชิงพาณิชย์ การแปรรูปเนื้อสัตว์ จนกระทั่งถึง
การผลิตอาหารสาเร็จรูป
ดาเนินธุรกิจแบบ ครบวงจร ตั้งแต่อาหารสัตว์ ดาเนินธุรกิจแบบ ครบวงจร ตั้งแต่อาหารสัตว์
สาหรับเลี้ยงไก่เนื้อ ไก่ไข่ สุกร เป็ด, พันธุ์สัตว์, สาหรับเลี้ยงกุ้งและปลา, พันธุ์สัตว์น้า, ไปจนถึง
ไปจนถึงการเลี้ยงสัตว์เพื่อการค้า และผลิตภัณฑ์ การเลี้ยงกุ้ง และปลาเพื่อการค้า และผลิตภัณฑ์
อาหารปรุงสุก                                        อาหารปรุงสุก




ซึ่งธุรกิจทั้งสองประเภทเป็นการ ดาเนินงานแบบครบวงจร ตั้งแต่การคัดสรรวัตถุดิบ สาหรับ
การผลิต อาหารสัตว์ การผลิตและจาหน่ายอาหารสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ เนื้อสัตว์แปรรูป ไปจนถึง
การผลิต ผลิตภัณฑ์อาหารสาเร็จรูป จากเนื้อไก่ เนื้อเป็ด เนื้อสุกร เนื้อกุ้ง และเนื้อปลา ผลิตภัณฑ์
หลักของธุรกิจทั้ง 2 ประเภท สามารถจาแนกเป็น 3 ธุรกิจหลัก ได้แก่ ธุรกิจอาหารสัตว์ (Feed),
ธุรกิจการเลี้ยงสัตว์ (Farm) และธุรกิจอาหาร (Food)

ซีพีเอฟคัดสรรวัตถุดิบและสูตรอาหารสัตว์ที่มุ่งเน้น ความปลอดภัย และคุณค่าของเนื้อสัตว์ เพื่อให้ได้ อาหารสัตว์ที่มี
คุณภาพดีที่สุด




ซีพีเอฟพัฒนาปรับปรุงสายพันธุ์สัตว์ ตาม
วิธีการทางธรรมชาติ โดยไม่ใช้ฮอร์โมนหรือ
สารเคมี


ซีพีเอฟ ใช้เทคโนโลยีโรงเรือนปิด นาระบบ
ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ มาใช้ดูแล การเลี้ยง
สัตว์ ในทุกขั้นตอน
เนื้อ สัตว์จากฟาร์มซีพีเอฟ ถูกนาเข้าสู่
กระบวนการแปรรูป ตามหลักสวัสดิภาพสัตว์
ภายในโรงงานอันทันสมัย ถูกสุขอนามัย และ
ได้มาตรฐานสากล


ซี พีเอฟนาผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแปรรูป ไป
เพิ่มมูลค่า เป็นสินค้าอาหารปรุงสุก และ
ผลิตภัณฑ์อาหารพร้อม รับประทาน โดย
นาไปผสมเครื่องปรุงรสและทาให้สุก ผ่าน
ขบวนการต้ม นึ่ง ทอด อบ และย่าง ตามความ
ต้องการของลูกค้า




สามารถ จาแนกธุรกิจออกเป็น 3 ธุรกิจหลัก คือ ธุรกิจอาหารสัตว์ (Feed) ธุรกิจการเลี้ยงสัตว์
(Farm) และธุรกิจอาหาร (Food) โดยมีรายละเอียดการประกอบธุรกิจพอสังเขปดังนี้




ซี พีเอฟเป็นผู้นาในการผลิตและจาหน่ายอาหารสัตว์บกในประเทศไทย มีการผลิตอาหารสัตว์
ทั้งในรูปหัวอาหารและอาหารสาเร็จรูปชนิดผงและชนิดเม็ด มีโรงงานผลิตครอบคลุมทุกภาค
ของประเทศไทย จาหน่ายอาหารสัตว์ให้แก่เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ผ่านตัวแทนจาหน่ายอาหารสัตว์
ที่มีอยู่มากกว่า 600 รายทั่วประเทศ และจาหน่ายโดยตรงให้แก่ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ขนาดใหญ่ โดยซี
พีเอฟให้ความสาคัญในการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพด้านการผลิตให้มี ประสิทธิภาพและ
ได้มาตรฐานสากล เพื่อให้ได้สินค้าอาหารสัตว์ที่มีคุณภาพ มีอัตราแลกเนื้อที่ดีสาหรับการเลี้ยง
สัตว์ซึ่งจะช่วยให้เกษตรกรมีต้นทุนการ เลี้ยงที่ต่าลง

ด้านกระบวนการผลิต ซีพีเอฟนาเอาพืชผลทางการเกษตร โดยหลักได้แก่ ข้าวโพด และกากถั่ว
เหลือง มาผลิตอาหารสัตว์แบบเม็ด ด้วยสูตรอาหารตามโภชนาการที่สัตว์แต่ละประเภทและแต่
ละอายุต้องการ โดยควบคุมการผลิตทุกขั้นตอนด้วยคอมพิวเตอร์เพื่อให้ไ ด้อาหารสัตว์ที่มี
คุณภาพสม่าเสมอและได้มาตรฐานตามที่กาหนด และจัดจาหน่ายภายใต้ตราสินค้าของซีพีเอฟ
เอง ได้แก่ ซีพี ไฮโปรไวท์ ไฮ-โกร สตาร์ฟีด โนโว่ เซฟฟีด เอราวัณ และกาหนดราคาขายโดย
พิจารณาจากต้นทุนการผลิตในแต่ละช่วงเวลา และจะสอดคล้องกับราคาขายควบคุมที่ประกาศ
โดยกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์

ซีพีเอฟมีบริการหลังการขายโดยมีสานักงานตั้งกระจายอยู่ทั่วประเทศ สาหรับเป็นศูนย์กลาง
เผยแพร่เทคนิคการเลี้ยงสัตว์ให้แก่เกษตรกรอย่างถูกวิธี พร้อมทั้งช่วยในเรื่องของการจัดการ
ด้านการตลาด และการจัดจาหน่าย




ผลิตภัณฑ์ภายใต้ธุรกิจการเลี้ยงสัตว์ประกอบด้วย พันธุ์สัตว์ สัตว์มีชีวิต ไข่สด และเนื้อสัตว์แปร
รูปพื้นฐาน ดังมีรายละเอียดดังนี้

ซี พีเอฟเป็นผู้นาในการวิจัยและพัฒนาปรับปรุงสายพันธุ์สัตว์ตามธรรมชาติ เพื่อให้ได้มาซึ่ง
พันธุ์สัตว์ที่มีคุณภาพ แข็งแรง และเหมาะสมกับสภาพการเลี้ยงในประเทศ มีการผลิตลูกไก่พ่อ
แม่พันธุ์เนื้อ ลูกไก่พ่อแม่พันธุ์ไข่ สุกรพ่อแม่พันธุ์ ลูกไก่เนื้อ ลูกไก่ไข่ ไก่รุ่นไข่ ลูกเป็ดเนื้อ และ
ลูกสุกร โดยเริ่มตั้งแต่การนาเข้าพันธุ์มาจากต่างประเทศ เพื่อนามาเพาะพ่อแม่พันธุ์และเลี้ยงต่อ
เป็นสัตว์เพื่อการค้าในฟาร์มของซีพี เอฟ หรือขายออกใหักับเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์และตัวแทน
จาหน่ายในประเทศไทย โดยในส่วนของปู่ย่าพันธุ์ส่วนใหญ่เป็นการนาเข้าจากต่างประเทศ ส่วน
พ่อแม่พันธุ์และอาหารสัตว์ส่วนใหญ่มาจากผลผลิตของซีพีเอฟเอง
ฟาร์มพันธุ์สัตว์ของซีพีเอฟกระจายอยู่ในหลายจังหวัดทั่วประเทศไทย โดยมีระบบการจัดการ
เลี้ยงสัตว์ในรูปของระบบโรงเรือนปิดปรับอากาศ (Evaporative Cooling System) ซึ่งเป็นระบบ
การเลี้ยงที่ทันสมัยมีระบบการให้อาหารและน้าอัตโนมัติ มีระบบการระบายอากาศเพื่อทาให้
อากาศในโรงเรือนอยู่ในสภาวะที่เหมาะสมกับการ เลี้ยงตลอดเวลา รวมถึงมาตรการและระบบ
การควบคุมและป้องกันพาหะนาโรคเข้าสู่ฟาร์ม โดยทั้งหมดนี้มีการควบคุมฟาร์มด้วยระบบ
คอมพิวเตอร์ตลอดระยะเวลาการเลี้ยง

ราคาพันธุ์สัตว์นั้นขึ้นอยู่กับความต้องการใช้และปริมาณผลผลิตที่มีจาหน่าย ในประเทศไทย
และคุณภาพของผลิตภัณฑ์ นโยบายด้านการขายจึงให้ความสาคัญกับการบริการหลังการขาย
โดยมีสานักงานสาขาตั้งกระจายอยู่ทั่วประเทศ สาหรับเป็นศูนย์กลางเผยแพร่เทคนิคการเลี้ยง
สัตว์ให้แก่เกษตรกร พร้อมกับช่วยในเรื่องของการจัดการด้านการตลาดและการจัดจาหน่าย

ผลิตภัณฑ์ ในหมวดนี้รวมถึง ไก่มีชีวิต ไข่ไก่ เป็ดมีชีวิต ไข่เป็ด สุกรเนื้อมีชีวิต และเนื้อสัตว์
แปรรูปพื้นฐาน ซึ่งซีพีเอฟจาหน่ายสู่ผู้บริโภคผ่านตัวแทนจาหน่ายทั่วประเทศ จาหน่ายใน
ท้องถิ่น จาหน่ายให้ผู้ค้าส่งและผู้ค้าปลีก รวมทั้งจาหน่ายให้กับโรงงานแปรรูปอาหารของกลุ่มซี
พีเอฟเองและโรงงานแปรรูป อาหารอื่นๆ ในประเทศไทย โดยราคาจาหน่ายของสินค้าในกลุ่มนี้
ผันแปรไปตามปริมาณความต้องการและปริมาณผล ผลิตที่ออกมาสู่ตลาด ณ ขณะใดขณะหนึ่ง

ซีพีเอฟดาเนินการด้านฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ด้วยการให้ความสาคัญด้านการวิจัยและพัฒนาวิธีเลี้ยงให้
ทันสมัย เหมาะสมกับสภาพการเลี้ยงในประเทศ และมีระบบควบคุมป้องกันโรคที่มี
ประสิทธิภาพ ทาให้สัตว์เติบโตเร็ว อัตราแลกเนื้อดี ผลผลิตสูงและประหยัดต้นทุน โดยปัจจุบัน
การเลี้ยงสัตว์ปีกและสุกร ซีพีเอฟได้ใช้ระบบปิดปรับอากาศ (Evaporative Cooling System) ใน
การเลี้ยง ซึ่งเป็นระบบที่เลี้ยงสัตว์ในโรงเรือนปิด มีระบบการให้อาหารและน้าอัตโนมัติ และ
ควบคุมการเลี้ยงด้วยระบบคอมพิวเตอร์

นอกเหนือจากการทาฟาร์เลี้ยงสัตว์เองแล้วนั้น ซีพีเอฟได้มีโครงการส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์ให้กับ
เกษตรกร ด้านการเลี้ยงสุกรเนื้อและไก่เนื้อ โดยซีพีเอฟจะดาเนินการคัดเลือกเกษตรกรที่มีพื้นที่
เลี้ยงสัตว์และอุปกรณ์การ เลี้ยงของตนเอง ซึ่งหากผ่านการคัดเลือก ซีพีเอฟจะให้การสนับสนุน
ด้านพันธุ์สัตว์ อาหารสัตว์ ยาสัตว์ และให้ความรู้ด้านวิธีการเลี้ยงสัตว์แก่เกษตรกร ทั้งนี้
เกษตรกรจะได้รับค่าตอบแทนตามปริมาณสัตว์ที่เลี้ยงได้สาเร็จได้ตามมาตรฐานของ ซีพีเอฟ ซึ่ง
เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการของซีพีเอฟส่ วนใหญ่ใช้ระบบปิดปรับอากาศ (Evaporative Cooling
System) ในการเลี้ยงเช่นเดียวกับซีพีเอฟ
ซีพีเอฟเป็นบริษัทแรกนอกสหภาพยุโรปที่ได้รับการรับรองมาตรฐานสวัสดิภาพสัตว์ (Animal
Welfare Standard) สาหรับการผลิตไก่เพื่อการส่งออก ซึ่งมาตรฐานดังกล่าวนี้นับเป็นมาตรฐาน
การผลิตที่มีกฎระเบียบเข้มงวดที่สุดใน อุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ในปัจจุบัน

ในการแปรรูปพื้นฐาน ซีพีเอฟนาผลผลิตจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ ไก่เนื้อ เป็ดและสุกร ส่งไป
โรงงานแปรรูปเพื่อตัดแต่งเนื้อสัตว์ โดยแยกชิ้นส่วนและตัดแต่งชิ้นส่วนตามที่ตลาดต้องการ
แล้วนาไปบรรจุและแช่เย็นหรือแข็งเพื่อจาหน่ายเป็นผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์แช่ เย็นแช่แข็ง ให้แก่
ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีกในประเทศ และส่งออกผ่านผู้นาเข้าในต่างประเทศ โดยราคานั้นผันแปรไปตาม
ปริมาณความต้องการและปริมาณผลผลิตที่มีจาหน่ายใน ประเทศไทยและตลาดโลก หรือเป็น
ราคาที่ตกลงกัน สาหรับสินค้าที่ผลิตตามคาสั่งซื้อของลูกค้า




