SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 19
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 1
ใบความรู้
บทที่ 3 ทฤษฎีภาวะผู้นา
……………………………….
หัวข้อ :
1. แนวคิดทฤษฎีภาวะผู้นา
2. บทบาท และหน้าที่ของผู้นา (Leadership Roles)
3. ทฤษฎีภาวะผู้นา
ตามทฤษฎีการบริหาร ปัจจัยนาเข้าที่นามาใช้ในกระบวนการดาเนินงานให้เกิดผลผลิต หรือปัจจัย
นาออกมีอยู่ 4 ประเภท ได้แก่ คน(Man) เงิน(Money) วัสดุอุปกรณ์(Material) การบริหาร (Management)
คน บุคลากรหรือทรัพยากรมนุษย์
เป็นปัจจัยที่สาคัญมากประการหนึ่งของการดาเนินงานทุกประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนที่มีความรู้มีทักษะ
หรือมีความสามารถ เป็นทรัพยากรที่หายากสมควรที่จะทะนุบารุงเอาไว้ให้ดี
ฉะนั้น การสร้างหรือพัฒนาคนของหน่วยงานหรือองค์กร จึงถือว่ามีความจาเป็นอย่างยิ่ง เพื่อให้ได้
บุคคลที่มีความรู้
ความสามารถ มีคุณภาพในการทาหน้าที่เป็นหัวหน้างาน เป็นผู้บริหาร ซึ่งจะนาองค์กรสู่ความสาเร็จตามเป้
าหมาย
การที่จะเป็นผู้นาที่ยิ่งใหญ่หรือเป็นผู้นาที่ประสบความสาเร็จได้ผู้นั้นจะต้องบริหาร 3 ปัจจัยได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล อันได้แก่ การบริหารตนเอง
การบริหารคน การบริหารงาน โดยเฉพาะในเรื่องการบริหารตน
เป็นสิ่งสาคัญที่ผู้บริหารต้องมีและสร้างภาวะผู้นาพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลาให้เป็นผู้นาที่พึงประสงค์ ปรั
บใช้แนวคิดทฤษฎีการเป็นผู้นามาใช้ในสิ่งแวดล้อมขององค์กร เพื่อให้การดาเนินกิจกรรมขององค์กรดาเนิน
ไปอย่างมีประสิทธิภาพสร้างความเจริญให้กับองค์กรและประเทศชาติต่อไป
1. แนวคิดทฤษฎีภาวะผู้นา
ผู้นาเป็นผู้ที่มีศิลปะที่สามารถมีอิทธิพลเหนือคนอื่น และนาบุคคลเหล่านั้นไปโดยได้รับ
ความไว้วางใจและเชื่อมั่นอย่างเต็มที่พร้อมทั้งให้ความเคารพนับถือให้ความร่วมมือ
และให้ความมั่นใจในตัวผู้นาอย่างจริงจัง
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 2
ภาวะผู้นาเป็นศิลปะหรือความสามารถของบุคคลหนึ่งที่จะจูงใจ หรือใช้อิทธิพลต่อ บุคคลอื่น
ในสภาพการณ์ต่าง ๆ เพื่อปฏิบัติการและอานวยการ โดยใช้กระบวนการสื่อความหมายให้
ร่วมใจกับตนดาเนินการจนกระทั่งบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้ าหมายที่กาหนดไว้
มนุษย์ทุกคนมีภาวะผู้นามาตั้งแต่เกิดและได้รับการปรุงแต่งโดยการอบรมสั่งสอน
ทางการศึกษาทาให้เกิดภาวะผู้นาพื้นฐานขึ้นในตัว สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ สามารถทาให้
ภาวะผู้นาพื้นฐานนั้นแปรเปลี่ยนไปได้อีกไม่ว่าจะทางดีขึ้นหรือเลวลง และภาวะผู้นา
สามารถพัฒนาขึ้นได้
ทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นาแยกได้หลายแนวคิด แต่แนวคิดที่สาคัญคือผู้นาตามทฤษฎี
พฤติกรรมและผู้นาตามทฤษฎีคุณลักษณะของผู้นา
การแบ่งประเภทของผู้นาตามลักษณะพฤติกรรมมีหลายวิธีตามลักษณะต่าง ๆ เช่น
ลักษณะการปฏิบัติงาน ลักษณะของพฤติกรรม ลักษณะการบริหาร และทฤษฎี 3 มิติ
ของเร็ดดิน ฯลฯ
คุณลักษณะที่สาคัญของผู้นาที่ดี จะส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการ
ปฏิบัติงานขององค์กรหรือหน่วยงาน
2. บทบาท และหน้าที่ของผู้นา (Leadership Roles)
ผู้นามีบทบาทและหน้าที่หลายอย่าง
ผู้นาในกลุ่มคนที่ชอบเผด็จการอาจมีหน้าที่อย่างหนึ่งแต่ผู้นาในกลุ่มคนที่ชอบประชาธิปไตยอาจมีบทบาทแล
ะหน้าที่อีกอย่างหนึ่ง อย่างไรก็ตามบทบาทและหน้าที่ทั่วๆ ไปของผู้นาทุกคน ในกลุ่มคนทุกชนิด
มีตรงกันอยู่บ้าง จึงขอสรุปบทบาทและหน้าที่ของผู้นาโดยทั่วๆ
ไปเพื่อเป็นแนวความคิดสาหรับผู้บริหารการศึกษา 14 อย่างคือ
1) ผู้นาในฐานะผู้บริหาร (The Leader as
Executive)บทบาทที่เห็นได้ชัดที่สุดของผู้นาก็คือบทบาทในฐานะผู้บริหารซึ่งประสานงานระหว่างกลุ่มต่าง
ๆ ในองค์การ หรือในฐานะผู้ประสานงานภายในกลุ่มที่ตนเป็นผู้บริหาร
ผู้นาประเภทนี้คอยช่วยให้งานของบุคลากรทุกคนดาเนินไปได้ด้วยดี
ผู้นาจะเป็นผู้คุมนโยบายและกาหนดวัตถุประสงค์ของกลุ่ม
และรับผิดชอบคอยดูแลนโยบายและวัตถุประสงค์ของกลุ่มให้มีการปฏิบัติโดยครบถ้วนถูกต้อง
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 3
2) ผู้นาในฐานะผู้วางแผน(The Leader as
Planner)โดยปกติผู้นามักทาหน้าที่วางแผนการปฏิบัติงานทุกชนิด
เป็นตัดสินใจว่าบุคลากรในหมู่ของตนควรใช้วิธีการอย่างไรและใช้อะไรมาประกอบบ้างเพื่อให้บรรลุผลตาม
ความต้องการ
ผู้นามักทาหน้าที่เป็นผู้ดูแลด้วยว่าแผนที่วางไว้นั้นมีการดาเนินงานตรงตามวัตถุประสงค์หรือไม่
ผู้นามักจะเป็นผู้เดียวที่ทราบแผนทั้งหมดโดยถ่องแท้ คนอื่นในกลุ่ม
มักรู้เรื่องเฉพาะส่วนที่ตนได้รับมอบหมายหรือรับผิดชอบแต่รู้ไม่หมดทั้งแผน
3) ผู้นาในฐานะผู้กาหนดนโยบาย (The Leader as Policy
Maker) งานสาคัญที่สุดอย่างหนึ่งของผู้นาคือ การกาหนดเป้ าหมายหรือวัตถุประสงค์ของหมู่คณะ
และการวางนโยบายส่วนมากนโยบายมาจากที่ 3 แห่ง คือ
- มาจาก “เบื้องบน” หรือ เจ้านาย ที่มีตาแหน่งสูง
- มาจาก “เบื้องล้าง” คือ ได้มาจากคาแนะนา หรือมติของบุคลากรใต้บังคับบัญชา
- มาจาก “ผู้นา” ของหมู่คณะนั้นๆ
ไม่ว่านโยบายจะมาจากแหล่งใด ผู้นามีอานาจโดยเสรีที่จะกาหนดหรือเลือกด้วยตนเอง
4) ผู้นาในฐานะผู้ชานาญการ (The Leader as Expert) ผู้น้อยส่วนมากหวังพึ่งผู้นา
จะทาหน้าที่คล้ายกับผู้ชานาญการในสายวิชาชีพนั้น ๆ แต่ผู้นาจะรู้เรื่องต่างๆ
ในด้านเทคนิคไปเสียหมดทุกอย่างไม่ได้ผู้นาในองค์การนอกแบบหรือองค์การอรูปนัย
บุคลากรที่มีความรู้ความชานาญในสายวิชาชีพมักจะมีบุคลากรอื่นมาหา
เพื่อปรึกษาหารือขอความช่วยเหลืออยู่เสมอ โดยเป็นการขอความช่วยเหลือส่วนตัว
บุคลากรผู้นั้นจึงกลายเป็นผู้นาอย่างไม่เป็นทางการอยู่ในองค์การนั้นๆ
5) ผู้นาในฐานะตัวแทนของกลุ่มเพื่อติดต่อกับภายนอก (The Leader as External Group
Representative) เนื่องจากสมาชิกของกลุ่มหรือขององค์การหรือหน่วยงานใดก็ตาม
จะพากันไปติดต่อกับภายนอกหมดทุกคนโดยตรงไม่ได้
ผู้นาที่มีคุณสมบัติเป็นที่พอใจของกลุ่มมักจะได้รับเลือกให้ไปทาหน้าแทน
เขาก็กลายเป็นเจ้าหน้าทีประชาสัมพันธ์ของกลุ่ม
ต่อมาไม่เพียงแต่จะมีหน้าที่ติดต่อกับบุคคลภายนอกแทนกลุ่มเท่านั้น
แต่เมื่อบุคคลภายนอกมาเจรจาอะไรกับกลุ่มก็ต้องเข้ามาเจรจาผ่านเข้าอีกด้วย
ผู้นาประเภทนี้กลายเป็นผู้รักษาประตู ของบุคลากรในกลุ่ม หรือในองค์การ หรือหน่วยงานนั้นๆ โดยปริยาย
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 4
6) ผู้นาในฐานะผู้ควบคุมความสัมพันธ์ภายใน (The Leader as controller of Internal
Relations) ผู้นามักจะทาหน้าที่ควบคุมดุแลรายละเอียดต่างๆ ภายในกลุ่ม
และเรื่องสาคัญมากเรื่องหนึ่งภายในกลุ่ม ก็คือ
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรที่เป็นสมาชิกของกลุ่มนั้นเองในบางกลุ่มไม่ว่าจะมีอะไรเกิดขึ้น
เช่นการจัดงานมงคลให้แก่สมาชิกคนใดคนหนึ่ง หรือเรื่องอะไรก็ตาม
สมาชิกเป็นเจรจาผ่านหัวหน้าหรือผู้นา ในบางกลุ่มผู้นาจะเจรจาให้หรือจะเอาใจใส่เฉพาะสมาชิกบางคน
ไม่ทุกคน แต่ในบางกลุ่มผู้นาก็ไม่สนใจเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกภายในกลุ่มเลยก็มี
ทั้งนี้แล้วแต่ลักษณะของผู้นาเป็นคนๆ ไป
7) ผู้นาในฐานะผู้ให้คุณและให้โทษ (The Leader as Purveyor of Rewards and
Punishments) บุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเสนอให้คุรและให้ดทษแก่บุคลากรอื่นหรือมีอานาจให้คุณใ
ห้โทษ จะกลายเป็นผู้ทรงอานาจสาคัญและกลายเป็นผู้นาในที่สุด