ซี พีเอฟได้นาผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแปรรูปไปเพิ่มมูลค่าเป็นสินค้าอาหารปรุงสุก และ
ผลิตภัณฑ์อาหารพร้อมรับประทาน โดยนาไปผสมเครื่องปรุงรส และทาให้สุก โดยผ่าน
ขบวนการต้ม นึ่ง ทอด อบ และย่าง ตามความต้องการของลูกค้า จากนั้นจึงนาไปแช่แข็ง เพื่อจัด
จาหน่ายให้แก่ผู้ค้าส่งและผู้ค้าปลีก ร้านอาหารประเภทฟาสต์ฟู้ด (Fast Food) และช่องทางการ
จาหน่ายแบบใหม่ (Modern Trade) เช่น ร้านสะดวกซื้อ ซุปเปอร์มาร์เก็ต และซุปเปอร์เซ็นเตอร์
เป็นต้น ส่วนการส่งออกเป็นการขายผ่านผู้นาเข้าในต่างประเทศ โดยประเทศที่นาเข้าหลักได้แก่
สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น และประเทศอื่นๆ ในเอเชีย และซีพีเอฟได้มีการลงทุนในการขยายช่องทาง
จัดจาหน่ายมากขึ้น รวมถึงการเพิ่มจุดจาหน่ายของซีพีเอฟเอง อาทิ จุดจาหน่ายไก่ย่างห้าดาว
และร้านซีพี เฟรช มาร์ท และสาหรับตลาดต่างประเทศนั้น ซีพีเอฟได้มีสาขาและตัวแทน
จาหน่ายในประเทศต่างๆ เพื่อที่จะได้ใกล้ชิดกับลูกค้าและตลาดมากขึ้น อาทิ ญี่ปุ่น เกาหลี
สิงคโปร์ ฮ่องกง แอฟริกาใต้ อังกฤษ เบลเยี่ยม ฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี เยอรมนี
เดนมาร์ก และสหรัฐอเมริกา

ผลิตภัณฑ์อาหารปรุงสุกที่จาหน่ายในประเทศและส่งออก เช่น บะหมี่หมูพะโล้ ไก่คาราเกะแช่
แข็ง ไก่ห่อสาหร่าย ไก่เทอริยากิ เป็ดย่าง อกไก่นึ่งแช่แข็ง ข้าวแกงเขียวหวานไก่ เต้าหู้ไข่ ลูกชิ้น
และไส้กรอก เป็นต้น ซึ่งซีพีเอฟได้มีการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารภายใต้ตราสินค้า ซี พี วีพอร์ค คิ
ทเช่นจอย ไทยไทย ห้าดาว บีเค บีเคพี และรวมถึงการผลิตเพื่อจาหน่ายภายใต้ตราสินค้าของผู้
ซื้อด้วยเช่นกัน โดยราคานั้นเป็นราคาที่ตกลงกันกับลูกค้าในแต่ละครั้งที่ทาสัญญาซื้อขาย

ซีพีเอฟให้ความสาคัญอย่างยิ่งในเรื่องของ “คุณภาพสินค้า” ที่จะต้องได้มาตรฐาน สะอาดถูก
สุขอนามัย สามารถผลิตสินค้าได้หลากหลายรูปแบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องเป็นสินค้าที่
ปลอดภัยต่อการบริโภค ได้มีการใช้ระบบสุ่มตรวจเพื่อตรวจสอบมาตรฐานคุณภาพของวัตถุดิบ
และสินค้าที่ เป็นการตรวจสอบที่สายการผลิตต่างๆ อันจะช่วยทาให้ทราบถึงอัตรา
ความสามารถในการผลิตทุกๆ ขั้นตอน รวมไปถึงการตรวจสอบย้อนกลับไปถึงแหล่งที่มาของ
วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต มาตรฐานการผลิตระดับสากลที่ซีพีเอฟได้รับการรับรองเป็นสิ่งหนึ่งใน
การ รับประกันคุณภาพของสินค้า และการจัดการของซีพีเอฟได้เป็นอย่างดี




ซึ่ง สามารถจาแนกธุรกิจออกเป็น 3 ธุรกิจหลัก คือ ธุรกิจอาหารสัตว์ (Feed) ธุรกิจการเลี้ยงสัตว์
(Farm) และธุรกิจอาหาร (Food) โดยมีรายละเอียดการประกอบธุรกิจพอสังเขป ดังนี้




บริษัท เป็นผู้นาและผู้บุกเบิกในการผลิตและจาหน่ายอาหารสัตว์น้า ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์หลักที่
สาคัญ ได้แก่ อาหารกุ้ง และอาหารปลา โดยมีการผลิตอาหารสัตว์ทั้งในรูปหัวอาหารและอาหาร
สาเร็จรูปชนิดผงและชนิด เม็ด จาหน่ายผ่านตัวแทนจาหน่ายที่มีอยู่ในบริเวณพื้นที่เลี้ยงกุ้งทั่ว
ประเทศ และบางส่วนจาหน่ายโดยตรงให้แก่เกษตรกร ในการผลิตอาหารสัตว์น้านั้น บริษัท
นาเอาพืชผลทางการเกษตร ได้แก่ กากถั่วเหลือง ปลาป่น และแป้งสาลี เป็นต้น มาผลิต โดยมี
การควบคุมสูตรอาหารและการผลิตทุกขั้นตอนด้วยคอมพิวเตอร์เพื่อให้ได้ อาหารสัตว์น้าที่มี
คุณภาพสม่าเสมอและได้มาตรฐานตามที่กาหนด โดยบริษัทได้จาหน่ายอาหารกุ้งภายใต้ตรา
สินค้าของบริษัทเอง อันรวมถึง ซีพี สตาร์ฟีด มารีน ไฮเกร์ด โนโว่ เอราวัณ เทอร์โบ ดีฟอรค
เซฟฟีด

จากการที่บริษัทเป็นผู้นาในธุรกิจ และผลิตภัณฑ์เป็นที่รู้จักแพร่หลายในกลุ่มลูกค้าของบริษัท
ดังนั้น กลยุทธ์ทางการตลาดที่สาคัญ คือ การรักษามาตรฐานคุณภาพของผลิตภัณฑ์และการ
ให้บริการให้ดีอย่างต่อเนื่อง โดยได้มีการตรวจสอบคุณภาพของกระบวนการผลิตทุกขั้นตอน
อันรวมถึงการตรวจสอบ คุณภาพของวัตถุดิบที่นามาใช้ในการผลิต บริษัทได้มีการให้ความรู้
ด้านวิชาการทั้งแก่ตัวแทนจาหน่ายอาหารสัตว์และ เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์โดยตรง ทั้งในรูปแบบ
ของการจัดสัมมนาทางวิชาการ การจัดตั้งศูนย์บริการวิชาการที่มีนักวิชาการคอยให้คาปรึกษา
และแนะนาแก่ เกษตรกร ตลอดจนการเผยแพร่ข่าวสารเกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์ในรูปของสิ่งพิมพ์
ต่างๆ ซึ่งเป็นการช่วยให้อุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์นั้นมีความยั่งยืน




ผลิตภัณฑ์ ในธุรกิจนี้เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากฟาร์มเพาะพันธุ์สัตว์น้าและฟาร์มเลี้ยง กุ้ง โดย
ผลิตภัณฑ์หลักในธุรกิจนี้มีรายละเอียดพอสังเขป ดังนี้

ลูก กุ้งคุณภาพเป็นปัจจัยสาคัญประการหนึ่งสาหรับการเลี้ยงกุ้งให้ประสบความ สาเร็จ บริษัทจึง
ได้ให้ความสาคัญในงานวิจัยและพัฒนาการเพาะพันธุ์ลูกกุ้งคุณภาพ ที่มีความต้านทานโรคสูง
เหมาะสมกับสภาวะการเลี้ยงในแต่ละประเทศ โดยส่วนใหญ่เป็นกุ้งสายพันธุ์กุ้งขาว และ
บางส่วนเป็นสายพันธุ์กุ้งกุลาดา

บริษัท ได้มีการพัฒนาพันธุ์ปลาเพื่อจาหน่ายลูกปลาให้เกษตรกรผู้เลี้ยงปลา อันรวมถึงพันธุ์ปลา
ทับทิม ซึ่งเป็นปลาที่มีสายพันธุ์มาจากปลานิล ปลามรกต ซึ่งเป็นปลาที่มีสายพันธุ์มาจากปลากด
และปลาหยก ซึ่งเป็นปลาที่มีสายพันธุ์มาจากปลาเก๋า

ฟาร์มเพาะพันธุ์กุ้งและปลาของบริษัท มีระบบการจัดการที่ดี ใช้เทคนิคการเลี้ยงที่ทันสมัย มี
ระบบควบคุมและป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพ ทาให้มีผลผลิตที่มีคุณภาพเป็นที่ต้องการของ
ตลาด โดยราคาขึ้นอยู่กับความต้องการใช้และปริมาณผลผลิตที่มีจาหน่ายในประเทศไทย และ
คุณภาพของผลิตภัณฑ์

บริษัท ได้มีการเลี้ยงกุ้งเพื่อป้อนให้กับโรงงานแปรรูปของบริษัท โดยใช้ลูกกุ้งจากฟาร์ม
เพาะพันธุ์ลูกกุ้งและอาหารกุ้งของบริษัทเองในการ เลี้ยง ซึ่งการจัดการฟาร์มเลี้ยงกุ้งนั้นบริษัท
ใช้วิชาการและเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อหาวิธีป้องกันโรคระบาดของกุ้ง เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
และเน้นการเลี้ยงแบบเทคโนโลยีชีวภาพ (Probiotic Farming) ที่หลีกเลี่ยงการใช้ยาและสารเคมี

บริษัท มีการส่งออกกุ้งสดแช่แข็งอันเป็นผลผลิตจากโรงงานแปรรูปไปยังต่างประเทศ ผ่านทาง
ผู้นาเข้าในประเทศต่างๆ โดยราคานั้นผันแปรไปตามปริมาณความต้องการและปริมาณผลผลิต
ที่มีจาหน่าย หรือเป็นราคาที่ตกลงกันสาหรับสินค้าที่ผลิตตามคาสั่งซื้อของลูกค้า




ผลิตภัณฑ์ หลักในธุรกิจอาหาร คือ กุ้งปรุงสุกหรือกึ่งปรุงสุก และผลิตภัณฑ์อาหารพร้อม
รับประทาน ในรูปสินค้าแช่เย็นและแช่แข็ง โดยจาหน่ายภายใต้ตราสินค้าของลูกค้าหรือตรา
สินค้าของบริษัทในประเทศผ่านทาง โมเดิร์นเทรด ร้านค้าสะดวกซื้อ ฟู้ดส์เซอร์วิส หรือ ซีพี
เฟรชมาร์ทซึ่งเป็นช่องทางจาหน่ายของบริษัทเอง และส่งออกไปยังประเทศต่างๆ ผ่านทางผู้
นาเข้าในต่างประเทศ

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของบริษัทในกระบวนการนี้ บริษัทจะเน้นการแปรสภาพกุ้งให้เป็น
ผลิตภัณฑ์อาหารทั้งในรูปแบบของอาหารกึ่ง สาเร็จรูปและอาหารสาเร็จรูปตามคาสั่งซื้อของ
ลูกค้า โดยนาไปผสมเครื่องปรุงรส และทาให้สุก โดยผ่านขบวนการต้ม นึ่ง ทอด อบ ย่าง และ
อื่นๆ เช่น เกี๊ยวกุ้ง กุ้งต้มสุก เป็นต้น

ประเทศที่นาเข้าหลัก ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และกลุ่มประเทศในสหภาพยุโรป ซึ่ง
นอกเหนือจากการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐานแล้ว บริษัทยังให้
ความสาคัญอย่างมากในเรื่องความสะอาดและคุณภาพของสินค้า ส่วนในเรื่องของราคานั้นเป็น
ราคาที่ตกลงกันกับลูกค้าในแต่ละครั้งที่ทาสัญญา ซื้อขาย




บริษัทได้ มีการใช้ระบบสุ่มตรวจเพื่อตรวจสอบมาตรฐานคุณภาพของวัตถุดิบและสินค้าในการ
ผลิตทุกๆ ขั้นตอน รวมไปถึงการตรวจสอบย้อนกลับไปถึงแหล่งที่มาของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต

บริษัทได้มีความมุ่งมั่นในการดาเนินการปรับปรุงกระบวนการผลิต เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน
การควบคุมคุณภาพสากลที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป อันรวมถึง Good Manufacturing Practices
(GMP) ซึ่งเป็นรางวัลมาตรฐานขั้นตอนการผลิตที่ดี Hazard Analysis and Critical Control Point
(HACCP) ซึ่งเป็นระบบการผลิตอาหารที่ปลอดภัย มาตรฐาน EST/TH, ISO 9002 ซึ่งเป็น
มาตรฐานสากลของระบบการดาเนินงานและจัดการการผลิต มาตรฐาน British Retail Consortium
Standard ซึ่งเป็นมาตรฐานสาหรับอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งครอบคลุมกระบวนการผลิตและการ
จัดการบุคลากร มาตรฐาน OSHAS 18000 (Occupational Safety & Health Administration
management System) ซึ่งเป็นมาตรฐานเกี่ยวกับการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการ
ทางาน มาตรฐาน ISO 14001 ซึ่งเป็นมาตรฐานในเรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี และมาตรฐาน
ISO 18001 ซึ่งเป็นมาตรฐานรับรองในเรื่องของความปลอดภัยและสวัสดิภาพของพนักงาน




              ระบบ ISO 9001         ระบบ ISO 14001            ระบบ BRC
              ระบบ ACP              ระบบ OHSAS 18001           เนื้อสัตว์อนามัย

นอก จากนั้น บริษัทเป็นบริษัทแรกนอกสหภาพยุโรปที่ได้รับการรับรองมาตรฐานสวัสดิภาพสัตว์
(Animal Welfare Standard) สาหรับการผลิตไก่เพื่อการส่งออก ซึ่งมาตรฐานดังกล่าวนี้นับเป็น
มาตรฐานการผลิตที่มีกฎระเบียบเข้มงวดที่สุดใน อุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ในปัจจุบัน กล่าวคือ
ผู้ผลิตจะต้องดาเนินการทุกขั้นตอนที่คานึงถึงความสุขของไก่ตลอดระยะเวลาการ เลี้ยง เป็นต้นว่า
ไก่ที่เลี้ยงจะต้องมีอิสระจากความหิวและกระหาย (มีระบบการเลี้ยงที่ให้อาหารและน้าพอเพียง) มี
อิสระจากความอึดอัด (สภาพแวดล้อมโรงเรือนมีลักษณะเหมาะสม กว้างขวาง) มีอิสระจากความ
เจ็บปวด บาดเจ็บหรือเป็นโรค (มีระบบการป้องกันโรคที่ดี การจับไก่ในแต่ละครั้งเป็นไปอย่าง
นุ่มนวล) มีอิสระในการเป็นอยู่อย่างธรรมชาติ (การใช้อุปกรณ์อย่างเหมาะสม พื้นที่การเลี้ยงที่
สอดคล้องกับธรรมชาติของสัตว์) มีอิสระจากความกลัวและกังวล (ด้วยสภาวะการเลี้ยงดูที่ไม่ทาให้
เกิดความทุกข์ทรมานทางจิตใจ เช่น ระหว่างการจับไก่ก่อนการเข้าโรงเชือด)




ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทที่ซีพีเอฟถือหุ้นทั้งทางตรงและทางอ้อมในสัดส่วนเกินกว่า
ร้อยละ 50.00 ของจานวนหุ้นที่จาหน่ายแล้วของบริษัทนั้น และบริษัทที่ซีพีเอฟมีอานาจควบคุม
มีจานวนทั้งสิ้น 98 บริษัท แบ่งตามประเภทธุรกิจได้ดังนี้:



ซีพีเอฟ มีบริษัทย่อยที่มีกิจการในประเทศไทย และที่
ดาเนินธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับ กิจการในประเทศไทย
ดังนี้




ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ซีพีเอฟมีบริษัทย่อยที่มีกิจการในประเทศไทยและที่ดาเนินธุรกิจที่
เกี่ยว เนื่องกับกิจการในประเทศไทยจานวน 72 บริษัท



  บริษัท                                  ชื่อย่อ ลักษณะธุรกิจหลัก              สัดส่วน
                                                                               การถือหุ้น
                                                                               ทั้งทางตรง
และ
                                                                ทางอ้อม
                                                                (ร้อยละ)
บมจ. กรุงเทพโปรดิ๊วส           BKP ซื้อและขายวัตถุดิบอาหาร       99.44
                                   สัตว์ และธุรกิจไก่เนื้อครบ
                                   วงจร
บมจ. กรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรม   BAP ผลิตอาหารสัตว์ และเลี้ยง      99.98
การเกษตร                           สัตว์
บจ. กรุงเทพผลิตภัณฑ์อาหาร      BFP ผลิตอาหารสัตว์ เลี้ยงสัตว์    99.99
                                   และผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร
                                   แปรรูปจากเนื้อสัตว์
บมจ. เจริญโภคภัณฑ์อีสาน        CPNE ผลิตอาหารสัตว์ และเลี้ยง     99.61
                                    สัตว์
บจ.เจริญโภคภัณฑ์อุตสาหกรรม     CPIN ผลิตอาหารสัตว์ และเลี้ยง     99.99
                                    สัตว์
บจ. ซี.พี.เกษตรอุตสาหกรรม      CPAI เลี้ยงสัตว์                  99.99
บจ. ซี.พี.เมอร์แชนไดซิ่ง       CPM กิจการลงทุนและการค้า          99.99
                                   ระหว่างประเทศ
บจ. ซี.พี.ผลิตภัณฑ์อาหาร        CP ร้านอาหาร                     99.99
                               FOOD
บจ. ซีพีเอฟ เทรดดิ้ง           CPFT ค้าส่งและค้าปลีกผลิตภัณฑ์    99.99
                                    อาหาร
บจ. ซีพีเอฟ โลจิสติกส์         CPFL ให้บริการขนส่งสินค้า         99.99
บจ. ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร      CPF ธุรกิจไก่เนื้อครบวงจร        99.99
                               FOOD
บจ. ซีพีเอฟ พรีเมียมฟู้ดส์     CPF ผลิตผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป      99.99
(เดิมชื่อ บจ. ซีพี-โยเนะคิว)   PM จากเนื้อสัตว์
บจ. บี.พี.ผลิตภัณฑ์อาหาร       BPF ผลิตอาหารสัตว์ และเลี้ยง      99.99
                                   สัตว์
บจ. ฟาร์มกรุงเทพ*              BKF เลี้ยงสัตว์ และแปรรูป         99.99
เนื้อสัตว์
บจ. ยูนิเวอร์แซล ฟู้ด แอนด์ มาร์เก็ตติ้ง UF&M ค้าส่งและค้าปลีกผลิตภัณฑ์   99.99
                                              อาหารสาเร็จรูป
บจ. ราชบุรีอาหาร                        RBF ผลิตอาหารสัตว์ และเลี้ยง      99.99
                                            สัตว์
บจ. อินเตอร์เนชั่นแนล เพ็ท ฟู้ด         IPF ผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑ์       99.99
                                            อาหารสาเร็จรูปสาหรับสัตว์
                                            เลี้ยง
Charoen Pokphand                              ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย      29.17
(Taiwan) Co., Ltd.                            สินค้าประเภทอาหารเสริม
(จัดตั้งในประเทศไต้หวัน)                      และวัคซีนสาหรับสัตว์
CP Foods (UK) Ltd.                      CPF ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย        52.00
(จัดตั้งในประเทศอังกฤษ)                 UK สินค้าประเภทอาหารแปรรูป
                                            จากเนื้อสัตว์ และอาหาร
                                            สาเร็จรูป
CPF Denmark A/S                         CPF ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย        52.00
(จัดตั้งในประเทศเดนมาร์ก)               DM สินค้าประเภทอาหารแปรรูป
                                            จากเนื้อสัตว์ และอาหาร
                                            สาเร็จรูป
CPF Europe S.A.                        CPF EU ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย      99.99
(จัดตั้งในประเทศเบลเยี่ยม)                    สินค้าประเภทอาหารแปรรูป
                                              จากเนื้อสัตว์ และอาหาร
                                              สาเร็จรูป
CPF Food Trading Co., Ltd. (เดิมชื่อ   CPFFT ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย       100.00
C.P. Food Product (Shanghai) Co.,            สินค้าประเภทอาหารแปรรูป
Ltd.) (จัดตั้งในประเทศสาธารณรัฐ              จากเนื้อสัตว์ และอาหาร
ประชาชนจีน)                                  สาเร็จรูป
CPF Tokyo Co., Ltd .                   CPF TK ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย      99.99
(จัดตั้งในประเทศญี่ปุ่น)                      สินค้าประเภทอาหารแปรรูป
                                              จากเนื้อสัตว์ และอาหาร
                                              สาเร็จรูป
Fusion Abbey Park Ltd.             ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย    52.00
(เดิมชื่อ Abbey Park Foods Ltd.)   สินค้าประเภทอาหารแปรรูป
(จัดตั้งในประเทศอังกฤษ)            จากเนื้อสัตว์ และอาหาร
                                   สาเร็จรูป
Fusion Brothwood Ltd.              ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย    52.00
(เดิมชื่อ Brothwood Ltd.)          สินค้าประเภทอาหารแปรรูป
(จัดตั้งในประเทศอังกฤษ)            จากเนื้อสัตว์ และอาหาร
                                   สาเร็จรูป
Fusion Calis Ltd.                  ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย    52.00
(เดิมชื่อ Calis Foods Ltd.)        สินค้าประเภทอาหารแปรรูป
(จัดตั้งในประเทศอังกฤษ)            จากเนื้อสัตว์ และอาหาร
                                   สาเร็จรูป
Fusion Carnoustie Ltd.             ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย    52.00
(เดิมชื่อ Carnoustie Foods Ltd.)   สินค้าประเภทอาหารแปรรูป
(จัดตั้งในประเทศอังกฤษ)            จากเนื้อสัตว์ และอาหาร
                                   สาเร็จรูป
Fusion Dalaman Ltd.                ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย    52.00
(เดิมชื่อ Dalaman Ltd.)            สินค้าประเภทอาหารแปรรูป
(จัดตั้งในประเทศอังกฤษ)            จากเนื้อสัตว์ และอาหาร
                                   สาเร็จรูป
Fusion Dormington Ltd.             ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย    52.00
(เดิมชื่อ Dormington Foods Ltd.)   สินค้าประเภทอาหารแปรรูป
(จัดตั้งในประเทศอังกฤษ)            จากเนื้อสัตว์ และอาหาร
                                   สาเร็จรูป
Fusion Driscoll Ltd.               ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย    52.00
(เดิมชื่อ Driscoll Foods Ltd.)     สินค้าประเภทอาหารแปรรูป
(จัดตั้งในประเทศอังกฤษ)            จากเนื้อสัตว์ และอาหาร
                                   สาเร็จรูป
Fusion Everton Ltd.                ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย    52.00
(เดิมชื่อ Everton Ltd.)            สินค้าประเภทอาหารแปรรูป
(จัดตั้งในประเทศอังกฤษ)            จากเนื้อสัตว์ และอาหาร
                                   สาเร็จรูป
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om
รายงาน Om

More Related Content

What's hot

ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)Love Plukkie Zaa
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1วีระยศ เพชรภักดี
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒Jiraprapa Noinoo
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพkrupeem
 
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความSurapong Klamboot
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรมแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรมสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planinnoobecgoth
 

What's hot (20)

ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)ปตท จำกัด(มหาชน)
ปตท จำกัด(มหาชน)
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือใบความรู้กาพย์เห่เรือ
ใบความรู้กาพย์เห่เรือ
 
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรมแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ โรงแรม
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Plan
 

Similar to รายงาน Om

ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
Greeen bus plan green restuarant 15 june 2014
Greeen bus plan   green restuarant 15 june 2014Greeen bus plan   green restuarant 15 june 2014
Greeen bus plan green restuarant 15 june 2014Utai Sukviwatsirikul
 
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.DrDanai Thienphut
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writingChutikarn Haruthai
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)Nattakorn Sunkdon
 
การเปรียบ..
การเปรียบ..การเปรียบ..
การเปรียบ..chatuporn
 
Usana present sept 10
Usana present sept 10Usana present sept 10
Usana present sept 10topstarteam
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนาดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนาDrDanai Thienphut
 
PHOL Oppday 2553Q4
PHOL Oppday 2553Q4PHOL Oppday 2553Q4
PHOL Oppday 2553Q4Share Rora
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)Nattakorn Sunkdon
 
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558L.P.N. Development PCL.
 
Thai President Foods Public Company Limited (Mama)
Thai President Foods Public Company Limited (Mama)Thai President Foods Public Company Limited (Mama)
Thai President Foods Public Company Limited (Mama)Thanakrit Lersmethasakul
 
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdfchapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdfPhatchaRee5
 
Business Plan # Mind Health
Business Plan # Mind HealthBusiness Plan # Mind Health
Business Plan # Mind Healthmonsadako
 

Similar to รายงาน Om (20)

ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
Greeen bus plan green restuarant 15 june 2014
Greeen bus plan   green restuarant 15 june 2014Greeen bus plan   green restuarant 15 june 2014
Greeen bus plan green restuarant 15 june 2014
 
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.
THAI UNION FROZEN PRODUCTS PCL.
 
case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
 
Presentation งานกลุ่ม1
Presentation งานกลุ่ม1Presentation งานกลุ่ม1
Presentation งานกลุ่ม1
 
H&f 2010
H&f 2010H&f 2010
H&f 2010
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writing
 
Tipco
TipcoTipco
Tipco
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
 
การเปรียบ..
การเปรียบ..การเปรียบ..
การเปรียบ..
 