คุณและโทษที่ว่านี้อาจจะเป็นการขึ้นเงินเดือน ตัดเงินเดือน
หรือการมอบหมายงานให้มากให้น้อยหรือให้งานที่ยากๆหรือง่ายๆทาก็ได้ทั้งนั้น
ผู้บริหารที่ดีพึงระวังที่จะไม่มอบอานาจเช่นนี้ให้แก่บุคลากรคนใดมากเกินไป
เพราะความเสียหายอาจจะเกิดขึ้นกับองค์การได้ในภายหลัง
8) ผู้นาในฐานะผู้ไกล่เกลี่ย (The Leader as Purveyor of Rewards and ) เมื่อมีการขัดแย้งใดๆ
เกิดขึ้น บุคลากรคนใดคอยไกล่เกลี่ยให้สงบและเข้าใจกันได้ บุคลากรผู้นั้นมักจะกลายเป็นผู้นาในภายหลัง
บางทีผู้นาประเภทนี้ทาหน้าที่เป็นผู้พิพากษาคดีภายในด้วยตนเองเลยก็มี
9) ผู้นาในฐานะที่เป็นบุคคลตัวอย่าง (The Leader as
Exemplary) บุคลากรที่มีความประพฤติดีหรือปฏิบัติงานดีจนได้รับการยกย่องอยู่เสมอว่า
เป็นตัวอย่างที่ดีขององค์การ มักจะกลายเป็นผู้นาของบุคลากรอื่นได้โดยง่าย
เพราะเป็นคนที่ได้รับการนับถือจากบุคลากรสาคัญในองค์การ
10) ผู้นาในฐานะสัญลักษณ์ของกลุ่ม (The Leader as Symbol of the
Group) ความสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวของกลุ่มคนทุกชนิดมีความสาคัญต่อการดารงอยู่ของกลุ่ม
แต่คนหมู่มากอยู่ด้วยกันจะให้สามัคคีกันตลอดเวลาย่อมลาบากมาก
กลุ่มจึงมักมีคนๆหนึ่งหรือบางคนที่ได้รับการยกย่องจากบุคลากรทั้งหลายว่าเป็นตัวแทนและเป็นคนดีที่หาที่
ติไม่ได้ของเขา ซึ่งจะดีกับเขาเสมอไม่ว่าจะในโอกาสใด และจะดีด้วยกับคนทุกคน
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 5
นี้จะไม่มีทางกระทาการใดอันจะเป็นภัยต่อกลุ่มโดยเด็ดขาด คนๆ นี้จึงกลายเป็นสัญลักษณ์ของกลุ่ม
เป็นผู้นาในทานองเดียวกับพระมหากษัตริย์เป็นผู้นาของประเทศอานาจที่ผู้นาเหล่านี้มีจึงสูงสุด
เหนือจิตใจคนภายในกลุ่มทุกคนและทุกฝ่าย
11) ผู้นาในฐานะตัวแทนรับผิดชอบ (The Leader as substitute for Individual
Responsibility) ไม่แปลกเลยที่กลุ่มคนบางกลุ่ม หรือองค์การ หรือหน่วยงานบางแห่ง
มีผู้นาคนหนึ่งหรือหลายคนอาสาเข้ารับผิดชอบรับผิดชอบต่อการตัดสินใจ
และการกระทาบางอย่างของบุคคลบางคนในกลุ่ม
หรือรับผิดชอบต่อกิจการทั้งหมดที่คนกลุ่มนั้นกระทาลงไป โดยเหตุนี้บางทีในโอกาสต่อมา
บุคลากรในกลุ่มจะมอบหมายให้ผู้นามีอานาจตัดสินใจกระทาการใดๆ แทนตนได้เพื่อป้ องกันความผิดพลาด
ซึ่งอาจเป็นเหตุให้ผู้นาของตนต้องพลอยรับผิด โดยไม่ได้กระทาผิดกับพวกเขา
12) ผู้นาในฐานะผู้มีอุดมคติ (The Leader as Ideologist) บางทีผู้นาบางคนเป็นศาสดาของกลุ่ม
เป็นผู้กาหนดอุดมคติ สร้างความเชื่อหรือศรัทธาต่างๆ ให้แก่บุคลากรอื่น
แม้กระทั่งคุณธรรมประจาใจและขนบประเพรีต่างๆของกลุ่ม
อุดมคติดังกล่าวในตอนแรกอาจเป็นเพียงคาพูดของเขาที่ใครๆ พากันนิยมและปฏิบัติตาม
ต่อมาก็กลายเป็นอุดมคติทางการ ของกลุ่มไปผู้นาประเภทนี้มักเป็นนักพูดและนักคิด
ที่สมาชิกทุกคนในกลุ่มให้ความนับถือ
13) ผู้นาในฐานะบิดาผู้มีแต่ความกรุณา (The Leader as Father
Figure) ผู้นาประเภทนี้วางตัวเป็นผู้ใหญ่ มีอาวุโสที่สุดในกลุ่ม
และมีบุคลิกลักษณะน่านับถือในฐานะเป็นบิดาของกลุ่ม ซึ่งจะดุด่าใครก็ตาม การดุด่านั้นไม่มีใครโกรธ
เพราะทุกคนทราบดีว่าเบื้องหลังคาพูดด่าของคนๆนั้น เขามีความรักความหวังดีอยู่ด้วยเสมอไป
และเขาจะเป็นที่พึ่งทางใจให้แก่คนทุกคนเมื่อมีความทุกข์ได้เสมอ
14) ผู้นาในฐานะเป็นผู้รับความผิดแทน (The Leader as
Scapegoat) ผู้นาที่รับผิดชอบและเป็นบิดาของกลุ่มทุกคนย่อมหวังได้ว่า
เมื่อใดมีความเสียหายเกิดขึ้นตนเองนั้นแหละจะถูกลงโทษแทน
บุคลากรจานวนมากในกลุ่มคนทุกประเภทต่างก็ไม่ต้องการรับผิดเมื่อมีความผิดเกิดขึ้น
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 6
แต่จะพากันซัดทอดกลายเป็นผู้นาขึ้นมาในภายหลังได้เหมือนกัน เพราะเมื่อเหตุการณ์ร้ายผ่านไป
ผู้คนพากันเห็นอกเห็นใจที่เขาเคยได้รับเคราะห์กรรมแทนพวกตนแต่เพียงผู้เดียว
3. ทฤษฎีภาวะผู้นา
3.1 ผู้นาตามทฤษฎีพฤติกรรม
การแบ่งประเภทของผู้นาตามแนวคิดทฤษฎีพฤติกรรมผู้นาได้แบ่งประเภทผู้นาได้หลายวิธี แบ่งแยก
ตามลักษณะที่เป็นเชิงพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ ดังนี้
3.1.1 การแบ่งประเภทของผู้นาตามลักษณะของการปฏิบัติงาน มีดังนี้
ผู้นาตามกฎหมาย ได้แก่ผู้นาที่เกิดขึ้นตามกฎหมาย หรือระเบียบที่กาหนด เช่น
นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ปลัดกระทรวง ฯลฯ โดยกฎหมายกาหนดคุณสมบัติของแต่ละตาแหน่งเอาไว้
ผู้นาที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะตัว เป็นผู้ที่มีคุณสมบัติพิเศษมีบุคลิกลักษณะหรือวามสามารถ
พิเศษเฉพาะตัว ซึ่งเป็นได้ทั้งในทางที่ดีหรือเลว เช่น หัวหน้านักเลง หัวหน้าทีมกีฬา เป็นต้น
ผู้นาในลักษณะที่เป็นสัญลักษณ์ เช่น
พระมหากษัตริย์เป็นผู้นาของพระราชวงศ์หรือของประเทศชาติที่มีพระมหากษัตริย์เป็นผู้นา
3.1.2 การแบ่งประเภทของผู้นาตามลักษณะพฤติกรรม
จอห์น ฟลานาแกน (John C. Flanagan) ได้ศึกษาลักษณะพฤติกรรมของหัวหน้า
และได้แบ่งผู้นาตามลักษณะออกได้เป็น 3 ประเภท คือ
1) ผู้นาที่มุ่งแต่งานเป็นสาคัญ มีลักษณะพฤติกรรมแสดงออกเป็นเผด็จการ
2) ผู้นาที่ตระหนักถึงผลงานและความพอใจของทุกฝ่ าย เป็นผู้ที่มีพฤติกรรมแบบ
ประชาธิปไตย
3) ผู้นาที่ถือว่าประสิทธิภาพของการทางานสูงได้เนื่องจากน้าใจ ผู้นาประเภทนี้ถือว่าน้าใจ
หรือสิ่งตอบแทน เป็นสิ่งสาคัญที่กระตุ้นให้การทางานมีประสิทธิภาพสูง
3.1.3 การแบ่งประเภทผู้นาตามลักษณะการบริหารงาน
ลิปปิทท์ (Lippitt) แบ่งประเภทของผู้นาตามลักษณะของการบริหารงานเป็น 3 ประเภทได้แก่
1) ผู้นาแบบเผด็จการ (The Autocratic Style) เป็นผู้กาหนดและวางนโยบายตลอดจน
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 7
วัตถุประสงค์ของการทางานโครงการต่าง ๆ
แล้วมอบงานให้บุคลากรที่จะรับงานไปปฏิบัติมาสอบถามความสมัครใจหรือหารือขอความคิดเห็น ผู้นาแบ
บเผด็จการจะชมหรือ วิจารณ์หรือตาหนิใครก็ตาม จะชมหรือวิจารณ์หรือตาหนิโดยตัวบุคคล
มิใช่โดยตาแหน่ง และจะแยกตนเองออกห่างจากบุคลากรอื่น ๆ ทุกคนในหน่วยงานจะวางตนเป็นเอกเทศ
ยากที่บุคลากรผู้ใดจะเข้าพบหาได้โดยสะดวกบรรดาการตัดสินใจสั่งการทุกชนิดจะทาไป
โดยลาพัง เกือบจะหาการตัดสินใจสั่งการเพราะบุคลากรอื่นสนับสนุนให้ทาหรือเป็นความต้องการเช่นนั้นข
องบุคลากรอื่นไม่ได้เลย
ผู้นาแบบเผด็จการเป็นผู้บัญชางาน บุคลากรอื่นทาได้อย่างเดียวคือปฏิบัติการตามบัญชา และไม่มีทางเลือกห
รือทางออกใด ๆ ทั้งสิ้น
2) ผู้นาแบบประชาธิปไตย (The Democratic Leader) เป็นผู้ออกคาสั่ง ประกาศ นโยบาย
และวัตถุประสงค์ของโครงสร้างต่างๆ ก็จริง แต่บรรดาคาสั่ง นโยบาย
และวัตถุประสงค์ที่ผู้นาแบบประชาธิปไตยสั่งไปนั้นล้วนแล้วแต่กาหนดขึ้นจากบุคลากรทุกคนร่วมกันทุกค
นจนเป็นที่พอใจ ผู้นาแบบประชาธิปไตยจึงสั่งการตามนั้นบุคลากรมีสิทธิแม้กระทั่งจะเลือกงานอย่างใดที่เห็
นว่าเหมาะสมกับความถนัดและ ความสามารถของตน
หรือแม้เลือกบุคลากรอื่นที่ควรคิดว่าน่าจะร่วมกันทางานได้ดีในคณะเดียวกันก็ได้
รวมความว่าบุคลากรทุกคนมีส่วนวินิจฉัยในการแบ่งและมอบหมายงาน
ผู้นาแบบนี้เวลาจะดารงตาแหน่งผู้นามิใช่ทาไปตามอาเภอใจหรือตามความพอใจส่วนตัวของตนเองและเมื่อ
มีงานใดผู้นาประเภทนี้จะเข้ามามีส่วนร่วมดาเนินการ และร่วมรับผิดชอบด้วยเสมอ
3) ผู้นาแบบตามสบายหรือแบบเสรี (The Laissez-faire or Anarchic Leader) มอบอานาจ
เต็ม และเสรีภาพอย่างกว้างขวางในการวินิจฉัยสั่งการ กาหนดนโยบาย กาหนดวัตถุประสงค์
ตลอดจนแบ่งงานและกาหนดคนทางานให้แก่บุคลากรอื่นทั้งหมด โดย ตนเองไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวด้วยเลย
ผู้นาประเภทนี้เพียงแต่สนับสนุนโดยการจัดหาวัสดุ ต่าง ๆ
เพื่อให้ความสะดวกแก่ผู้ปฏิบัติงานเท่านั้นส่วนตนเองจะนั่งอยู่ห่าง ๆ
จะเข้ามาร่วมก็ต่อเมื่อบุคลากรเรียกหาหรือเชิญให้มาเท่านั้น
น้อยครั้งที่ผู้นาแบบตามสบายจะแสดงความคิดเห็นใด ๆ ออกมา ไม่ชอบตาหนิ ไม่ชอบชม การปฏิบัติงานใด
ๆ ของผู้ใดทั้งสิ้นและจะไม่ขัดขวางหากมีใครเสนออะไรมา
มักยอมอนุมัติเรื่อยไปโดยไม่ค่อยพิจารณาเหตุผลใด ๆ
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 8
3.1.4 แบ่งตามลักษณะพฤติกรรมที่แสดงออกและพฤติกรรมการทางาน
เก้ตเซลล์กับกูบา (Getzels กับ Guba) แบ่งผู้นาออกเป็น 3 ชนิด
ตามลักษณะของพฤติกรรมที่ผู้นาแสดงออก (Role Behavior) ในการบริหารหน่วยงาน
ผู้นาดังกล่าวทั้ง 3 ชนิด คือ
ผู้นาที่ยึดสถาบันเป็นหลัก (The Nomothetic Leader) คือผู้นาที่ถือเอาวัตถุประสงค์
ระเบียบกฎเกณฑ์และผลประโยชน์ของสถาบันหรือหน่วยงานเป็นสาคัญ
แม้จะต้องทาลายน้าใจคนหรือทาให้ผู้ใดเดือดร้อนก็ไม่ถือเป็นสิ่งสาคัญ สถาบันหรือหน่วยงานก่อนเสมอ
ผู้นาที่ยึดบุคคลเป็นหลัก (The Idiographic Leader) คือผู้นาที่อาศัยความคิดเห็นและการตัดสิ
นใจของตนเองเป็นแนวทางสั่งการ โดยพิจารณาตัวบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นายๆไป
ไม่ว่าจะทาการใดคานึงถึงความเหมาะสม ความต้องการ ความจาเป็น ความสุข
ความเดือดร้อนของบุคคลที่เกี่ยวข้องก่อนสิ่งใด หากมีอะไรขัดต่อระเบียบอยู่บ้างก็ไม่สนใจ
หากพิจารณาว่าเหมาะสมกับบุคคลนั้นบุคคลนี้ก็จะสั่งการทันที
คือถือว่าการคบหาส่วนตัวสาคัญกว่าตาแหน่ง
ผู้นาที่ประสานประโยชน์ (The Transactional
Leader) คือผู้นาที่พิจารณาทั้งประโยชน์ของสถาบันหรือหน่วยงานและประโยชน์ของบุคคล
ทั้ง 2 อย่างพร้อม ๆ กันแล้วอะลุ้มอล่วยไม่ให้ฝ่ายใดต้องเสียหายมากเกินไป
เป็นผู้นาที่รู้จักประนีประนอมในเรื่องทุกเรื่องประโยชน์ของหน่วยงานก็ได้ ประโยชน์ของบุคคลก็ได้ พร้อม
ๆ กันไป
3.1.5 การแบ่งประเภทผู้นาตามทฤษฎี 3 มิติ ของเร็ดดิน
วิลเลี่ยม เร็ดดิน (William J. Reddin) กล่าวว่า โดยธรรมชาติมนุษย์มีลักษณะผู้นาพื้นฐานอยู่
ในตัวเอง 4 แบบคือ
แบบเอาเกณฑ์ แบบเอางาน แบบสัมพันธ์ แบบประสาน
1) แบบเอาเกณฑ์ (Separated) เป็นแบบของนักอนุรักษ์นิยม ชอบของเก่า ยึดตัวเองเป็น
ที่ตั้งจึงไม่เอาใคร อดทน เก็บตัว เจ้าระเบียบ จึงเป็นคนยึดถือและต้องทาอะไรตามกฎเกณฑ์
มีความระมัดระวังในการทางานมากเนื่องจากกลัวผิด ไม่อยากทางานร่วมกับผู้อื่นเพราะกลัวว่าถ้าคนอื่นทาผิ
ดตัวเองจะต้องผิดด้วย
เพื่อไม่ให้มีความผิดก็เลยไม่ทางานหรือทางานให้น้อยที่สุดเท่าที่จาเป็นเท่านั้น และยังเป็นคนที่ไม่เอาเพื่อนเ
อาฝูงหรือจัดว่าเป็นคนที่ ไม่เอาไหน เพราะไม่เอาทั้งงานและคนนับเป็น ลักษณะผู้นาที่ต่าที่สุด
2) แบบเอางาน (Dedicated) เป็นแบบของคนที่เอาการเอางาน ยึดถืองานเป็นหลักใหญ่
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 9
ในใจมุ่งมั่นในงานมาก ขยัน มั่นใจ กล้าทา มีความคิดริเริ่ม ชอบกาหนดงานให้ผู้อื่น
ไม่คิดถึงจิตใจของผู้อื่นจึงไม่เอาใคร ไม่มีเพื่อน สรุปว่าเป็นคนเอาการเอางานแต่ไม่มีมนุษย์สัมพันธ์
นั่นก็คือ เน้นที่งานมากกว่าคน
3) แบบสัมพันธ์ (Related) เป็นลักษณะคนที่เน้นมนุษย์สัมพันธ์เป็นหลักในการทางาน
เอาใจคนทุกระดับไม่ต้องการให้ใครเกลียด
จึงมีนิสัยเป็นกันเองและเป็นมิตรกับคนทุกคนยอมรับผู้อื่นเห็นใจคนอื่นไม่อวดตัวทาอะไรไม่อยากให้กระท
บกระเทือนใจใครให้ความสาคัญเรื่องสัมพันธภาพกับบุคคลมากกว่าเรื่องการงานนั่นก็คือบุคคลประเภทที่เน้
นที่คนมากกว่างานถ้าจะต้องเลือกระหว่างคนกับงาน ผู้นาประเภทนี้จะเลือกเอาคนไว้ก่อนงานมาทีหลัง
4) แบบประสาน (Integrated) เป็นลักษณะของคนที่ให้ความสาคัญแก่งานและคนไปพร้อม
ๆ กัน เท่า ๆ
กัน โดยถือว่าคนเรามีมิตรสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีความสามัคคี ร่วมมือร่วมใจกันทางานก็จะได้ผลงานที่ดี
มีประสิทธิภาพสูง
ผู้นาประเภทนี้จะมีศิลปะการจูงใจสูงพยายามให้ทุกคนมีส่วนร่วมในงาน ทาให้ผู้ใต้บังคับบัญชารักและให้ค
วามร่วมมือเป็นอย่างดี จัดเป็น ผู้นาแบบอุดมคติ
ลักษณะผู้นาพื้นฐานทั้ง 4 แบบนี้จะอยู่ในตัวบุคคลทั้งที่ยังเป็นมนุษย์ดิบ หรือเป็นมนุษย์ดิบ ๆ สุก ๆ
ที่ไม่มีสิ่งห่อหุ้มเลย ลักษณะผู้นาพื้นฐานของแต่ละคน
อาจจะเปลี่ยนไปเองจากแบบหนึ่งไปเป็นอีกแบบหนึ่ง หรือขยายไปใช้อีกแบบหนึ่งพร้อมๆ กัน
หรืออาจจะหดกลับมาเป็นแบบเดิมของตนก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการอบรมบ่มนิสัยสถานการณ์
และสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ซึ่งเป็นสิ่งห่อหุ้มร่างกายทั้ง 2 ชั้นที่กล่าวมาแล้ว และที่สาคัญที่สุด
คือความตั้งใจของผู้ที่ต้องการจะเปลี่ยนแปลงลักษณะผู้นาของตนเองมีมากน้อยแค่ไหน
เมื่อเรามองตัวเองหรือได้รับคาบอกเล่าจากผู้อื่น
ทาให้รู้ตัวว่าเราเป็นคนที่มีลักษณะประเภทใด ถ้าต้องการเปลี่ยน
หรือขยายแบบของลักษณะผู้นาไปเป็นประเภทอื่นก็ย่อมจะทาได้ เช่น เรารู้ตัวว่าเป็นคนเอาพวกพ้อง
เห็นแก่พรรคพวกมากเกินไป ทาให้ไม่ใคร่ได้งาน เราก็ต้องปรบปรุงตัวเราให้เอาการเอางานให้มากขึ้น
โดยลดการเห็นแก่พรรคพวกเพื่อนฝูงลงมาให้เหลือน้อยลง
หรือถ้าเรารู้ตัวว่าเป็นคนประเภทเอาเกณฑ์อยากจะเปลี่ยนแปลงตัวเองให้ดีขึ้นเป็นประเภทประสาน เราก็ต้อ
งปรับปรุงตัวเองเพิ่มทั้ง TO และ RO คือทาตัวเองให้มีมนุษย์สัมพันธ์ให้มากขึ้นทั้งกับผู้บังคับบัญชา ผู้ร่วมง
าน ผู้ใต้บังคับบัญชา และต้องทาตัวให้เป็นคนเอาการเอางานมากขึ้นหรือศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมให้มากขึ้น
3.1.6 ผู้นาแบบมีประสิทธิผลสูงประสิทธิผลต่า
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 10
ลักษณะผู้นาแบบต่าง ๆ
นอกจากแบบพื้นฐานที่กล่าวในข้อ 5.1.5 แล้วยังแบ่งแยกออกตามประสิทธิผลได้ดังนี้
3.1.6.1 ลักษณะผู้นาที่มีประสิทธิผลสูง มี 4 แบบ คือ
1)
ผู้ทางานตามสั่ง (Bureaucrat) เป็นลักษณะผู้นาที่เปลี่ยนแบบดีขึ้นจากแบบเอาเกณฑ์ เป็นคนเข้มงวด
ถือว่าเป็นความสาคัญที่จะต้องทางานตามกฎระเบียบ ข้อบังคับ และคาสั่งอย่างเคร่งครัด ถูกต้อง
ไม่จาเป็นที่จะต้องมีความคิดเห็นใหม่ ๆจึงไม่กระตุ้นให้เกิดผลผลิตใหม่ ๆ
พยายามดาเนินงานตามแบบเก่าที่เคยปฏิบัติมาแล้วทั้งสิ้น
สนใจในการทางานแต่ไม่สนใจความสาเร็จของงานและสัมพันธภาพกับผู้ร่วมงานจึงไม่มีการวางแผนงานระ
ยะยาว คนลักษณะนี้ถ้าเป็นทหารหรือข้าราชการจะประสบความสาเร็จ เขามักจะมีคติประจาใจว่า
 จงทาตามกฎข้อบังคับ แล้วจะไม่ทาอะไรผิดเลย
 จงมาดูกันเถอะว่า ครั้งก่อนเราทาอย่างไร
 องค์กรที่ดี คือ องค์กรทีมีระเบียบปฏิบัติทุกอย่างพร้อมมูล
2)
นักพัฒนา (Developer) เป็นนักบริหารที่เปลี่ยนแปลงมาจากแบบสัมพันธ์ซึ่งมุ่งที่ตัวคนเป็นหลัก เขาจึงมุ่งพั
ฒนาคนรู้วิธียั่วยุจูงใจและพัฒนาบุคคล
วิธีสอนคนธรรมดาให้เป็นหัวหน้าบางครั้งผู้ที่ถูกเขาพัฒนาก็ไม่รู้ตัว เข้าทานอง ปิดทองหลังพระ แต่พอเขาย้
ายไปแล้วทุกคนจะรู้สึกเสียดายเขา
หัวหน้าประเภทนี้บางคนถือว่าการทางานเป็นเรื่องธรรมดาเหมือนกับการเล่นหรือพักผ่อน
มักใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่กับผู้ใต้บังคับบัญชา และมอบหมายให้ผู้ใต้บังคับบัญชารับผิดชอบงานใหม่ ๆ
กระตุ้นให้เขาเป็นตัวของตัวเอง ควบคุมตัวเอง รู้จักรับผิดชอบ ขยัน และมีความคิดสร้างสรรค์
ฉะนั้นลูกน้องมักจะรักและได้ผลงานดีตลอดมา
3) ผู้เผด็จการที่มีศิลป์ (Benevolent Autocrat)เปลี่ยนมาจากแบบเอางาน
มีความมั่นใจในตัวเองมาก