Usana present sept 10
Usana present sept 10Usana present sept 10
Usana present sept 10
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนาดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
ดร.ดนัย เทียนพุฒ : รายงานของ นศ.MBA มวล. กรณีเครือกฤษฏา&เครืออิสระวัฒนา
 
PHOL Oppday 2553Q4
PHOL Oppday 2553Q4PHOL Oppday 2553Q4
PHOL Oppday 2553Q4
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)
 
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
 
Tqa
TqaTqa
Tqa
 
Thai President Foods Public Company Limited (Mama)
Thai President Foods Public Company Limited (Mama)Thai President Foods Public Company Limited (Mama)
Thai President Foods Public Company Limited (Mama)
 
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdfchapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
chapter 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการ .pdf
 
Business Plan # Mind Health
Business Plan # Mind HealthBusiness Plan # Mind Health
Business Plan # Mind Health
 

รายงาน Om

  • 1. รายงาน วิชา องค์การและการจัดการ เรื่อง บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด(มหาชน) จัดทาโดย 1.นายชูศักดิ์ คาทอง 54010915001 2.นาสาวกรรณิกา ใจยอง 54010915011 3.นายณรงค์ศักดิ์ คาจันทร์ 54010915036 4.นางสาวมัลลิกา ภูแซมแสง 54010915097 5.นางสาวพิมพกานต์ ประทุม 5401091206 นิสิตชั้นปีที่ 1 คณะการบัญชีและการจัดการ สาขาเศรฐศาสตร์ธุรกิจ (BE541) เสนอ อาจารย์ วจนะ ภูผานี อาจารย์ประจาวิชาองค์การและการจัดการ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาองค์การและการจัดการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 มหาวิทยาลัยมาสารคาม
  • 2. คานา รายงานนี้จัดทาขึ้นเพื่อการนาเสนอผลงานทางด้านการศึกษาเป็นการศึกษาหาความรู้นอก ห้องเรียนโดยการใช่ความรู้ที่มีหาขอมูลที่จะทา รายงานนี้เป็นการจัดทาในเรื่องของ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการบริหาร การว่างแผนการทางานของ บริษัทที่มีขนาดใหญ่และเป็นธุรกิจที่มีความเปิดเผยข้อมูลเพื่อเป็นการสร้างความมั่นคงในเรื่องของการงาน และยังเป็นบริษัท(มหาชน)จากัดนี้ก็เป็นตัวชี้วัดความมั่นคงของบริษัท บริษัทนี้จัดได้ว่าเป็นการบริหารที่ ครอบคลุมความต้องการของคนในสมัยปัจจุบัน ในเรื่องการบริโภค ประชาชนในสมัยนี้เป็นประชาชนที่ทันยุคทันสมัยเดิมตามเทคโนโลยีที่มีนเริ่มที่จะก้าวหน้า อย่างรวดเร็วและมีการทางานอย่างแข่งขันสูงทาให้ประชาชนทั่วไปต้องใช่ชีวิตอยู่ในความเร่งรีบ ทาให้เกิด แนวความใหม่ของผู้ผลิต ดั้งนั้นจึงได้เกิดบริษัทต่างๆเพิ่มขึ้นมากมาย บริษัทเกี่ยวกับอาหารก็มีมากมายใน ปัจจุบัน ในการคิดสิ่งที่ใหม่และรวดเร็วในปัจจุบันจึงได้มีผลิตภัณฑ์ที่รวดเร็วสาหรับคนที่เร่งรีบในการ ทางานขึ้นมาเพื่อตอบสนองความต้องการ ดั้งนั้นทางบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน)ได้จัดการ บริหารจัดการในเรื่องของสินค้าอุปโภค บริโภค มากมายและบริษัทในเครืออีกมากมาย ดั้งนั้นผู้ที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน)สามารถเข้าศึกษา เกี่ยวกับเรื่องได้ตามความต้องการ หากมีข้อผิดพลาดหรือได้ต้องอภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา
  • 3. สารบัญ หน้า บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) 1 ข้อมูลทั่วไป 1 คณะกรรมการบริษัท 7 โครงสร้างการจัดการของบริษัท 10 นโยบายการลงทุนและการบริหาร 11 กระบวนการผลิตแบบครบวงจร 12 มาตรฐานการผลิต 20 กิจการในประเทศไทย 21 กิจการในต่างประเทศ 29 บริษัทร่วม 33 การวิจัยและพัฒนา 34 การประกันคุณภาพ 40 ระบบตรวจสอบย้อนกลับ 44 ระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ 45 ตัวอย่างบริษัทในเครือ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) 54 ค่านิยม 58 ปรัชญาองค์กร 58 วิสัยทัศน์ 58 พันธกิจ 58 ภาวะการตลาดและการแข่งขัน 61 ปัจจัยสาคัญที่กาหนดความสาเร็จของบริษัท 62 เป้าหมายของการดาเนินธุรกิจ 64 วิเคราะห์สถานะภาพของ บ. เซเว่นอีเลฟเว่น 65 การวิเคราะห์ทัศนภาพ 67 การวิเคราะห์ภายในองค์กร 69
  • 4. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด(มหาชน) ข้อมูลทั่วไป (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553) สถานที่ตั้งสานักงานใหญ่ เลขที่ 313 อาคาร ซี.พี. ทาวเวอร์ ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 ประเทศไทย หมายเลขโทรศัพท์ ส่วนกลาง:+66 (0) 2625 8000 สานักเลขานุการบริษัท: +66 (0) 2625 8352, 8354 สานักลงทุนสัมพันธ์: +66 (0) 2625 8322, 8356 หมายเลขโทรสาร +66 (0) 2638 2139 ที่อยู่เว็บไซต์ http://www.cpfworldwide.com ประเภทธุรกิจ เกษตรอุตสาหกรรมและอาหารทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ สถานะทางกฎหมาย บริษัทมหาชนจากัด จดทะเบียนจัดตั้งในประเทศไทย เลขทะเบียนบริษัท 0107537000246 ทุนจดทะเบียน 8,206.66 ล้านบาท จานวนหุ้นที่จาหน่ายแล้ว 7,519.94 ล้านหุ้น เป็นหุ้น สามัญทั้งจานวน จานวนหุ้นทุนที่ซื้อคืน 471.00 ล้านหุ้น จานวนหุ้นภายหลังหักหุ้นทุนซื้อคืน 7,048.94 ล้าน หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ (Par Value) 1.00 บาทต่อหุ้น จานวนบริษัทย่อย 110 บริษัท ชื่อย่อในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย CPF สาหรับหุ้นสามัญ ชื่อย่อหุ้นกู้ที่จดทะเบียนในสมาคมตลาด ตราสารหนี้ไทยและ/หรือตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย CPF117A สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 1/2549 ชุดที่ 2 CPF12OA สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 1/2550 ชุดที่ 2 CPF118A สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 1/2551 ชุดที่ 1 CPF138A สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 1/2551 ชุดที่ 2 CPF13NA สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 1/2552 ชุดที่ 1 CPF14NA สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 1/2552 ชุดที่ 2 CPF15NA สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 1/2552 ชุดที่ 3 CPF155A สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 2/2552 CPF155B สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 1/2553 CPF14NB สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 2/2553 ชุดที่ 1 CPF17NA สาหรับหุ้นกู้ครั้งที่ 2/2553 ชุดที่ 2 (รายละเอียดของหุ้นกู้โดยสรุป สามารถดูได้ที่ www.cpfworldwide.com หัวข้อ นักลงทุนสัมพันธ์)
  • 5. ประวัติ ความเป็นมาและพัฒนาการที่สาคัญที่กล่าวถึงในส่วนนี้ เป็นพัฒนาการที่เกี่ยวกับการดาเนินธุรกิจ และการลงทุนของบริษัทที่สาคัญโดยสรุป  จดทะเบียนเป็นบริษัทจากัด ในนาม “บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหารสัตว์ จากัด ” เพื่อผลิตและ จาหน่ายอาหารสัตว์ในเขตภาคใต้ของประเทศไทย  จดทะเบียนหุ้นสามัญเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทยภายใต้ชื่อย่อ ว่า “CPF”  แปรสภาพเป็น “บริษัทมหาชนจากัด” และเปลี่ยนชื่อเป็น “บริษัท เจริญโภคภัณฑ์ อาหารสัตว์ จากัด (มหาชน)”  เข้า ซื้อหุ้นสามัญในบริษัทมหาชนที่ดาเนินธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมของเครือเจริญ โภคภัณฑ์ใน ประเทศไทย เข้ามาอยู่ภายใต้การบริหารงานของซีพีเอฟ  เข้า ซื้อหุ้นสามัญในบริษัทจากัดที่ดาเนินธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมและอาหารของเครือ เจริญโภค ภัณฑ์จานวน 9 แห่ง ซึ่งภายใต้โครงสร้างใหม่จากการลงทุนในปี 2541 และการลงทุนครั้งนี้ ทาให้ กลุ่มบริษัทซีพีเอฟมีการดาเนินธุรกิจครอบคลุมไปทั่วทุกภาคของประเทศ โดยแบ่งเป็น 2 ธุรกิจ หลักคือ ธุรกิจสัตว์บก และธุรกิจสัตว์น้า ซึ่งทั้ง 2 ธุรกิจนี้มีการดาเนินงานในลักษณะครบวงจร โดย เริ่มจากการสรรหาวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตอาหารสัตว์ การผลิตและจาหน่ายอาหารสัตว์ การ เพาะพันธุ์สัตว์ การแปรรูป เนื้อสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ และการผลิตสินค้าอาหารจากเนื้อสัตว์  เพื่อ ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของกลุ่มบริษัทซีพีเอฟที่ประสงค์ที่จะผลิตอาหารที่ มีคุณภาพสู่ตลาด ทั่วโลก จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น “บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน)”  เปลี่ยนแปลงนโยบายการจ่ายเงินปันผลเป็นการจ่ายปันผลปีละ 4 ครั้ง