มีความชานาญในด้านการสั่งงานอย่างมศิลป์ ผู้รับคาสั่งปฏิบัติตามโดยไม่มีข้อขุ่นใจ ทาให้ผลงานดีมีประสิ
ทธิภาพ เป็นลักษณะของผู้เผด็จการแต่นุ่มนวลมีศิลปะ มักเป็นผู้ทะเยอทะยาน
พยายามจะไต่เต้าขึ้นมาจนถึงเป็นนักบริหารระดับสูง เพราะเป็นคนที่พยายามปรับปรุงตัวเองโดยอาศัยความ
รู้ พยายามฝึกฝนหาความชานาญให้แก่ตัวเองอยู่เสมอ
เป็นคนที่รู้กฎระเบียบข้อบังคับและงานในหน้าที่เป็นอย่างดี จึงทางานสาเร็จเป็นส่วนมาก
บุคลประเภทนี้มักพบมากในวงการอุตสาหกรรม
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 11
4)
นักบริหาร (Executive) เปลี่ยนมาจากแบบประสาน เป็นลักษณะของหัวหน้างานที่มีประสิทธิภาพ ทาตนเ
ป็นแบบอย่างที่ดีทางานคานึงถึงความสาเร็จของงานเป็นที่ตั้ง
รู้จักใช้ความสามารถของลูกน้องให้เป็นประโยชน์มากที่สุด มีความสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชาดีมาก ไม่ใช้
อานาจกดขี่บังคับ พยายามให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการวางแผนงาน ปรับปรุงงานให้ดีขึ้น
มีความคิดริเริ่มและความร่วมมืออยู่เสมอ ปูนบาเหน็จรางวัล
ยกยอ่งและให้เกียรติลูกน้องไม่แย่งเอาผลงานหรือความดีความชอบของลูกย่อฃมาเป็นของตนตรงกันข้ามจะ
ต้องแสดงให้ผู้บังคับบัญชาและผู้อื่นทราบด้วยว่า
ผลงานทีดีชิ้นนั้นเป็นของใคร นอกจากการให้คุณแล้ว การให้โทษลูกน้องก็เป็นเรื่องสาคัญ เมื่อทาผิดก็ต้อง
ลงโทษ จะต้องลงโทษผู้กระทาความผิดอย่างสมเหตุสมผล
ไม่ใช้อารมณ์และจะต้องยุติธรรมถ้าเป็นเช่นนี้แล้ว ทุกคนจะมีขวัญกับกาลังใจในการทางาน รักหน่วยงานแ
ละผู้บังคับบัญชา มีความสามัคคีและมีความรู้สึกเป็นเจ้าของงานร่วมกัน
3.1.6.2 ลักษณะผู้นาที่มีประสิทธิผลต่า เปลี่ยนแบบมาจากลักษณะผู้นาพื้น
ฐานในทิศทางต่าลง มี 4 ประเภทเช่นเดียวกัน คือ
1)
ผู้หนีงาน (Deserter) เป็นลักษณะผู้นาที่เปลี่ยนมาจากแบบเอาเกณฑ์ในทางเลวลง บริหารงานแบบขาดควา
มสนใจ ไม่เน้นทั้งด้านงานและคนมักหนีงาน บางทีขัดขวางการทางานของคนอื่นหัวหน้างานชนิดนี้มีอยู่มา
ก มักคิดว่าไม่ได้รับความยุติธรรม ก็เลยละเลยงานในหน้าที่ให้มากที่สุดหรือไม่ทาอะไรเลย
ทาให้เสียงานมักทาให้ทุกสิ่งยุ่งยาก เลยฉุดให้ผู้อื่นชะงักงาน จะทางานให้ได้ผลเพียงเท่าที่ป้ องกันไม่ให้คน
อื่นมารบกวนเท่านั้น และจะไม่เกี่ยวข้องกับงานอื่นทั้งสิ้น ไม่ช่วยใคร พยายามนาตัวไปพัวพันกับเรื่องของ
คนอื่นให้น้อยที่สุด เขามักจะมีความคิดว่า
 เมื่อทาครั้งแรกไม่สาเร็จ ก็จงเลิกทามันเสียเลย
 ผมชอบตาแหน่งนี้ แต่ไม่ชอบการทางาน
 มันเป็นนโยบายขององค์การ ผมไม่มีความเห็น
 จงคิดดูซิ มันจะต้องมีวิธีการทางานที่ยากกว่านี้
 ผมชอบทางานจริงๆ แต่ชอบนั่งดูมากกว่า
 ถ้าหนีงานไม่ได้ก็ทนทามันไป
โดยธรรมชาติไม่มีหัวหน้างานคนใดจะเป็นคนเช่นนี้มาก่อนมักเกิดขึ้นเพราะองค์การหรือหัวหน้าชั้นเ
หนือเป็นเหตุแต่เมื่อหัวหน้าคนใดเกิดลักษณะนี้ขึ้นก็มักจะแก้ได้ยาก
เพราะฉะนั้นในฐานะที่เราเป็นหัวหน้าชั้นสูง
ต้องหาทางป้ องกันไม่ให้หัวหน้างานชนิดนี้เกิดขึ้นในหน่วยงานของเราได้
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 12
2) นักบุญ (Missionary) เปลี่ยนมาจากแบบสัมพันธ์
เป็นลักษณะหัวหน้างานที่ใจบุญ นึกถึงคนมากกว่างาน
ถือว่าความสัมพันธ์อันดีต่อกันในระหว่างผู้ร่วมงานสาคัญกว่าผลผลิตของงานเขาปรารถนาเป็น “คนดี” โดย
ไม่โต้แย้งหรือคัดค้านการกระทาผิดใดๆ
เรียกว่าเป็นคนประเภท “ขอรับกระผม” คือถือว่าคนที่เป็นผู้ใหญ่แล้วไม่สมควรจะโต้เถียงกับใคร
และถือว่าการโต้เถียงและข้อขัดแย้งไม่อาจแก้ปัญหาได้
การบริหารแบบนี้จะเป็นเหตุทาให้ผลผลิตตกต่าเพราะไม่เคยแก้ปัญหาเรื่องคน
แต่ถ้าเกิดปัญหาเกี่ยวกับคนเขาก็จะหาทางย้ายคนๆ นั้นไปเสีย
เขาถือว่าการทางานที่ดีที่สุดคือการดารงความสงบเรียบร้อยเอาไว้
3) ผู้เผด็จการ (Autocrat) เป็นลักษณะของผู้บริหารที่เปลี่ยนแบบมาจากแบบเอางาน
หัวหน้างานแบบนี้มุงแต่งานอย่างเดียว ไม่คิดถึงสัมพันธภาพกับใคร ไว้ใจคนอื่นน้อยมาก ผู้ร่วมงานไม่รัก
มีแต่กลัว และจะทางานให้ตามคาสั่งเท่านั้น หัวหน้างานชนิดนี้มักคิดว่าคนอื่นไม่ชอบทางาน
คอยเลี่ยงงานเสมอ ไม่รับผิดชอบ มีความทะเยอทะยานน้อย
จึงต้องคอยควบคุมบังคับบัญชาและลงโทษอยู่เสมอ เขามักจะมองผู้ใต้บังคับบัญชาเหมือนเครื่องจักร
ต้องทางานตามคาสั่งของเขาแต่อย่างเดียวโดยไม่ต้องคิด เขาเป็น
สมอง คนอื่นเป็นแต่มือหรือเท้าไม่จาเป็นต้องแสดงความคิดเห็น
เขาต้องวางแผนให้ผู้ใต้บังคับบัญชาคนไหนไม่เห็นด้วยกับเขาแสดงว่าผู้นั้นพยายามโต้แย้งหรือต้องการจะท้า
ทายเขา เขาจะไม่ยกโทษให้ใครง่ายๆ
หัวหน้างานแบบนี้จะทาให้เกิดปฏิกิริยาในหมู่ผู้ร่วมงานอย่างรุนแรงเกิดกลุ่มต่อต้าน ทาให้เกิดผู้หนีงานมาก
ผู้ใต้บังคับบัญชาที่กลัวหรือไม่มีโอกาสต่อต้านจะแสดงอการนบนอบต่อหน้าแต่จะด่าลับหลัง
ผู้นาประเภทนี้มักจะแสดงพฤติกรรมดังนี้
 จงทาตามที่ผมสั่ง
 อย่าทาอะไรที่เหมือนผม
 คุณต้องหยุดพูดและฟัง ถ้าผมพูด
 จงทาตนเป็นคนมีเหตุผล โดยทาตามที่ผมบอก
 ถ้าคุณจะให้ผมทาตามข้อเสนอของคุณก็ได้แต่คุณจะต้องออกจากงาน
คุณจะเอาไหม
 ผมชอบคนที่เห็นด้วยตลอดกาล บอกกี่ครั้งแล้วว่าผมไม่ชอบคาว่า “ไม่”
4) ผู้ประนีประนอม (Compromiser) เป็นลักษณะผู้นาที่เปลี่ยนมาจากแบบประสาน
หัวหน้างานแบบนี้ทราบว่าการมุ่งทางานให้สาเร็จและการสร้างสัมพันธ์ภาพกับผู้ร่วมงานเป็นสิ่งสาคัญ
แต่เขาไม่มีความสามารถพอที่จะตัดสินใจลงไปได้ว่าจะทาอย่างไรหรือ
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 13
ไม่ก็อาจจะผสานความคิดทั้งสองอย่างนี้เข้าด้วยกัน มีลักษณะเป็นคนโลเล
และชอบการประนีประนอมความกดดันบางอย่างจะมีอิทธิพลทาให้เขาต้องตัดสินใจยินดีที่จะแก้ปัญหาเฉพา
ะหน้าให้น้อยลงมากกว่าที่จะมุ่งผลผลิตในระยะยาว
ไม่หวังผลเลิศจากการงานเพียงต้องการให้งานดาเนินไปเรื่อยๆ
เช่นว่าผลงานที่ดีที่สุดเป็นเพียงความฝันเท่านั้น เขาจะเป็นผู้เสนอแนะแต่ไม่เคยทาอะไรจริงจัง
ซึ่งเรามักจะเรียกว่า ผู้ทางานด้วยปาก เขาคิดว่าการวางแผนงานจะต้องใช้วิธีประนีประนอม
เขาสนใจเฉพาะสิ่งที่จะทาให้งานเดิน เขาไม่ยุ่งกับใครและใครก็ไม่ยุ่งกับเขา
เขามักจะถูกมองว่าเป็นคนที่มีการตัดสินใจไม่ดีและเป็นคนที่ยอมให้แรงกดดันจากภายนอกมาบีบตนเองมาก
เกินไป เขามักจะถือคติว่า
 ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้พูด
เขาจะได้คิดว่าเขาได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจด้วยเหมือนกัน
 ถ้าหลอกเขาได้บางครั้งก็นับว่าดีแล้ว
3.1.7 ผู้นาตามทฤษฎีตาข่ายการจัดการ
โรเบิร์ต เบลค และ เจมส์ เมาตัน (Robert Elake & James
Mouton) ได้สร้างทฤษฎีตาข่ายการจัดการ เพื่ออธิบายลักษณะผู้นาแบบต่างๆ ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้
คล้ายกันที่ได้อธิบายไว้แล้วในเรื่องการเปลี่ยนแปลงลักษณะผู้นาพื้นฐาน
นอกจากนี้ ยังมีทฤษฎีที่แบ่งประเภทผู้นาตามพฤติกรรมออกได้หลายแบบ
เช่นแบ่งตามลักษณะอานาจที่ได้รับ แบ่งตามพฤติกรรมการทางาน แบ่งตามบทบาทที่แสดงออกเป็นต้น
3.2 ผู้นาตามทฤษฎีคุณลักษณะของผู้นา
3.2.1 ทฤษฎีลักษณะผู้นา
ทฤษฎีนี้เชื่อว่า
บุคคลบางคนเกิดมาพร้อมด้วยลักษณะบางประการที่จะช่วยสนับสนุนให้เขาเป็นผู้นาได้
ซึ่งหมายถึงคุณลักษณะ ดังนี้
1) บุคลิกภาพ (Personality) เป็นเรื่องที่ติดมากับตัวบุคคลแต่ละคน
ในส่วนที่สามารถปรับปรุงแก้ไขให้ดีได้บุคลิกภาพดังกล่าว ได้แก่
 ความสามารถในการปรับตัว
 ความต้องการที่จะนา
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 14
 ความต้องการทางอารมณ์
 ความเป็นตัวของตัวเอง
 ความอุตสาหะ พยายาม
 ความคิดสร้างสรรค์
 ความทะเยอทะยาน
2) ความรู้
ความสามารถ (Intelligence) สมองของคนเรานี้ธรรมชาติสร้างมาเพื่อใช้สติปัญญาให้เกิดประโยชน์ต่อส่วน
รวม ความรู้ความสามารถจะเห็นได้จาก
 เชาว์ปัญญา
 ความแม่นยาในการตัดสินใจ
 ระดับความรู้
 ความคล่องแคล่วในการใช้ภาษา
3) คุณลักษณะด้านสังคม (Social skill) การเข้าสังคมเป็นของคนทุกคน
เพราะคนเราไม่สามารถอยู่ได้คนเดียวในโลก
การเข้าสังคมของคนแต่ละระดับต้องมีพิธีรีตองแตกต่างกันออกไป ตามสภาพการณ์และเหตุการณ์นั้น ๆ
คุณลักษณะด้านสังคม เช่น
 การรู้จักประนีประนอม
 ความสามารถในการบริหาร
 ความร่วมมือ
 ความเป็นที่นิยมชมชอบ
 ความเป็นนักการทูต
4) คุณลักษณะด้านกายภาพ (Physical
chanacteristies) ถือเป็นเรื่องที่ติดตัวมาอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งสิ่งเหล่านี้อาจสามารถแก้ไข
ปรับปรุงด้วยการให้อาหาร หรือรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งการออกกาลังกายที่เหมาะสมด้วย
คุณลักษณะด้านกายภาพ มีดังนี้
 ส่วนสูง
 น้าหนัก
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 15
 ความฝึกฝน
 ความสมบูรณ์ของร่างกาย
นอกจากนั้นแล้ว มีนักวิชาการได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับลักษณะของผู้นาไว้หลายท่าน
ทั้งต่างประเทศและประเทศไทย เช่น
1) ดร.อานวย วีรวรรณ อดีตรองนายกรัฐมนตรี
ได้ให้ลักษณะของผู้นาที่เป็นผู้บริหารไว้6 ประการ ได้แก่
 ผู้นาต้องเป็นผู้บุกเบิก
 ผู้นาจะต้องก้าวให้ทันโลก
 ผู้นาจะต้องเป็นนักพัฒนา
 ผู้นาจะต้องเป็นนักต่อสู้
 ผู้นาจะต้องมีบทบาทร่วม พัฒนาสังคม
 ผู้นาจะต้องมีความรับผิดขอบในวิชาเรียน
และได้บอกลักษณะที่ผู้นาควรหลีกเลี่ยง การปฏิบัติไว้7 ประการคือ
 ผู้นาอย่ายึดถือความเป็นนายเหนือกว่า
 ผู้นาอย่าทาให้เป็นผู้รู้มากกว่าที่รู้จริง
 ผู้นาไม่ควร แทรกแซงในขณะทางาน
 ผู้นาอย่าตาหนิผู้อื่นต่อหน้าสาธารณะชน
 ผู้นาอย่าเป็นคนใจน้อย ใจแคบ ขี้โมโห
 ผู้นาอย่าใช้คาสั่งที่ขัดแย้ง
 ผู้นาอย่าใช้คาสั่งมากเกินความจาเป็น
2) นายแพทย์กิติ ตยัคคานนท์ ได้สรุปว่าผู้นาที่ดีควรมีลักษณะดังนี้
 มีสุขภาพแข็งแรง
 มีความรู้ดี
 มีบุคลิกภาพดี
 มีความคิดสร้างสรรค์กระตือรือร้น
 มีการตัดสินใจกับการใช้ดุลยพินิจที่ดี
 มีความกล้าหาญเด็ดเดี่ยว ไม่โลเล ตื่นตัวเสมอ
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 16
 มีความแนบเนียน
 มีความอดทน มีสมาธิ ใจคอหนักแน่น สามารถบังคับต่อตัวเอง
 มีการสื่อความหมายที่ดี
 มีความเห็นอกเห็นใจ
 ไม่เห็นแก่ตัว เสียสละ ไม่ใช้อภิสิทธิในทางที่ผิด
 ยกย่องให้เกียรติ ให้ความไว้วางใจผู้ใต้บังคับบัญชา
 มีความสงบเสงี่ยม
 มีความจงรักภักดีต่อหน่วยงาน
 มีการสังคมดี
 มีการวางแผนงานและการดาเนินงานตามแผน
3) DR. MAY SMITH บอกว่าผู้นาควรมีลักษณะ ดังนี้
 มีเชาว์ปัญญาและวิจารณญาณดี
 มีความยุติธรรม
 มีความรับผิดชอบ
 มีความคิดคานึง
 มีอารมณ์คงเส้นคงวา
 มีอารมณ์ขันเสมอ
4) MR. PETER DRUCKER บอกว่าผู้นาควรมีลักษณะ ดังนี้
 มีความพร้อมทั้งกาย ใจ สมอง
 มีความชานาญพิเศษ
 มีอานาจในตัวเอง
 มีความรอบรู้ทุกอย่างที่สามารถทาได้
 แสวงหาสิ่งที่ดี
 ตรงต่อระเบียบ
 รู้จักที่ต่าที่สูง
 การแสดงท่าทางไม่ขัดตา
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 17
5) ผู้นาที่ดีตามที่สังคมคาดหวังนอกจากมีคุณสมบัติตามที่กล่าวมา แล้ว
ผู้นาที่ดีควรมีลักษณะเพิ่มเติมต่อไปนี้ คือ
 ใจกว้าง ใจดี ไม่ตระหนี่ต่อการเลี้ยงดูและให้รางวัล
 มีพรหมวิหารสี่ ในสถานที่ สถานการณ์ และเวลาอันเหมาะสม
 หนักแน่น ไม่หูเบา รับฟังจากทุกฝ่าย
 มีความยุติธรรม และให้ความเสมอภาคแก่ทุกคน
 ซื่อสัตย์และสุจริต
 ตรงต่อเวลา
 ขยันและอุทิศเวลาให้แก่งาน
 กล้ารับผิด
 ความจริงใจในการพูดและการกระทาทุกชนิด
 อ่อนหวาน นอบน้อม สุภาพ
 เอาใจใส่ดูแลทุกข์สุขของผู้น้อยอยู่เสมอ
 รู้จักเลือกใช้คน
 อดทนด้วยความเยือกเย็นต่อคาพูดที่ขัดแย้งหรือไม่เป็นมิตรทุกชนิด
 ติดตามคาสั่งที่สั่งการไปแล้วอยู่เสมอ
 ฉลาดที่จะกระตุ้นเตือนเมื่อผู้น้อยล่าช้าหรือผิดพลาด
ฯลฯ
โดยสรุปแล้ว คุณลักษณะสาคัญของการเป็นผู้นาตามทฤษฎีและแนวคิดดังกล่าวข้างต้นจะ
สามารถในการส่งผลให้ผู้นาทางานอย่างมีประสิทธิภาพ อันได้แก่ ความเฉลียวฉลาด
ความเจริญวัยด้านสังคม แรงจูงใจภายใน และทัศนคติด้านมนุษย์สัมพันธ์
3.2.2 ลักษณะผู้นาที่ควรหลีกเลี่ยง
ไม่เพียงแต่ลักษณะที่ผู้นาควรมี
แต่ยังมีลักษณะอีกหลายประการที่ผู้นาควรหลีกเลี่ยงและต้องหลบหลุมพราง ซึ่งลักษณะผู้นาที่ควรหลักเลี่ยง
มีดังนี้
 กลัวความล้มเหลว
 มีความรู้สึกไม่มั่นคงในการทางาน
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 18
 เป็นผู้ยึดติดกับของเก่า ไม่ยอมรับของใหม่
 เป็นผู้ไม่หาประสบการณ์ในการทางาน
 เป็นผู้ขาดข่าวสารข้อมูล
 เป็นผู้ขาดทักษะในการตัดสินใจ
 เป็นคนเจ้าอารมณ์และใช้อารมณ์
 เป็นผู้หวงอานาจ หลงอานาจ
 เป็นผู้มีปมด้อย หูเบา หลงเชื่อง่าย
 ขาดคุณธรรม ชอบใช้อานาจเผด็จการ
 ชอบวิจารณ์ผู้อื่นในทางไม่ดี
 ชอบเอารัดเอาเปรียบผู้อื่น
 เป็นคนไม่แน่นอน ใจคอโลเล
 เป็นผู้ดูถูกความสามารถของลูกน้อง
 ไม่มีความสามารถในการถ่ายทอดวิชาความรู้
 คอยจับผิด สอดรู้สอดเห็นเรื่องส่วนตัวของผู้อื่น
หลุมพรางของความเป็นผู้นา ผู้นาต้องหลบหลุมพราง ดังนี้
นั่งติดบัลลังก์ ชอบฟังแต่ข่าวลือ
ดาวดื้อแห่งยุค จุกจิกจู้จี้
หลีกหนีลูกน้อง คล่องเกินการณ์
ชอบแต่งานเด่นดัง ฟังจนเข่าอ่อน
หย่อนของรางวัล ชอบฝันเอาสบาย
วุ่นวายเรื่องย่อย ปล่อยปละละเลย
ชอบเปรยแต่ไม่ทา ข้าขอนาตลอดกาล
อภิบาลพวกพ้อง นักปกครองจอมกะล่อน
หย่อนความขยัน ยานทางศีลธรรม
ความจาไม่เอาไหน บ้าแต่งานมากไป
ใช้คนเหมือนเครื่องจักร ชอบชักแม่น้าทั้งห้า
ไม่รู้ค่าตาแหน่งงาน หมดแรงบันดาลใจ
ไม่ชอบวิชาการ จอมมารเสเพล
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 19
ลักษณะพฤติกรรมที่ควรหลีกเลี่ยงและหลุมพรางดังกล่าว
ถือว่าผู้นาทุกคนจาเป็นต้องหลีกหนีให้ไกลที่สุด เพราะจะทาให้ขาดความเชื่อถือจากผู้ใต้บังคับบัญชา
ทาให้หนีสังคม ไม่มีความเชื่อมั่นในตนเอง ซึ่งสิ่งต่างๆ
เหล่านี้บางครั้งเราต้องพยายามหนีให้พ้นและถือว่าประสบการณ์คือบทเรียน
บทสรุป
การทางานของนักบริหารหรือหัวหน้างาน ก็คือ การทางานกับคนจะทางานกับคนและนาคนอย่างไร
ทั้งผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา หรือหัวหน้างานกับลูกน้อง
นักบริหารที่ฉลาดจะต้องไม่ยอมให้อาชีพตนเองถอยหลังคนที่ดีที่สุด หรือบกพร่องน้อยที่สุด
คือผู้ที่มีความสามารถที่สุดและมีแรงขับภายในหรือศักยภาพ (Potential) ออกมาได้มากที่สุดโดยไม่ยอมอยู่กั
บที่แต่จะก้าวไปข้างหน้าด้วยความมั่นใจ และมั่นคงเสมอ และต้องตระหนักในคาเตือนของปราชญ์จีน
“ซุนวู” ที่กล่าวถึงจุดอ่อนของผู้นา 5 ประการ คือ
ผู้นาที่คิดรุกตลอดเวลา ถูกทาลายได้
ผู้นาที่ห่วงภัยเฉพาะตน ถูกจับกุมได้
ผู้นาที่ฉุนเฉียวง่ายดาย เป็นที่ดูถูกได้
ผู้นาที่พิถีพิถันจู้จี้ เป็นที่ขบขันได้
ผู้นาที่อ่อนไหว ลาบากใจได้
จุดอ่อนทั้ง 5 ประการ คือข้อผิดพลาดในตัวผู้นาซึ่งมีอันตรายใหญ่หลวงเมื่อใดที่องค์กรพ่ายแพ้
และผู้นาถูกทาลายแน่นอนว่า ย่อมมาจากจุดอ่อนทั้ง 5 ประการข้างต้น จึงเป็นสิ่งที่ต้องศึกษาอย่างใคร่ครวญ
สร้างและพัฒนาตนให้มีภาวะผู้นา นาทฤษฎี หลักการ แนวคิด การเป็นผู้นาแบบต่าง ๆ
มาใช้ให้เหมาะสมสิ่งแวดล้อมขององค์กร เพื่อสู่ความสาเร็จขององค์กรหรือหน่วยงาน
โดยที่ไม่มีวันพ่ายแพ้ได้เลย
…………………………..