  • 6. เปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้นสามัญที่ตราไว้จากเดิมหุ้นละ 10 บาท เป็นหุ้นละ 1 บาท  จัดตั้งบริษัทย่อยใหม่จานวน 5 บริษัท โดยซีพีเอฟถือหุ้นทางตรงและทางอ้อม ร้อยละ 99.99 ดังนี้ 1. C.P. Aquaculture (Beihai) Co., Ltd. เพื่อดาเนินธุรกิจสัตว์น้าในประเทศ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน 2. C.P. Food Product (Shanghai) Co., Ltd. เพื่อดาเนินธุรกิจร้านอาหารไทยในประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน (เปลี่ยนชื่อเป็น CPF Food Trading Co., Ltd. และเปลี่ยนการ ดาเนินธุรกิจเป็นผู้นาเข้าและจัดจาหน่ายสินค้าประเภทเนื้อ สัตว์แปรรูปและ ผลิตภัณฑ์ อาหารสาเร็จรูปในปี 2552) 3. CPF Europe S.A. เพื่อดาเนินธุรกิจนาเข้าและจัดจาหน่ายสินค้าประเภท เนื้อสัตว์แปรรูป และผลิตภัณฑ์อาหารสาเร็จรูปในกลุ่มประเทศในสหภาพยุโรป 4. บริษัท ซีพีเอฟ ไอทีเซ็นเตอร์ จากัด เพื่อให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้แก่กลุ่ม บริษัทซีพีเอฟเป็นหลัก 5. บริษัท ซีพีเอฟ เทรนนิ่งเซ็นเตอร์ จากัด เพื่อให้บริการด้านการฝึก อบรมให้แก่ พนักงานของ กลุ่มบริษัทซีพีเอฟเป็นหลัก  เข้า ร่วมลงทุนใน CP Foods (UK) Limited กับนักธุรกิจชาวอังกฤษ เพื่อดาเนินธุรกิจการนาเข้าและ จัดจาหน่ายสินค้าประเภทอาหารแปรรูปจากเนื้อ สัตว์และอาหารสาเร็จรูปในสหราชอาณาจักร โดย ซีพีเอฟถือหุ้นทางอ้อมในสัดส่วนร้อยละ 52.00  จัดตั้งบริษัทย่อยใหม่จานวน 4 บริษัท โดยซีพีเอฟถือหุ้นทางตรงและทางอ้อมใน สัดส่วนร้อยละ 99.99 ดังนี้ 1. CP Foods West, Inc. เพื่อนาเข้าและจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารในประเทศสหรัฐอเมริกา 2. บริษัท ยูนิเวอร์แซล ฟู้ด แอนด์ มาร์เก็ตติ้ง จากัด เพื่อดาเนินธุรกิจค้าส่งและ ค้าปลีก ผลิตภัณฑ์อาหารสาเร็จรูป และธุรกิจอาหารจานด่วนในประเทศไทย 3. บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล เพ็ท ฟู้ด จากัด เพื่อดาเนินธุรกิจค้าส่งและค้าปลีก ผลิตภัณฑ์ อาหารสาเร็จรูป สาหรับสัตว์เลี้ยงในประเทศไทย 4. C.P. Aquaculture (Hainan) Co., Ltd. เพื่อดาเนินธุรกิจผลิตและจาหน่าย อาหารสัตว์ ฟาร์ม เพาะเลี้ยงสัตว์น้า และเพาะพันธุ์สัตว์น้า ในประเทศสาธารณรัประชาชนจีน  เข้า ร่วมลงทุนกับ Aviagen, Inc. จัดตั้งบริษัท รอส บรีดเดอร์ส สยาม จากัด เพื่อ ดาเนินธุรกิจผลิต และจาหน่ายลูกไก่พ่อแม่พันธุ์เนื้อในประเทศไทย โดยซีพเอฟถือหุ้นทางอ้อม ในสัดส่วนร้อยละ 49.99
  • 7. เข้าลง ทุนโดยบริษัทย่อยเพื่อซื้อหุ้นสามัญในสัดส่วนร้อยละ 84.49 ของ C.P. Standart Gida Sanayi ve Ticaret A.S. ซึ่งเป็นบริษัทที่ดาเนินธุรกิจอาหารสัตว์ และไก่ครบวงจร ในประเทศตุรกี  จัดตั้ง บริษัทย่อยใหม่ได้แก่ CPF Tokyo Company Limited เพื่อดาเนินธุรกิจนาเข้าและจัดจาหน่าย สินค้า ประเภทเนื้อสัตว์แปรรูป และผลิตภัณฑ์อาหารสาเร็จรูปในประเทศญี่ปุ่น โดย ซีพีเอฟ ถือหุ้น ทางอ้อมในสัดส่วนร้อยละ 99.99  โอน กิจการแปรรูปสัตว์น้า จากบริษัทย่อย 3 บริษัท ได้แก่ บริษัท ซีฟู้ดส์ เอ็นเตอร์ไพรซ์ จากัด บริษัท กรุงเทพเพาะเลี้ยงกุ้ง จากัด และบริษัท แกลง จากัด เพื่อปรับโครงสร้างการดาเนิน ธุรกิจสาย สัตว์น้า ซึ่งประกอบด้วย การผลิตอาหารสัตว์น้า การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า และการแปรรูปให้เข้ามาอยู่ ภายใต้บริษัทเดียว  จัดตั้งบริษัทย่อยขึ้นใหม่จานวน 3 บริษัท ดังนี้ 1. Calibre Nature (M) Sdn. Bhd. เพื่อการลงทุนในธุรกิจสายสัตว์น้าในประเทศมาเลเซีย ซึ่ง รวมถึงการผลิตและจาหน่ายอาหารสัตว์น้า ฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้า และแปรรูปสัตว์น้าโดย ซีพีเอฟถือหุ้นร้อยละ 100.00 2. บริษัท ซีพี-โยเนะคิว จากัด (เปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท ซีพีเอฟ พรีเมียมฟู้ดส์ จากัด ในปี 2552) เพื่อผลิตผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากเนื้อสัตว์ โดย ซีพีเอฟถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 80.50 (ปัจจุบัน ซีพีเอฟถือหุ้นร้อยละ 99.99) 3. CPF Denmark A/S เพื่อดาเนินธุรกิจนาเข้าของกลุ่มบริษัท และแหล่งอื่นๆ เพื่อนาไปจัด จาหน่ายในกลุ่มประเทศแถบสแกนดิเนเวียและยุโรป โดยซีพีเอฟถือหุ้นทางอ้อมใน สัดส่วนร้อยละ 52.00  เข้า ซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนใน Charoen Pokphand (India) Private Limited (CP India) โดยบริษัทย่อย เป็นผลให้สัดส่วนการถือหุ้น CP India เพิ่มจากร้อยละ 19.00 เป็น ร้อยละ 71.20 ทาให้ CP India มี สถานะเป็นบริษัทย่อยของซีพีเอฟ  รวม กิจการของบริษัทย่อยในกลุ่มธุรกิจอาหารครบวงจรในเขตกรุงเทพมหานคร โดยผู้โอน ได้แก่ บริษัท ฟาร์ม กรุงเทพ จากัด บริษัท ซี.พี. อุตสาหกรรมอาหาร ส่งออก จากัด และบริษัท ซี.พี. ผลิตภัณฑ์อาหาร จากัด และผู้รับโอนกิจการได้แก่ บริษัท ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร จากัด  เข้า ซื้อหุ้นสามัญทั้งหมดของ Star Feedmills (M) Sdn. Bhd. (“SFM”) โดยบริษัทย่อย เป็นผลให้ซีพี เอฟถือหุ้นทางอ้อมใน SFM ร้อยละ 100.00
  • 8. เข้าซื้อธุรกิจการผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากเนื้อสัตว์จาก บริษัท ซี .พี.อินเตอร์ฟู้ด (ไทยแลนด์) จากัด  ขายเงินลงทุนในหุ้นสามัญ LOTUS-CPF (PRC) Investment Co., Ltd. ทั้งหมดออกไป  จัดตั้งบริษัทย่อยขึ้นใหม่จานวน 2 บริษัท ดังนี้ 1. Charoen Pokphand Foods (Overseas) LLC. เพื่อดาเนินธุรกิจผลิตอาหาร สัตว์ และเลี้ยง สัตว์ในประเทศรัสเซีย โดยซีพีเอฟถือหุ้นทางอ้อมในสัดส่วนร้อยละ 99.99 2. C.P. Laos Co., Ltd. เพื่อดาเนินธุรกิจผลิตอาหารสัตว์ และเลี้ยงสัตว์ ในประเทศสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยซีพีเอฟถือหุ้นทางอ้อม ในสัดส่วนร้อยละ 99.61  เข้า ซื้อหุ้นสามัญทั้งหมดของ Asia Aquaculture (M) Sdn. Bhd. (“AA”) โดยบริษัทย่อย เป็นผลให้ซี พีเอฟถือหุ้นทางอ้อมใน AA ร้อยละ 100.00  เปลี่ยนแปลงนโยบายการจ่ายเงินปันผลเป็นการจ่ายปันผลปีละ 2 ครั้ง  จัดตั้งบริษัทย่อยขึ้นใหม่จานวน 2 บริษัท ดังนี้ 1. C.P. Aquaculture (Dongfang) Co., Ltd. เพื่อดาเนินธุรกิจฟาร์มเพาะฟัก ลูกกุ้งในประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยซีพีเอฟถือหุ้นทางตรงใน สัดส่วนร้อยละ 100.00 2. Charoen Pokphand Foods Philippines Corporation เพื่อดาเนินธุรกิจเพาะฟักลูกกุ้งใน ประเทศฟิลิปปินส์ โดยซีพีเอฟถือหุ้นทางตรงในสัดส่วน ร้อยละ 100.00  เข้า ซื้อหุ้นสามัญของ C.P. Standart Gida Sanayi ve Ticaret A.S. (“CPS”) โดยบริษัทย่อย เป็นผล ให้สัดส่วนการถือหุ้นใน CPS เพิ่มจากร้อยละ 92.64 เป็นร้อยละ 100.00  ซื้อหุ้นคืนเพื่อบริหารทางการเงิน  เข้า ซื้อหุ้นสามัญของ Charoen Pokphand (India) Private Limited ("CPI") เป็นผลให้สัดส่วนการถือ หุ้นใน CPI เพิ่มจากร้อยละ 71.20 เป็นร้อยละ 99.99  เข้า ซื้อเงินลงทุนในบริษัทจานวน 5 แห่ง โดยบริษัทย่อย ซึ่งบริษัททั้ง 5 แห่งดังกล่าวเป็นผู้ถือหุ้น ทางตรง และ/หรือทางอ้อมของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ของประเทศไต้หวัน ซึ่งได้แก่ Charoen Pokphand Enterprise (Taiwan) Co., Ltd. ("CPE") เป็นผลให้ซีพีเอฟถือหุ้นทางอ้อมใน CPEร้อยละ 32.41
  • 9. C.P. Vietnam Livestock Corporation ("CPVL") ได้ควบรวมกิจการกับ Charoen Pokphand Vietnam Corporation ("CPV") โดย CPVL ออกหุ้นสามัญให้กับผู้ถือหุ้นของ CPV และรับโอน ทรัพย์สินและหนี้สินของ CPV เข้ามาเป็นของ CPVL การควบรวมดังกล่าวส่งผลให้สัดส่วนการถือ หุ้นของซีพีเอฟใน CPVL ลดลงจากร้อยละ 40.00 เป็นร้อยละ 29.18 แต่มิได้ทาให้ส่วนได้ของซีพี เอฟใน CPVL เปลี่ยนแปลงลดลงแต่อย่างใด ค่านิยมองค์กร ตลอดจนการพิทักษ์รักษาสิ่งแวดล้อม อันเป็นประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม การมุ่งมั่นในการ พัฒนาสินค้าและบริการ ใหม่ๆ ที่มีคุณภาพและมาตรฐานสูงด้วยวิทยาการและเทคโนโลยีที่นา สมัย อันจะยังประโยชน์ให้กับคู่ค้า และลูกค้าทั้งปวง ซีพีเอฟ ตระหนักดีว่าทรัพยากรบุคคล เป็นองค์ประกอบที่มีความสาคัญอย่างยิ่ง ต่อความสาเร็จ ในการดาเนินธุรกิจ ของบริษัท การมีค่านิยมและพฤติกรรมการทางานที่ดี และเหมาะสม เปรียบเสมือนพลังผลักดัน ให้บริษัทเดินไปสู่เป้าหมายที่กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น เราจึงได้ประกาศ คุณค่าหลักขององค์กร 6 ประการ ที่เรียกว่า ซีพีเอฟเวย์ (CPF Way) อันเป็น พฤติกรรมพื้นฐานขององค์กร ที่จะทาให้พนักงานทุกคน มีส่วนร่วมแรงร่วมใจกันสร้างธุรกิจ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้
  • 10. คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 16 มีนาคม 2554 คณะกรรมการของบริษัทประกอบด้วย กรรมการจานวน 15 คน ดังนี:้ ชื่อ-นามสกุล ตาแหน่ง 1. นายธนินท์ เจียรวนนท์ ประธานกรรมการ 2. พล.ต.อ.เภา สารสิน รองประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ 3. นายประเสริฐ พุ่งกุมาร รองประธานกรรมการ 4. นายมิน เธียรวร รองประธานกรรมการ 5. นายชิงชัย โลหะวัฒนะกุล รองประธานกรรมการ 6. นายอาสา สารสิน กรรมการอิสระ 7. ศ.นพ.อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ กรรมการอิสระ 8. ศ.กิตติคุณ สุภาพรรณ รัตนาภรณ์ กรรมการอิสระ 9. ดร.ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ กรรมการอิสระ 10. นายพงษ์เทพ เจียรวนนท์ กรรมการ 11. ดร.วีรวัฒน์ กาญจนดุล กรรมการ 12. นายอดิเรก ศรีประทักษ์ กรรมการ 13. นายพงษ์ วิเศษไพฑูรย์ กรรมการ 14. นายสุนทร อรุณานนท์ชัย กรรมการ 15. นางอรุณี วัชรานานันท์ กรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของซีพีเอฟได้รับ การแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท โดย คณะกรรมการตรวจสอบชุดปัจจุบันมีวาระการดารงตาแหน่ง 3 ปี ซึ่งจะครบวาระในวันที่ 23 ธันวาคม 2554 โดย ณ วันที่ 16 มีนาคม 2554 คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการ อิสระจานวน 5 คน ดังนี้ : 1. พล.ต.อ.เภา สารสิน ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายอาสา สารสิน กรรมการตรวจสอบ 3. ศ.นพ. อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ กรรมการตรวจสอบ 4. ศ.กิตติคุณ สุภาพรรณ รัตนาภรณ์ กรรมการตรวจสอบ 5. ดร.ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ กรรมการตรวจสอบ