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรSirirat Pongpid
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์Sivagon Soontong
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาPadvee Academy
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing Aor's Sometime
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมPrasert Boon
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารguest3d68ee
 

Mais procurados (20)

เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
Pwนโยบายคืออะไร
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2 งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
 

Destaque

ภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาJack Hades Sense
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มAj.Mallika Phongphaew
 
วัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรวัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรNingnoi Ohlunla
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660CUPress
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรsukanya56106930005
 
พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร Prathum Charoenroop
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองAj.Mallika Phongphaew
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)Ritthiporn Lekdee
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องAj.Mallika Phongphaew
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

Destaque (14)

ภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
 
วัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรวัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กร
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
 
พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปราย
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 

Semelhante a บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ

องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1ma020406
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่Chatnakrop Sukhonthawat
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
โครงการสัมมนาใช้จริง
โครงการสัมมนาใช้จริงโครงการสัมมนาใช้จริง
โครงการสัมมนาใช้จริงthawiwat dasdsadas
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่Natepanna Yavirach
 
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1Prapaporn Boonplord
 
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธDrDanai Thienphut
 
JD (job description)
JD (job description)JD (job description)
JD (job description)Goal Maria
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjornT
 
บรรยาย Mthai.com social media สู่ความสำเร็จในการทำงานเป็นทีม
บรรยาย Mthai.com  social media สู่ความสำเร็จในการทำงานเป็นทีมบรรยาย Mthai.com  social media สู่ความสำเร็จในการทำงานเป็นทีม
บรรยาย Mthai.com social media สู่ความสำเร็จในการทำงานเป็นทีมbusinessnetworkguru
 

Semelhante a บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ (20)

องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
 
10081 01-christmas-balls-ppt-template
10081 01-christmas-balls-ppt-template10081 01-christmas-balls-ppt-template
10081 01-christmas-balls-ppt-template
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
โครงการสัมมนาใช้จริง
โครงการสัมมนาใช้จริงโครงการสัมมนาใช้จริง
โครงการสัมมนาใช้จริง
 
Chapter(1)
Chapter(1)Chapter(1)
Chapter(1)
 
Leadership
LeadershipLeadership
Leadership
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
 
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
 
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
 
JD (job description)
JD (job description)JD (job description)
JD (job description)
 
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntaned
 
บรรยาย Mthai.com social media สู่ความสำเร็จในการทำงานเป็นทีม
บรรยาย Mthai.com  social media สู่ความสำเร็จในการทำงานเป็นทีมบรรยาย Mthai.com  social media สู่ความสำเร็จในการทำงานเป็นทีม
บรรยาย Mthai.com social media สู่ความสำเร็จในการทำงานเป็นทีม
 

บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ

  • 1. การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 1 ใบความรู้ บทที่ 3 ทฤษฎีภาวะผู้นา ………………………………. หัวข้อ : 1. แนวคิดทฤษฎีภาวะผู้นา 2. บทบาท และหน้าที่ของผู้นา (Leadership Roles) 3. ทฤษฎีภาวะผู้นา ตามทฤษฎีการบริหาร ปัจจัยนาเข้าที่นามาใช้ในกระบวนการดาเนินงานให้เกิดผลผลิต หรือปัจจัย นาออกมีอยู่ 4 ประเภท ได้แก่ คน(Man) เงิน(Money) วัสดุอุปกรณ์(Material) การบริหาร (Management) คน บุคลากรหรือทรัพยากรมนุษย์ เป็นปัจจัยที่สาคัญมากประการหนึ่งของการดาเนินงานทุกประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนที่มีความรู้มีทักษะ หรือมีความสามารถ เป็นทรัพยากรที่หายากสมควรที่จะทะนุบารุงเอาไว้ให้ดี ฉะนั้น การสร้างหรือพัฒนาคนของหน่วยงานหรือองค์กร จึงถือว่ามีความจาเป็นอย่างยิ่ง เพื่อให้ได้ บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ มีคุณภาพในการทาหน้าที่เป็นหัวหน้างาน เป็นผู้บริหาร ซึ่งจะนาองค์กรสู่ความสาเร็จตามเป้ าหมาย การที่จะเป็นผู้นาที่ยิ่งใหญ่หรือเป็นผู้นาที่ประสบความสาเร็จได้ผู้นั้นจะต้องบริหาร 3 ปัจจัยได้อย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล อันได้แก่ การบริหารตนเอง การบริหารคน การบริหารงาน โดยเฉพาะในเรื่องการบริหารตน เป็นสิ่งสาคัญที่ผู้บริหารต้องมีและสร้างภาวะผู้นาพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลาให้เป็นผู้นาที่พึงประสงค์ ปรั บใช้แนวคิดทฤษฎีการเป็นผู้นามาใช้ในสิ่งแวดล้อมขององค์กร เพื่อให้การดาเนินกิจกรรมขององค์กรดาเนิน ไปอย่างมีประสิทธิภาพสร้างความเจริญให้กับองค์กรและประเทศชาติต่อไป 1. แนวคิดทฤษฎีภาวะผู้นา ผู้นาเป็นผู้ที่มีศิลปะที่สามารถมีอิทธิพลเหนือคนอื่น และนาบุคคลเหล่านั้นไปโดยได้รับ ความไว้วางใจและเชื่อมั่นอย่างเต็มที่พร้อมทั้งให้ความเคารพนับถือให้ความร่วมมือ และให้ความมั่นใจในตัวผู้นาอย่างจริงจัง
  • 2. การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 2 ภาวะผู้นาเป็นศิลปะหรือความสามารถของบุคคลหนึ่งที่จะจูงใจ หรือใช้อิทธิพลต่อ บุคคลอื่น ในสภาพการณ์ต่าง ๆ เพื่อปฏิบัติการและอานวยการ โดยใช้กระบวนการสื่อความหมายให้ ร่วมใจกับตนดาเนินการจนกระทั่งบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้ าหมายที่กาหนดไว้ มนุษย์ทุกคนมีภาวะผู้นามาตั้งแต่เกิดและได้รับการปรุงแต่งโดยการอบรมสั่งสอน ทางการศึกษาทาให้เกิดภาวะผู้นาพื้นฐานขึ้นในตัว สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ สามารถทาให้ ภาวะผู้นาพื้นฐานนั้นแปรเปลี่ยนไปได้อีกไม่ว่าจะทางดีขึ้นหรือเลวลง และภาวะผู้นา สามารถพัฒนาขึ้นได้ ทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นาแยกได้หลายแนวคิด แต่แนวคิดที่สาคัญคือผู้นาตามทฤษฎี พฤติกรรมและผู้นาตามทฤษฎีคุณลักษณะของผู้นา การแบ่งประเภทของผู้นาตามลักษณะพฤติกรรมมีหลายวิธีตามลักษณะต่าง ๆ เช่น ลักษณะการปฏิบัติงาน ลักษณะของพฤติกรรม ลักษณะการบริหาร และทฤษฎี 3 มิติ ของเร็ดดิน ฯลฯ คุณลักษณะที่สาคัญของผู้นาที่ดี จะส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการ ปฏิบัติงานขององค์กรหรือหน่วยงาน 2. บทบาท และหน้าที่ของผู้นา (Leadership Roles) ผู้นามีบทบาทและหน้าที่หลายอย่าง ผู้นาในกลุ่มคนที่ชอบเผด็จการอาจมีหน้าที่อย่างหนึ่งแต่ผู้นาในกลุ่มคนที่ชอบประชาธิปไตยอาจมีบทบาทแล ะหน้าที่อีกอย่างหนึ่ง อย่างไรก็ตามบทบาทและหน้าที่ทั่วๆ ไปของผู้นาทุกคน ในกลุ่มคนทุกชนิด มีตรงกันอยู่บ้าง จึงขอสรุปบทบาทและหน้าที่ของผู้นาโดยทั่วๆ ไปเพื่อเป็นแนวความคิดสาหรับผู้บริหารการศึกษา 14 อย่างคือ 1) ผู้นาในฐานะผู้บริหาร (The Leader as Executive)บทบาทที่เห็นได้ชัดที่สุดของผู้นาก็คือบทบาทในฐานะผู้บริหารซึ่งประสานงานระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ในองค์การ หรือในฐานะผู้ประสานงานภายในกลุ่มที่ตนเป็นผู้บริหาร ผู้นาประเภทนี้คอยช่วยให้งานของบุคลากรทุกคนดาเนินไปได้ด้วยดี ผู้นาจะเป็นผู้คุมนโยบายและกาหนดวัตถุประสงค์ของกลุ่ม และรับผิดชอบคอยดูแลนโยบายและวัตถุประสงค์ของกลุ่มให้มีการปฏิบัติโดยครบถ้วนถูกต้อง
  • 3. การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 3 2) ผู้นาในฐานะผู้วางแผน(The Leader as Planner)โดยปกติผู้นามักทาหน้าที่วางแผนการปฏิบัติงานทุกชนิด เป็นตัดสินใจว่าบุคลากรในหมู่ของตนควรใช้วิธีการอย่างไรและใช้อะไรมาประกอบบ้างเพื่อให้บรรลุผลตาม ความต้องการ ผู้นามักทาหน้าที่เป็นผู้ดูแลด้วยว่าแผนที่วางไว้นั้นมีการดาเนินงานตรงตามวัตถุประสงค์หรือไม่ ผู้นามักจะเป็นผู้เดียวที่ทราบแผนทั้งหมดโดยถ่องแท้ คนอื่นในกลุ่ม มักรู้เรื่องเฉพาะส่วนที่ตนได้รับมอบหมายหรือรับผิดชอบแต่รู้ไม่หมดทั้งแผน 3) ผู้นาในฐานะผู้กาหนดนโยบาย (The Leader as Policy Maker) งานสาคัญที่สุดอย่างหนึ่งของผู้นาคือ การกาหนดเป้ าหมายหรือวัตถุประสงค์ของหมู่คณะ และการวางนโยบายส่วนมากนโยบายมาจากที่ 3 แห่ง คือ - มาจาก “เบื้องบน” หรือ เจ้านาย ที่มีตาแหน่งสูง - มาจาก “เบื้องล้าง” คือ ได้มาจากคาแนะนา หรือมติของบุคลากรใต้บังคับบัญชา - มาจาก “ผู้นา” ของหมู่คณะนั้นๆ ไม่ว่านโยบายจะมาจากแหล่งใด ผู้นามีอานาจโดยเสรีที่จะกาหนดหรือเลือกด้วยตนเอง 4) ผู้นาในฐานะผู้ชานาญการ (The Leader as Expert) ผู้น้อยส่วนมากหวังพึ่งผู้นา จะทาหน้าที่คล้ายกับผู้ชานาญการในสายวิชาชีพนั้น ๆ แต่ผู้นาจะรู้เรื่องต่างๆ ในด้านเทคนิคไปเสียหมดทุกอย่างไม่ได้ผู้นาในองค์การนอกแบบหรือองค์การอรูปนัย บุคลากรที่มีความรู้ความชานาญในสายวิชาชีพมักจะมีบุคลากรอื่นมาหา เพื่อปรึกษาหารือขอความช่วยเหลืออยู่เสมอ โดยเป็นการขอความช่วยเหลือส่วนตัว บุคลากรผู้นั้นจึงกลายเป็นผู้นาอย่างไม่เป็นทางการอยู่ในองค์การนั้นๆ 5) ผู้นาในฐานะตัวแทนของกลุ่มเพื่อติดต่อกับภายนอก (The Leader as External Group Representative) เนื่องจากสมาชิกของกลุ่มหรือขององค์การหรือหน่วยงานใดก็ตาม จะพากันไปติดต่อกับภายนอกหมดทุกคนโดยตรงไม่ได้ ผู้นาที่มีคุณสมบัติเป็นที่พอใจของกลุ่มมักจะได้รับเลือกให้ไปทาหน้าแทน เขาก็กลายเป็นเจ้าหน้าทีประชาสัมพันธ์ของกลุ่ม ต่อมาไม่เพียงแต่จะมีหน้าที่ติดต่อกับบุคคลภายนอกแทนกลุ่มเท่านั้น แต่เมื่อบุคคลภายนอกมาเจรจาอะไรกับกลุ่มก็ต้องเข้ามาเจรจาผ่านเข้าอีกด้วย ผู้นาประเภทนี้กลายเป็นผู้รักษาประตู ของบุคลากรในกลุ่ม หรือในองค์การ หรือหน่วยงานนั้นๆ โดยปริยาย