  • 11. คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 16 มีนาคม 2554 คณะกรรมการบริหารของบริษัทประกอบด้วย ชื่อ-นามสกุล ตาแหน่ง 1. นายชิงชัย โลหะวัฒนะกุล ประธานกรรมการบริหาร 2. นายอดิเรก ศรีประทักษ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานคณะผู้บริหาร 3. นายพงษ์ วิเศษไพฑูรย์ ประธานผู้บริหารฝ่ายปฏิบัติการ สายธุรกิจสัตว์น้า 4. นายพงษ์เทพ เจียรวนนท์ กรรมการบริหาร 5. นางอรุณี วัชรานานันท์ กรรมการบริหาร 6. นายวรวิทย์ เจนธนากุล กรรมการบริหาร 7. นายธีรศักดิ์ อุรุนานนท์ กรรมการบริหาร 8. นายวิทิต ภูธนทรัพย์ กรรมการบริหาร 9. นางสาวพัชรา ชาติบัญชาชัย กรรมการบริหาร 10. นายไพศาล จิระกิจเจริญ ประธานผู้บริหารฝ่ายการเงิน และ เลขานุการคณะกรรม การบริหาร ผู้บริหาร ณ วันที่ 16 มีนาคม 2554 ผู้บริหารของซีพีเอฟประกอบด้วย: ชื่อ-นามสกุล ตาแหน่ง 1. นายอดิเรก ศรีประทักษ์(1) ประธานผู้บริหารฝ่ายปฏิบัติการ สายธุรกิจอาหาร (รักษาการ) 2. นายพงษ์ วิเศษไพฑูรย์(1) ประธานผู้บริหารฝ่ายปฏิบัติการ สายธุรกิจสัตว์น้า 3. นายวีรชัย รัตนบานชื่น(1) ประธานผู้บริหารฝ่ายปฏิบัติการ สายธุรกิจสัตว์บก และรองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานอาหาร สัตว์บก (รักษาการ) 4. นายธีรศักดิ์ อุรุนานนท์(1) ประธาน ผู้บริหารฝ่ายปฏิบัติการ สายธุรกิจการค้า ภายในประเทศ และรองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานอาหารแปรรูปสัตว์บก และรองกรรมการ ผู้จัดการบริหาร สายงานการค้าภายในประเทศ (รักษาการ) 5. นายพิสิฐ โอมพรนุวัฒน์(1) ประธานผู้บริหารฝ่ายปฏิบัติการ สายธุรกิจการค้า ต่างประเทศ
  • 12. 6. นายไพศาล จิระกิจเจริญ(1) ประธานผู้บริหารฝ่ายการเงิน 7. ดร. สมหมาย เตชะศิรินุกูล รองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานอาหารแปรรูป สัตว์น้า 8. นายสุขวัฒน์ ด่านเสริมสุข รองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานอาหาร สาเร็จรูป 9. นายประจิตต์ อุดหนุน รองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานวิจัยและ พัฒนาพันธุ์สัตว์ และเทคโนโลการเลี้ยงสัตว์ปีก 10. นายสมควร ชูวรรธนะปกรณ์ รองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานวิจัยและ พัฒนาพันธุ์สัตว์และ เทคโนโลยีการเลี้ยงสุกร 11. น.สพ. สุจินต์ ธรรมศาสตร์ รองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานเพาะเลี้ยงสัตว์ น้า และ สายงานวิจัยและพัฒนาพันธุ์สัตว์และ เทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์น้า 12. นายเอนก บุญหนุน รองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานเลี้ยงสัตว์ 13. นายวิทิต ภูธนทรัพย์ รองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานอาหารสัตว์น้า 14. นายวรวิทย์ เจนธนากุล รองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานบริหารทั่วไป 15. นายประเดิม โชติศุภราช รองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานเทคโนโลยี สารสนเทศและระบบงาน 16. นายทินกร เรือนทิพย์ รองกรรมการผู้จัดการบริหาร สายงานทรัพยากร บุคคล หมายเหตุ: (1) ผู้บริหารตามนิยามในประกาศคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ ที่ กจ. 17/2551 เรื่อง การกาหนดบทนิยาม ในประกาศเกี่ยวกับการออกและเสนอขาย หลักทรัพย์
  • 14. ภายหลังการปรับโครง สร้างการดาเนินธุรกิจ ซีพีเอฟได้กาหนดนโยบายการลงทุนที่ชัดเจนว่าจะลงทุนเฉพาะในธุรกิจหลักหร ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักของซีพีเอฟเท่านั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ซีพีเอฟมีเงินลงทุน (วิธีราคาทุน) ในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้องรวม 21,514 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 24 ของสินทรัพย์รวมของซีพีเอฟ โดยซีพีเอฟม นโยบายที่จะแต่งตั้งตัวแทนเข้าไปดารงตาแหน่งเป็นกรรมการที่มี อานาจควบคุมในบริษัทย่อย เพื่อควบคุมดูแลการบริหารงาน ของบริษัทย่อยให้เป็นไปตามนโยบายของบริษัทอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทั้งนี้ ซีพีเอฟจะได้รับรายงานผลการ ดาเนินงานจากบริษัทย่อยเป็นประจาทุกเดือน และมีการประชุมร่วมกันอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง เพื่อพิจารณาถึงผลการดาเนินงาน และร่วมกันวางแผนงานและเป้าหมายในการดาเนิน งาน ในการพิจารณาเข้าร่วม ลงทุนในแต่ละครั้ง ซีพีเอฟอาจจะเข้าลงทุนเอง หรือให้บริษัทย่อยที่ดาเนินธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกันเป็น ผ ลงทุน ทั้งนี้ หากเป็นการลงทุนในบริษัทย่อย ซีพีเอฟมีนโยบายที่จะลงทุนในสัดส่วนร้อยละ 100 เว้นแต่จะเป็นการลงทุนร่วมก กับพันธมิตรทางธุรกิจ ในการดาเนินธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรม ด้านการเลี้ยงสัตว์และผลิตอาหารจากเนื้อสัตว์ทั้งใน ประเทศและ ต่างประเทศ โดยการดาเนินธุรกิจส่วนใหญ่อยู่ในประเทศไทย การดาเนินธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมครบ วงจรในประเทศไทย ซึ่งดาเนินการโดยซีพีเอฟ และ บริษัทย่อยในประเทศไทยนั้น เป็นธุรกิจที่เริ่มต้นตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบเพื่อใช้ในการผลิต อาหารสัตว์ การเพาะพันธุ์สัตว์ การเลี้ยงสัตว์ในเชิงพาณิชย์ การแปรรูปเนื้อสัตว์ จนกระทั่งถึง การผลิตอาหารสาเร็จรูป
  • 15. ดาเนินธุรกิจแบบ ครบวงจร ตั้งแต่อาหารสัตว์ ดาเนินธุรกิจแบบ ครบวงจร ตั้งแต่อาหารสัตว์ สาหรับเลี้ยงไก่เนื้อ ไก่ไข่ สุกร เป็ด, พันธุ์สัตว์, สาหรับเลี้ยงกุ้งและปลา, พันธุ์สัตว์น้า, ไปจนถึง ไปจนถึงการเลี้ยงสัตว์เพื่อการค้า และผลิตภัณฑ์ การเลี้ยงกุ้ง และปลาเพื่อการค้า และผลิตภัณฑ์ อาหารปรุงสุก อาหารปรุงสุก ซึ่งธุรกิจทั้งสองประเภทเป็นการ ดาเนินงานแบบครบวงจร ตั้งแต่การคัดสรรวัตถุดิบ สาหรับ การผลิต อาหารสัตว์ การผลิตและจาหน่ายอาหารสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ เนื้อสัตว์แปรรูป ไปจนถึง การผลิต ผลิตภัณฑ์อาหารสาเร็จรูป จากเนื้อไก่ เนื้อเป็ด เนื้อสุกร เนื้อกุ้ง และเนื้อปลา ผลิตภัณฑ์ หลักของธุรกิจทั้ง 2 ประเภท สามารถจาแนกเป็น 3 ธุรกิจหลัก ได้แก่ ธุรกิจอาหารสัตว์ (Feed), ธุรกิจการเลี้ยงสัตว์ (Farm) และธุรกิจอาหาร (Food) ซีพีเอฟคัดสรรวัตถุดิบและสูตรอาหารสัตว์ที่มุ่งเน้น ความปลอดภัย และคุณค่าของเนื้อสัตว์ เพื่อให้ได้ อาหารสัตว์ที่มี คุณภาพดีที่สุด ซีพีเอฟพัฒนาปรับปรุงสายพันธุ์สัตว์ ตาม วิธีการทางธรรมชาติ โดยไม่ใช้ฮอร์โมนหรือ สารเคมี ซีพีเอฟ ใช้เทคโนโลยีโรงเรือนปิด นาระบบ ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ มาใช้ดูแล การเลี้ยง สัตว์ ในทุกขั้นตอน
  • 16. เนื้อ สัตว์จากฟาร์มซีพีเอฟ ถูกนาเข้าสู่ กระบวนการแปรรูป ตามหลักสวัสดิภาพสัตว์ ภายในโรงงานอันทันสมัย ถูกสุขอนามัย และ ได้มาตรฐานสากล ซี พีเอฟนาผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแปรรูป ไป เพิ่มมูลค่า เป็นสินค้าอาหารปรุงสุก และ ผลิตภัณฑ์อาหารพร้อม รับประทาน โดย นาไปผสมเครื่องปรุงรสและทาให้สุก ผ่าน ขบวนการต้ม นึ่ง ทอด อบ และย่าง ตามความ ต้องการของลูกค้า สามารถ จาแนกธุรกิจออกเป็น 3 ธุรกิจหลัก คือ ธุรกิจอาหารสัตว์ (Feed) ธุรกิจการเลี้ยงสัตว์ (Farm) และธุรกิจอาหาร (Food) โดยมีรายละเอียดการประกอบธุรกิจพอสังเขปดังนี้ ซี พีเอฟเป็นผู้นาในการผลิตและจาหน่ายอาหารสัตว์บกในประเทศไทย มีการผลิตอาหารสัตว์ ทั้งในรูปหัวอาหารและอาหารสาเร็จรูปชนิดผงและชนิดเม็ด มีโรงงานผลิตครอบคลุมทุกภาค ของประเทศไทย จาหน่ายอาหารสัตว์ให้แก่เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ผ่านตัวแทนจาหน่ายอาหารสัตว์ ที่มีอยู่มากกว่า 600 รายทั่วประเทศ และจาหน่ายโดยตรงให้แก่ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ขนาดใหญ่ โดยซี
  • 17. พีเอฟให้ความสาคัญในการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพด้านการผลิตให้มี ประสิทธิภาพและ ได้มาตรฐานสากล เพื่อให้ได้สินค้าอาหารสัตว์ที่มีคุณภาพ มีอัตราแลกเนื้อที่ดีสาหรับการเลี้ยง สัตว์ซึ่งจะช่วยให้เกษตรกรมีต้นทุนการ เลี้ยงที่ต่าลง ด้านกระบวนการผลิต ซีพีเอฟนาเอาพืชผลทางการเกษตร โดยหลักได้แก่ ข้าวโพด และกากถั่ว เหลือง มาผลิตอาหารสัตว์แบบเม็ด ด้วยสูตรอาหารตามโภชนาการที่สัตว์แต่ละประเภทและแต่ ละอายุต้องการ โดยควบคุมการผลิตทุกขั้นตอนด้วยคอมพิวเตอร์เพื่อให้ไ ด้อาหารสัตว์ที่มี คุณภาพสม่าเสมอและได้มาตรฐานตามที่กาหนด และจัดจาหน่ายภายใต้ตราสินค้าของซีพีเอฟ เอง ได้แก่ ซีพี ไฮโปรไวท์ ไฮ-โกร สตาร์ฟีด โนโว่ เซฟฟีด เอราวัณ และกาหนดราคาขายโดย พิจารณาจากต้นทุนการผลิตในแต่ละช่วงเวลา และจะสอดคล้องกับราคาขายควบคุมที่ประกาศ โดยกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ซีพีเอฟมีบริการหลังการขายโดยมีสานักงานตั้งกระจายอยู่ทั่วประเทศ สาหรับเป็นศูนย์กลาง เผยแพร่เทคนิคการเลี้ยงสัตว์ให้แก่เกษตรกรอย่างถูกวิธี พร้อมทั้งช่วยในเรื่องของการจัดการ ด้านการตลาด และการจัดจาหน่าย ผลิตภัณฑ์ภายใต้ธุรกิจการเลี้ยงสัตว์ประกอบด้วย พันธุ์สัตว์ สัตว์มีชีวิต ไข่สด และเนื้อสัตว์แปร รูปพื้นฐาน ดังมีรายละเอียดดังนี้ ซี พีเอฟเป็นผู้นาในการวิจัยและพัฒนาปรับปรุงสายพันธุ์สัตว์ตามธรรมชาติ เพื่อให้ได้มาซึ่ง พันธุ์สัตว์ที่มีคุณภาพ แข็งแรง และเหมาะสมกับสภาพการเลี้ยงในประเทศ มีการผลิตลูกไก่พ่อ แม่พันธุ์เนื้อ ลูกไก่พ่อแม่พันธุ์ไข่ สุกรพ่อแม่พันธุ์ ลูกไก่เนื้อ ลูกไก่ไข่ ไก่รุ่นไข่ ลูกเป็ดเนื้อ และ ลูกสุกร โดยเริ่มตั้งแต่การนาเข้าพันธุ์มาจากต่างประเทศ เพื่อนามาเพาะพ่อแม่พันธุ์และเลี้ยงต่อ เป็นสัตว์เพื่อการค้าในฟาร์มของซีพี เอฟ หรือขายออกใหักับเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์และตัวแทน จาหน่ายในประเทศไทย โดยในส่วนของปู่ย่าพันธุ์ส่วนใหญ่เป็นการนาเข้าจากต่างประเทศ ส่วน พ่อแม่พันธุ์และอาหารสัตว์ส่วนใหญ่มาจากผลผลิตของซีพีเอฟเอง
  • 18. ฟาร์มพันธุ์สัตว์ของซีพีเอฟกระจายอยู่ในหลายจังหวัดทั่วประเทศไทย โดยมีระบบการจัดการ เลี้ยงสัตว์ในรูปของระบบโรงเรือนปิดปรับอากาศ (Evaporative Cooling System) ซึ่งเป็นระบบ การเลี้ยงที่ทันสมัยมีระบบการให้อาหารและน้าอัตโนมัติ มีระบบการระบายอากาศเพื่อทาให้ อากาศในโรงเรือนอยู่ในสภาวะที่เหมาะสมกับการ เลี้ยงตลอดเวลา รวมถึงมาตรการและระบบ การควบคุมและป้องกันพาหะนาโรคเข้าสู่ฟาร์ม โดยทั้งหมดนี้มีการควบคุมฟาร์มด้วยระบบ คอมพิวเตอร์ตลอดระยะเวลาการเลี้ยง ราคาพันธุ์สัตว์นั้นขึ้นอยู่กับความต้องการใช้และปริมาณผลผลิตที่มีจาหน่าย ในประเทศไทย และคุณภาพของผลิตภัณฑ์ นโยบายด้านการขายจึงให้ความสาคัญกับการบริการหลังการขาย โดยมีสานักงานสาขาตั้งกระจายอยู่ทั่วประเทศ สาหรับเป็นศูนย์กลางเผยแพร่เทคนิคการเลี้ยง สัตว์ให้แก่เกษตรกร พร้อมกับช่วยในเรื่องของการจัดการด้านการตลาดและการจัดจาหน่าย ผลิตภัณฑ์ ในหมวดนี้รวมถึง ไก่มีชีวิต ไข่ไก่ เป็ดมีชีวิต ไข่เป็ด สุกรเนื้อมีชีวิต และเนื้อสัตว์ แปรรูปพื้นฐาน ซึ่งซีพีเอฟจาหน่ายสู่ผู้บริโภคผ่านตัวแทนจาหน่ายทั่วประเทศ จาหน่ายใน ท้องถิ่น จาหน่ายให้ผู้ค้าส่งและผู้ค้าปลีก รวมทั้งจาหน่ายให้กับโรงงานแปรรูปอาหารของกลุ่มซี พีเอฟเองและโรงงานแปรรูป อาหารอื่นๆ ในประเทศไทย โดยราคาจาหน่ายของสินค้าในกลุ่มนี้ ผันแปรไปตามปริมาณความต้องการและปริมาณผล ผลิตที่ออกมาสู่ตลาด ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ซีพีเอฟดาเนินการด้านฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ด้วยการให้ความสาคัญด้านการวิจัยและพัฒนาวิธีเลี้ยงให้ ทันสมัย เหมาะสมกับสภาพการเลี้ยงในประเทศ และมีระบบควบคุมป้องกันโรคที่มี ประสิทธิภาพ ทาให้สัตว์เติบโตเร็ว อัตราแลกเนื้อดี ผลผลิตสูงและประหยัดต้นทุน โดยปัจจุบัน การเลี้ยงสัตว์ปีกและสุกร ซีพีเอฟได้ใช้ระบบปิดปรับอากาศ (Evaporative Cooling System) ใน การเลี้ยง ซึ่งเป็นระบบที่เลี้ยงสัตว์ในโรงเรือนปิด มีระบบการให้อาหารและน้าอัตโนมัติ และ ควบคุมการเลี้ยงด้วยระบบคอมพิวเตอร์ นอกเหนือจากการทาฟาร์เลี้ยงสัตว์เองแล้วนั้น ซีพีเอฟได้มีโครงการส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์ให้กับ เกษตรกร ด้านการเลี้ยงสุกรเนื้อและไก่เนื้อ โดยซีพีเอฟจะดาเนินการคัดเลือกเกษตรกรที่มีพื้นที่ เลี้ยงสัตว์และอุปกรณ์การ เลี้ยงของตนเอง ซึ่งหากผ่านการคัดเลือก ซีพีเอฟจะให้การสนับสนุน ด้านพันธุ์สัตว์ อาหารสัตว์ ยาสัตว์ และให้ความรู้ด้านวิธีการเลี้ยงสัตว์แก่เกษตรกร ทั้งนี้ เกษตรกรจะได้รับค่าตอบแทนตามปริมาณสัตว์ที่เลี้ยงได้สาเร็จได้ตามมาตรฐานของ ซีพีเอฟ ซึ่ง เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการของซีพีเอฟส่ วนใหญ่ใช้ระบบปิดปรับอากาศ (Evaporative Cooling System) ในการเลี้ยงเช่นเดียวกับซีพีเอฟ
  • 19. ซีพีเอฟเป็นบริษัทแรกนอกสหภาพยุโรปที่ได้รับการรับรองมาตรฐานสวัสดิภาพสัตว์ (Animal Welfare Standard) สาหรับการผลิตไก่เพื่อการส่งออก ซึ่งมาตรฐานดังกล่าวนี้นับเป็นมาตรฐาน การผลิตที่มีกฎระเบียบเข้มงวดที่สุดใน อุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ในปัจจุบัน ในการแปรรูปพื้นฐาน ซีพีเอฟนาผลผลิตจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ ไก่เนื้อ เป็ดและสุกร ส่งไป โรงงานแปรรูปเพื่อตัดแต่งเนื้อสัตว์ โดยแยกชิ้นส่วนและตัดแต่งชิ้นส่วนตามที่ตลาดต้องการ แล้วนาไปบรรจุและแช่เย็นหรือแข็งเพื่อจาหน่ายเป็นผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์แช่ เย็นแช่แข็ง ให้แก่ ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีกในประเทศ และส่งออกผ่านผู้นาเข้าในต่างประเทศ โดยราคานั้นผันแปรไปตาม ปริมาณความต้องการและปริมาณผลผลิตที่มีจาหน่ายใน ประเทศไทยและตลาดโลก หรือเป็น ราคาที่ตกลงกัน สาหรับสินค้าที่ผลิตตามคาสั่งซื้อของลูกค้า ซี พีเอฟได้นาผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแปรรูปไปเพิ่มมูลค่าเป็นสินค้าอาหารปรุงสุก และ ผลิตภัณฑ์อาหารพร้อมรับประทาน โดยนาไปผสมเครื่องปรุงรส และทาให้สุก โดยผ่าน ขบวนการต้ม นึ่ง ทอด อบ และย่าง ตามความต้องการของลูกค้า จากนั้นจึงนาไปแช่แข็ง เพื่อจัด จาหน่ายให้แก่ผู้ค้าส่งและผู้ค้าปลีก ร้านอาหารประเภทฟาสต์ฟู้ด (Fast Food) และช่องทางการ จาหน่ายแบบใหม่ (Modern Trade) เช่น ร้านสะดวกซื้อ ซุปเปอร์มาร์เก็ต และซุปเปอร์เซ็นเตอร์ เป็นต้น ส่วนการส่งออกเป็นการขายผ่านผู้นาเข้าในต่างประเทศ โดยประเทศที่นาเข้าหลักได้แก่ สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น และประเทศอื่นๆ ในเอเชีย และซีพีเอฟได้มีการลงทุนในการขยายช่องทาง จัดจาหน่ายมากขึ้น รวมถึงการเพิ่มจุดจาหน่ายของซีพีเอฟเอง อาทิ จุดจาหน่ายไก่ย่างห้าดาว และร้านซีพี เฟรช มาร์ท และสาหรับตลาดต่างประเทศนั้น ซีพีเอฟได้มีสาขาและตัวแทน จาหน่ายในประเทศต่างๆ เพื่อที่จะได้ใกล้ชิดกับลูกค้าและตลาดมากขึ้น อาทิ ญี่ปุ่น เกาหลี สิงคโปร์ ฮ่องกง แอฟริกาใต้ อังกฤษ เบลเยี่ยม ฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี เยอรมนี เดนมาร์ก และสหรัฐอเมริกา ผลิตภัณฑ์อาหารปรุงสุกที่จาหน่ายในประเทศและส่งออก เช่น บะหมี่หมูพะโล้ ไก่คาราเกะแช่ แข็ง ไก่ห่อสาหร่าย ไก่เทอริยากิ เป็ดย่าง อกไก่นึ่งแช่แข็ง ข้าวแกงเขียวหวานไก่ เต้าหู้ไข่ ลูกชิ้น
  • 20. และไส้กรอก เป็นต้น ซึ่งซีพีเอฟได้มีการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารภายใต้ตราสินค้า ซี พี วีพอร์ค คิ ทเช่นจอย ไทยไทย ห้าดาว บีเค บีเคพี และรวมถึงการผลิตเพื่อจาหน่ายภายใต้ตราสินค้าของผู้ ซื้อด้วยเช่นกัน โดยราคานั้นเป็นราคาที่ตกลงกันกับลูกค้าในแต่ละครั้งที่ทาสัญญาซื้อขาย ซีพีเอฟให้ความสาคัญอย่างยิ่งในเรื่องของ “คุณภาพสินค้า” ที่จะต้องได้มาตรฐาน สะอาดถูก สุขอนามัย สามารถผลิตสินค้าได้หลากหลายรูปแบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องเป็นสินค้าที่ ปลอดภัยต่อการบริโภค ได้มีการใช้ระบบสุ่มตรวจเพื่อตรวจสอบมาตรฐานคุณภาพของวัตถุดิบ และสินค้าที่ เป็นการตรวจสอบที่สายการผลิตต่างๆ อันจะช่วยทาให้ทราบถึงอัตรา ความสามารถในการผลิตทุกๆ ขั้นตอน รวมไปถึงการตรวจสอบย้อนกลับไปถึงแหล่งที่มาของ วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต มาตรฐานการผลิตระดับสากลที่ซีพีเอฟได้รับการรับรองเป็นสิ่งหนึ่งใน การ รับประกันคุณภาพของสินค้า และการจัดการของซีพีเอฟได้เป็นอย่างดี ซึ่ง สามารถจาแนกธุรกิจออกเป็น 3 ธุรกิจหลัก คือ ธุรกิจอาหารสัตว์ (Feed) ธุรกิจการเลี้ยงสัตว์ (Farm) และธุรกิจอาหาร (Food) โดยมีรายละเอียดการประกอบธุรกิจพอสังเขป ดังนี้ บริษัท เป็นผู้นาและผู้บุกเบิกในการผลิตและจาหน่ายอาหารสัตว์น้า ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์หลักที่ สาคัญ ได้แก่ อาหารกุ้ง และอาหารปลา โดยมีการผลิตอาหารสัตว์ทั้งในรูปหัวอาหารและอาหาร สาเร็จรูปชนิดผงและชนิด เม็ด จาหน่ายผ่านตัวแทนจาหน่ายที่มีอยู่ในบริเวณพื้นที่เลี้ยงกุ้งทั่ว ประเทศ และบางส่วนจาหน่ายโดยตรงให้แก่เกษตรกร ในการผลิตอาหารสัตว์น้านั้น บริษัท นาเอาพืชผลทางการเกษตร ได้แก่ กากถั่วเหลือง ปลาป่น และแป้งสาลี เป็นต้น มาผลิต โดยมี การควบคุมสูตรอาหารและการผลิตทุกขั้นตอนด้วยคอมพิวเตอร์เพื่อให้ได้ อาหารสัตว์น้าที่มี คุณภาพสม่าเสมอและได้มาตรฐานตามที่กาหนด โดยบริษัทได้จาหน่ายอาหารกุ้งภายใต้ตรา
  • 21. สินค้าของบริษัทเอง อันรวมถึง ซีพี สตาร์ฟีด มารีน ไฮเกร์ด โนโว่ เอราวัณ เทอร์โบ ดีฟอรค เซฟฟีด จากการที่บริษัทเป็นผู้นาในธุรกิจ และผลิตภัณฑ์เป็นที่รู้จักแพร่หลายในกลุ่มลูกค้าของบริษัท ดังนั้น กลยุทธ์ทางการตลาดที่สาคัญ คือ การรักษามาตรฐานคุณภาพของผลิตภัณฑ์และการ ให้บริการให้ดีอย่างต่อเนื่อง โดยได้มีการตรวจสอบคุณภาพของกระบวนการผลิตทุกขั้นตอน อันรวมถึงการตรวจสอบ คุณภาพของวัตถุดิบที่นามาใช้ในการผลิต บริษัทได้มีการให้ความรู้ ด้านวิชาการทั้งแก่ตัวแทนจาหน่ายอาหารสัตว์และ เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์โดยตรง ทั้งในรูปแบบ ของการจัดสัมมนาทางวิชาการ การจัดตั้งศูนย์บริการวิชาการที่มีนักวิชาการคอยให้คาปรึกษา และแนะนาแก่ เกษตรกร ตลอดจนการเผยแพร่ข่าวสารเกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์ในรูปของสิ่งพิมพ์ ต่างๆ ซึ่งเป็นการช่วยให้อุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์นั้นมีความยั่งยืน ผลิตภัณฑ์ ในธุรกิจนี้เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากฟาร์มเพาะพันธุ์สัตว์น้าและฟาร์มเลี้ยง กุ้ง โดย ผลิตภัณฑ์หลักในธุรกิจนี้มีรายละเอียดพอสังเขป ดังนี้ ลูก กุ้งคุณภาพเป็นปัจจัยสาคัญประการหนึ่งสาหรับการเลี้ยงกุ้งให้ประสบความ สาเร็จ บริษัทจึง ได้ให้ความสาคัญในงานวิจัยและพัฒนาการเพาะพันธุ์ลูกกุ้งคุณภาพ ที่มีความต้านทานโรคสูง เหมาะสมกับสภาวะการเลี้ยงในแต่ละประเทศ โดยส่วนใหญ่เป็นกุ้งสายพันธุ์กุ้งขาว และ บางส่วนเป็นสายพันธุ์กุ้งกุลาดา บริษัท ได้มีการพัฒนาพันธุ์ปลาเพื่อจาหน่ายลูกปลาให้เกษตรกรผู้เลี้ยงปลา อันรวมถึงพันธุ์ปลา ทับทิม ซึ่งเป็นปลาที่มีสายพันธุ์มาจากปลานิล ปลามรกต ซึ่งเป็นปลาที่มีสายพันธุ์มาจากปลากด และปลาหยก ซึ่งเป็นปลาที่มีสายพันธุ์มาจากปลาเก๋า ฟาร์มเพาะพันธุ์กุ้งและปลาของบริษัท มีระบบการจัดการที่ดี ใช้เทคนิคการเลี้ยงที่ทันสมัย มี
  • 22. ระบบควบคุมและป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพ ทาให้มีผลผลิตที่มีคุณภาพเป็นที่ต้องการของ ตลาด โดยราคาขึ้นอยู่กับความต้องการใช้และปริมาณผลผลิตที่มีจาหน่ายในประเทศไทย และ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ บริษัท ได้มีการเลี้ยงกุ้งเพื่อป้อนให้กับโรงงานแปรรูปของบริษัท โดยใช้ลูกกุ้งจากฟาร์ม เพาะพันธุ์ลูกกุ้งและอาหารกุ้งของบริษัทเองในการ เลี้ยง ซึ่งการจัดการฟาร์มเลี้ยงกุ้งนั้นบริษัท ใช้วิชาการและเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อหาวิธีป้องกันโรคระบาดของกุ้ง เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และเน้นการเลี้ยงแบบเทคโนโลยีชีวภาพ (Probiotic Farming) ที่หลีกเลี่ยงการใช้ยาและสารเคมี บริษัท มีการส่งออกกุ้งสดแช่แข็งอันเป็นผลผลิตจากโรงงานแปรรูปไปยังต่างประเทศ ผ่านทาง ผู้นาเข้าในประเทศต่างๆ โดยราคานั้นผันแปรไปตามปริมาณความต้องการและปริมาณผลผลิต ที่มีจาหน่าย หรือเป็นราคาที่ตกลงกันสาหรับสินค้าที่ผลิตตามคาสั่งซื้อของลูกค้า ผลิตภัณฑ์ หลักในธุรกิจอาหาร คือ กุ้งปรุงสุกหรือกึ่งปรุงสุก และผลิตภัณฑ์อาหารพร้อม รับประทาน ในรูปสินค้าแช่เย็นและแช่แข็ง โดยจาหน่ายภายใต้ตราสินค้าของลูกค้าหรือตรา สินค้าของบริษัทในประเทศผ่านทาง โมเดิร์นเทรด ร้านค้าสะดวกซื้อ ฟู้ดส์เซอร์วิส หรือ ซีพี เฟรชมาร์ทซึ่งเป็นช่องทางจาหน่ายของบริษัทเอง และส่งออกไปยังประเทศต่างๆ ผ่านทางผู้ นาเข้าในต่างประเทศ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของบริษัทในกระบวนการนี้ บริษัทจะเน้นการแปรสภาพกุ้งให้เป็น ผลิตภัณฑ์อาหารทั้งในรูปแบบของอาหารกึ่ง สาเร็จรูปและอาหารสาเร็จรูปตามคาสั่งซื้อของ ลูกค้า โดยนาไปผสมเครื่องปรุงรส และทาให้สุก โดยผ่านขบวนการต้ม นึ่ง ทอด อบ ย่าง และ อื่นๆ เช่น เกี๊ยวกุ้ง กุ้งต้มสุก เป็นต้น ประเทศที่นาเข้าหลัก ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และกลุ่มประเทศในสหภาพยุโรป ซึ่ง นอกเหนือจากการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐานแล้ว บริษัทยังให้
  • 23. ความสาคัญอย่างมากในเรื่องความสะอาดและคุณภาพของสินค้า ส่วนในเรื่องของราคานั้นเป็น ราคาที่ตกลงกันกับลูกค้าในแต่ละครั้งที่ทาสัญญา ซื้อขาย บริษัทได้ มีการใช้ระบบสุ่มตรวจเพื่อตรวจสอบมาตรฐานคุณภาพของวัตถุดิบและสินค้าในการ ผลิตทุกๆ ขั้นตอน รวมไปถึงการตรวจสอบย้อนกลับไปถึงแหล่งที่มาของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต บริษัทได้มีความมุ่งมั่นในการดาเนินการปรับปรุงกระบวนการผลิต เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน การควบคุมคุณภาพสากลที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป อันรวมถึง Good Manufacturing Practices (GMP) ซึ่งเป็นรางวัลมาตรฐานขั้นตอนการผลิตที่ดี Hazard Analysis and Critical Control Point (HACCP) ซึ่งเป็นระบบการผลิตอาหารที่ปลอดภัย มาตรฐาน EST/TH, ISO 9002 ซึ่งเป็น มาตรฐานสากลของระบบการดาเนินงานและจัดการการผลิต มาตรฐาน British Retail Consortium Standard ซึ่งเป็นมาตรฐานสาหรับอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งครอบคลุมกระบวนการผลิตและการ จัดการบุคลากร มาตรฐาน OSHAS 18000 (Occupational Safety & Health Administration management System) ซึ่งเป็นมาตรฐานเกี่ยวกับการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการ ทางาน มาตรฐาน ISO 14001 ซึ่งเป็นมาตรฐานในเรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี และมาตรฐาน ISO 18001 ซึ่งเป็นมาตรฐานรับรองในเรื่องของความปลอดภัยและสวัสดิภาพของพนักงาน ระบบ ISO 9001 ระบบ ISO 14001 ระบบ BRC ระบบ ACP ระบบ OHSAS 18001 เนื้อสัตว์อนามัย นอก จากนั้น บริษัทเป็นบริษัทแรกนอกสหภาพยุโรปที่ได้รับการรับรองมาตรฐานสวัสดิภาพสัตว์ (Animal Welfare Standard) สาหรับการผลิตไก่เพื่อการส่งออก ซึ่งมาตรฐานดังกล่าวนี้นับเป็น
  • 24. มาตรฐานการผลิตที่มีกฎระเบียบเข้มงวดที่สุดใน อุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ในปัจจุบัน กล่าวคือ ผู้ผลิตจะต้องดาเนินการทุกขั้นตอนที่คานึงถึงความสุขของไก่ตลอดระยะเวลาการ เลี้ยง เป็นต้นว่า ไก่ที่เลี้ยงจะต้องมีอิสระจากความหิวและกระหาย (มีระบบการเลี้ยงที่ให้อาหารและน้าพอเพียง) มี อิสระจากความอึดอัด (สภาพแวดล้อมโรงเรือนมีลักษณะเหมาะสม กว้างขวาง) มีอิสระจากความ เจ็บปวด บาดเจ็บหรือเป็นโรค (มีระบบการป้องกันโรคที่ดี การจับไก่ในแต่ละครั้งเป็นไปอย่าง นุ่มนวล) มีอิสระในการเป็นอยู่อย่างธรรมชาติ (การใช้อุปกรณ์อย่างเหมาะสม พื้นที่การเลี้ยงที่ สอดคล้องกับธรรมชาติของสัตว์) มีอิสระจากความกลัวและกังวล (ด้วยสภาวะการเลี้ยงดูที่ไม่ทาให้ เกิดความทุกข์ทรมานทางจิตใจ เช่น ระหว่างการจับไก่ก่อนการเข้าโรงเชือด) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทที่ซีพีเอฟถือหุ้นทั้งทางตรงและทางอ้อมในสัดส่วนเกินกว่า ร้อยละ 50.00 ของจานวนหุ้นที่จาหน่ายแล้วของบริษัทนั้น และบริษัทที่ซีพีเอฟมีอานาจควบคุม มีจานวนทั้งสิ้น 98 บริษัท แบ่งตามประเภทธุรกิจได้ดังนี้: ซีพีเอฟ มีบริษัทย่อยที่มีกิจการในประเทศไทย และที่ ดาเนินธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับ กิจการในประเทศไทย ดังนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ซีพีเอฟมีบริษัทย่อยที่มีกิจการในประเทศไทยและที่ดาเนินธุรกิจที่ เกี่ยว เนื่องกับกิจการในประเทศไทยจานวน 72 บริษัท บริษัท ชื่อย่อ ลักษณะธุรกิจหลัก สัดส่วน การถือหุ้น ทั้งทางตรง
  • 25. และ ทางอ้อม (ร้อยละ) บมจ. กรุงเทพโปรดิ๊วส BKP ซื้อและขายวัตถุดิบอาหาร 99.44 สัตว์ และธุรกิจไก่เนื้อครบ วงจร บมจ. กรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรม BAP ผลิตอาหารสัตว์ และเลี้ยง 99.98 การเกษตร สัตว์ บจ. กรุงเทพผลิตภัณฑ์อาหาร BFP ผลิตอาหารสัตว์ เลี้ยงสัตว์ 99.99 และผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร แปรรูปจากเนื้อสัตว์ บมจ. เจริญโภคภัณฑ์อีสาน CPNE ผลิตอาหารสัตว์ และเลี้ยง 99.61 สัตว์ บจ.เจริญโภคภัณฑ์อุตสาหกรรม CPIN ผลิตอาหารสัตว์ และเลี้ยง 99.99 สัตว์ บจ. ซี.พี.เกษตรอุตสาหกรรม CPAI เลี้ยงสัตว์ 99.99 บจ. ซี.พี.เมอร์แชนไดซิ่ง CPM กิจการลงทุนและการค้า 99.99 ระหว่างประเทศ บจ. ซี.พี.ผลิตภัณฑ์อาหาร CP ร้านอาหาร 99.99 FOOD บจ. ซีพีเอฟ เทรดดิ้ง CPFT ค้าส่งและค้าปลีกผลิตภัณฑ์ 99.99 อาหาร บจ. ซีพีเอฟ โลจิสติกส์ CPFL ให้บริการขนส่งสินค้า 99.99 บจ. ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร CPF ธุรกิจไก่เนื้อครบวงจร 99.99 FOOD บจ. ซีพีเอฟ พรีเมียมฟู้ดส์ CPF ผลิตผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป 99.99 (เดิมชื่อ บจ. ซีพี-โยเนะคิว) PM จากเนื้อสัตว์ บจ. บี.พี.ผลิตภัณฑ์อาหาร BPF ผลิตอาหารสัตว์ และเลี้ยง 99.99 สัตว์ บจ. ฟาร์มกรุงเทพ* BKF เลี้ยงสัตว์ และแปรรูป 99.99
  • 26. เนื้อสัตว์ บจ. ยูนิเวอร์แซล ฟู้ด แอนด์ มาร์เก็ตติ้ง UF&M ค้าส่งและค้าปลีกผลิตภัณฑ์ 99.99 อาหารสาเร็จรูป บจ. ราชบุรีอาหาร RBF ผลิตอาหารสัตว์ และเลี้ยง 99.99 สัตว์ บจ. อินเตอร์เนชั่นแนล เพ็ท ฟู้ด IPF ผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑ์ 99.99 อาหารสาเร็จรูปสาหรับสัตว์ เลี้ยง Charoen Pokphand ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย 29.17 (Taiwan) Co., Ltd. สินค้าประเภทอาหารเสริม (จัดตั้งในประเทศไต้หวัน) และวัคซีนสาหรับสัตว์ CP Foods (UK) Ltd. CPF ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย 52.00 (จัดตั้งในประเทศอังกฤษ) UK สินค้าประเภทอาหารแปรรูป จากเนื้อสัตว์ และอาหาร สาเร็จรูป CPF Denmark A/S CPF ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย 52.00 (จัดตั้งในประเทศเดนมาร์ก) DM สินค้าประเภทอาหารแปรรูป จากเนื้อสัตว์ และอาหาร สาเร็จรูป CPF Europe S.A. CPF EU ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย 99.99 (จัดตั้งในประเทศเบลเยี่ยม) สินค้าประเภทอาหารแปรรูป จากเนื้อสัตว์ และอาหาร สาเร็จรูป CPF Food Trading Co., Ltd. (เดิมชื่อ CPFFT ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย 100.00 C.P. Food Product (Shanghai) Co., สินค้าประเภทอาหารแปรรูป Ltd.) (จัดตั้งในประเทศสาธารณรัฐ จากเนื้อสัตว์ และอาหาร ประชาชนจีน) สาเร็จรูป CPF Tokyo Co., Ltd . CPF TK ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย 99.99 (จัดตั้งในประเทศญี่ปุ่น) สินค้าประเภทอาหารแปรรูป จากเนื้อสัตว์ และอาหาร สาเร็จรูป
  • 27. Fusion Abbey Park Ltd. ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย 52.00 (เดิมชื่อ Abbey Park Foods Ltd.) สินค้าประเภทอาหารแปรรูป (จัดตั้งในประเทศอังกฤษ) จากเนื้อสัตว์ และอาหาร สาเร็จรูป Fusion Brothwood Ltd. ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย 52.00 (เดิมชื่อ Brothwood Ltd.) สินค้าประเภทอาหารแปรรูป (จัดตั้งในประเทศอังกฤษ) จากเนื้อสัตว์ และอาหาร สาเร็จรูป Fusion Calis Ltd. ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย 52.00 (เดิมชื่อ Calis Foods Ltd.) สินค้าประเภทอาหารแปรรูป (จัดตั้งในประเทศอังกฤษ) จากเนื้อสัตว์ และอาหาร สาเร็จรูป Fusion Carnoustie Ltd. ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย 52.00 (เดิมชื่อ Carnoustie Foods Ltd.) สินค้าประเภทอาหารแปรรูป (จัดตั้งในประเทศอังกฤษ) จากเนื้อสัตว์ และอาหาร สาเร็จรูป Fusion Dalaman Ltd. ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย 52.00 (เดิมชื่อ Dalaman Ltd.) สินค้าประเภทอาหารแปรรูป (จัดตั้งในประเทศอังกฤษ) จากเนื้อสัตว์ และอาหาร สาเร็จรูป Fusion Dormington Ltd. ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย 52.00 (เดิมชื่อ Dormington Foods Ltd.) สินค้าประเภทอาหารแปรรูป (จัดตั้งในประเทศอังกฤษ) จากเนื้อสัตว์ และอาหาร สาเร็จรูป Fusion Driscoll Ltd. ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย 52.00 (เดิมชื่อ Driscoll Foods Ltd.) สินค้าประเภทอาหารแปรรูป (จัดตั้งในประเทศอังกฤษ) จากเนื้อสัตว์ และอาหาร สาเร็จรูป Fusion Everton Ltd. ผู้นาเข้าและจัดจาหน่าย 52.00 (เดิมชื่อ Everton Ltd.) สินค้าประเภทอาหารแปรรูป (จัดตั้งในประเทศอังกฤษ) จากเนื้อสัตว์ และอาหาร สาเร็จรูป