  • 4. การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 4 6) ผู้นาในฐานะผู้ควบคุมความสัมพันธ์ภายใน (The Leader as controller of Internal Relations) ผู้นามักจะทาหน้าที่ควบคุมดุแลรายละเอียดต่างๆ ภายในกลุ่ม และเรื่องสาคัญมากเรื่องหนึ่งภายในกลุ่ม ก็คือ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรที่เป็นสมาชิกของกลุ่มนั้นเองในบางกลุ่มไม่ว่าจะมีอะไรเกิดขึ้น เช่นการจัดงานมงคลให้แก่สมาชิกคนใดคนหนึ่ง หรือเรื่องอะไรก็ตาม สมาชิกเป็นเจรจาผ่านหัวหน้าหรือผู้นา ในบางกลุ่มผู้นาจะเจรจาให้หรือจะเอาใจใส่เฉพาะสมาชิกบางคน ไม่ทุกคน แต่ในบางกลุ่มผู้นาก็ไม่สนใจเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกภายในกลุ่มเลยก็มี ทั้งนี้แล้วแต่ลักษณะของผู้นาเป็นคนๆ ไป 7) ผู้นาในฐานะผู้ให้คุณและให้โทษ (The Leader as Purveyor of Rewards and Punishments) บุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเสนอให้คุรและให้ดทษแก่บุคลากรอื่นหรือมีอานาจให้คุณใ ห้โทษ จะกลายเป็นผู้ทรงอานาจสาคัญและกลายเป็นผู้นาในที่สุด คุณและโทษที่ว่านี้อาจจะเป็นการขึ้นเงินเดือน ตัดเงินเดือน หรือการมอบหมายงานให้มากให้น้อยหรือให้งานที่ยากๆหรือง่ายๆทาก็ได้ทั้งนั้น ผู้บริหารที่ดีพึงระวังที่จะไม่มอบอานาจเช่นนี้ให้แก่บุคลากรคนใดมากเกินไป เพราะความเสียหายอาจจะเกิดขึ้นกับองค์การได้ในภายหลัง 8) ผู้นาในฐานะผู้ไกล่เกลี่ย (The Leader as Purveyor of Rewards and ) เมื่อมีการขัดแย้งใดๆ เกิดขึ้น บุคลากรคนใดคอยไกล่เกลี่ยให้สงบและเข้าใจกันได้ บุคลากรผู้นั้นมักจะกลายเป็นผู้นาในภายหลัง บางทีผู้นาประเภทนี้ทาหน้าที่เป็นผู้พิพากษาคดีภายในด้วยตนเองเลยก็มี 9) ผู้นาในฐานะที่เป็นบุคคลตัวอย่าง (The Leader as Exemplary) บุคลากรที่มีความประพฤติดีหรือปฏิบัติงานดีจนได้รับการยกย่องอยู่เสมอว่า เป็นตัวอย่างที่ดีขององค์การ มักจะกลายเป็นผู้นาของบุคลากรอื่นได้โดยง่าย เพราะเป็นคนที่ได้รับการนับถือจากบุคลากรสาคัญในองค์การ 10) ผู้นาในฐานะสัญลักษณ์ของกลุ่ม (The Leader as Symbol of the Group) ความสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวของกลุ่มคนทุกชนิดมีความสาคัญต่อการดารงอยู่ของกลุ่ม แต่คนหมู่มากอยู่ด้วยกันจะให้สามัคคีกันตลอดเวลาย่อมลาบากมาก กลุ่มจึงมักมีคนๆหนึ่งหรือบางคนที่ได้รับการยกย่องจากบุคลากรทั้งหลายว่าเป็นตัวแทนและเป็นคนดีที่หาที่ ติไม่ได้ของเขา ซึ่งจะดีกับเขาเสมอไม่ว่าจะในโอกาสใด และจะดีด้วยกับคนทุกคน
  • 5. การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 5 นี้จะไม่มีทางกระทาการใดอันจะเป็นภัยต่อกลุ่มโดยเด็ดขาด คนๆ นี้จึงกลายเป็นสัญลักษณ์ของกลุ่ม เป็นผู้นาในทานองเดียวกับพระมหากษัตริย์เป็นผู้นาของประเทศอานาจที่ผู้นาเหล่านี้มีจึงสูงสุด เหนือจิตใจคนภายในกลุ่มทุกคนและทุกฝ่าย 11) ผู้นาในฐานะตัวแทนรับผิดชอบ (The Leader as substitute for Individual Responsibility) ไม่แปลกเลยที่กลุ่มคนบางกลุ่ม หรือองค์การ หรือหน่วยงานบางแห่ง มีผู้นาคนหนึ่งหรือหลายคนอาสาเข้ารับผิดชอบรับผิดชอบต่อการตัดสินใจ และการกระทาบางอย่างของบุคคลบางคนในกลุ่ม หรือรับผิดชอบต่อกิจการทั้งหมดที่คนกลุ่มนั้นกระทาลงไป โดยเหตุนี้บางทีในโอกาสต่อมา บุคลากรในกลุ่มจะมอบหมายให้ผู้นามีอานาจตัดสินใจกระทาการใดๆ แทนตนได้เพื่อป้ องกันความผิดพลาด ซึ่งอาจเป็นเหตุให้ผู้นาของตนต้องพลอยรับผิด โดยไม่ได้กระทาผิดกับพวกเขา 12) ผู้นาในฐานะผู้มีอุดมคติ (The Leader as Ideologist) บางทีผู้นาบางคนเป็นศาสดาของกลุ่ม เป็นผู้กาหนดอุดมคติ สร้างความเชื่อหรือศรัทธาต่างๆ ให้แก่บุคลากรอื่น แม้กระทั่งคุณธรรมประจาใจและขนบประเพรีต่างๆของกลุ่ม อุดมคติดังกล่าวในตอนแรกอาจเป็นเพียงคาพูดของเขาที่ใครๆ พากันนิยมและปฏิบัติตาม ต่อมาก็กลายเป็นอุดมคติทางการ ของกลุ่มไปผู้นาประเภทนี้มักเป็นนักพูดและนักคิด ที่สมาชิกทุกคนในกลุ่มให้ความนับถือ 13) ผู้นาในฐานะบิดาผู้มีแต่ความกรุณา (The Leader as Father Figure) ผู้นาประเภทนี้วางตัวเป็นผู้ใหญ่ มีอาวุโสที่สุดในกลุ่ม และมีบุคลิกลักษณะน่านับถือในฐานะเป็นบิดาของกลุ่ม ซึ่งจะดุด่าใครก็ตาม การดุด่านั้นไม่มีใครโกรธ เพราะทุกคนทราบดีว่าเบื้องหลังคาพูดด่าของคนๆนั้น เขามีความรักความหวังดีอยู่ด้วยเสมอไป และเขาจะเป็นที่พึ่งทางใจให้แก่คนทุกคนเมื่อมีความทุกข์ได้เสมอ 14) ผู้นาในฐานะเป็นผู้รับความผิดแทน (The Leader as Scapegoat) ผู้นาที่รับผิดชอบและเป็นบิดาของกลุ่มทุกคนย่อมหวังได้ว่า เมื่อใดมีความเสียหายเกิดขึ้นตนเองนั้นแหละจะถูกลงโทษแทน บุคลากรจานวนมากในกลุ่มคนทุกประเภทต่างก็ไม่ต้องการรับผิดเมื่อมีความผิดเกิดขึ้น
  • 6. การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 6 แต่จะพากันซัดทอดกลายเป็นผู้นาขึ้นมาในภายหลังได้เหมือนกัน เพราะเมื่อเหตุการณ์ร้ายผ่านไป ผู้คนพากันเห็นอกเห็นใจที่เขาเคยได้รับเคราะห์กรรมแทนพวกตนแต่เพียงผู้เดียว 3. ทฤษฎีภาวะผู้นา 3.1 ผู้นาตามทฤษฎีพฤติกรรม การแบ่งประเภทของผู้นาตามแนวคิดทฤษฎีพฤติกรรมผู้นาได้แบ่งประเภทผู้นาได้หลายวิธี แบ่งแยก ตามลักษณะที่เป็นเชิงพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ ดังนี้ 3.1.1 การแบ่งประเภทของผู้นาตามลักษณะของการปฏิบัติงาน มีดังนี้ ผู้นาตามกฎหมาย ได้แก่ผู้นาที่เกิดขึ้นตามกฎหมาย หรือระเบียบที่กาหนด เช่น นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ปลัดกระทรวง ฯลฯ โดยกฎหมายกาหนดคุณสมบัติของแต่ละตาแหน่งเอาไว้ ผู้นาที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะตัว เป็นผู้ที่มีคุณสมบัติพิเศษมีบุคลิกลักษณะหรือวามสามารถ พิเศษเฉพาะตัว ซึ่งเป็นได้ทั้งในทางที่ดีหรือเลว เช่น หัวหน้านักเลง หัวหน้าทีมกีฬา เป็นต้น ผู้นาในลักษณะที่เป็นสัญลักษณ์ เช่น พระมหากษัตริย์เป็นผู้นาของพระราชวงศ์หรือของประเทศชาติที่มีพระมหากษัตริย์เป็นผู้นา 3.1.2 การแบ่งประเภทของผู้นาตามลักษณะพฤติกรรม จอห์น ฟลานาแกน (John C. Flanagan) ได้ศึกษาลักษณะพฤติกรรมของหัวหน้า และได้แบ่งผู้นาตามลักษณะออกได้เป็น 3 ประเภท คือ 1) ผู้นาที่มุ่งแต่งานเป็นสาคัญ มีลักษณะพฤติกรรมแสดงออกเป็นเผด็จการ 2) ผู้นาที่ตระหนักถึงผลงานและความพอใจของทุกฝ่ าย เป็นผู้ที่มีพฤติกรรมแบบ ประชาธิปไตย 3) ผู้นาที่ถือว่าประสิทธิภาพของการทางานสูงได้เนื่องจากน้าใจ ผู้นาประเภทนี้ถือว่าน้าใจ หรือสิ่งตอบแทน เป็นสิ่งสาคัญที่กระตุ้นให้การทางานมีประสิทธิภาพสูง 3.1.3 การแบ่งประเภทผู้นาตามลักษณะการบริหารงาน ลิปปิทท์ (Lippitt) แบ่งประเภทของผู้นาตามลักษณะของการบริหารงานเป็น 3 ประเภทได้แก่ 1) ผู้นาแบบเผด็จการ (The Autocratic Style) เป็นผู้กาหนดและวางนโยบายตลอดจน
  • 7. การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 7 วัตถุประสงค์ของการทางานโครงการต่าง ๆ แล้วมอบงานให้บุคลากรที่จะรับงานไปปฏิบัติมาสอบถามความสมัครใจหรือหารือขอความคิดเห็น ผู้นาแบ บเผด็จการจะชมหรือ วิจารณ์หรือตาหนิใครก็ตาม จะชมหรือวิจารณ์หรือตาหนิโดยตัวบุคคล มิใช่โดยตาแหน่ง และจะแยกตนเองออกห่างจากบุคลากรอื่น ๆ ทุกคนในหน่วยงานจะวางตนเป็นเอกเทศ ยากที่บุคลากรผู้ใดจะเข้าพบหาได้โดยสะดวกบรรดาการตัดสินใจสั่งการทุกชนิดจะทาไป โดยลาพัง เกือบจะหาการตัดสินใจสั่งการเพราะบุคลากรอื่นสนับสนุนให้ทาหรือเป็นความต้องการเช่นนั้นข องบุคลากรอื่นไม่ได้เลย ผู้นาแบบเผด็จการเป็นผู้บัญชางาน บุคลากรอื่นทาได้อย่างเดียวคือปฏิบัติการตามบัญชา และไม่มีทางเลือกห รือทางออกใด ๆ ทั้งสิ้น 2) ผู้นาแบบประชาธิปไตย (The Democratic Leader) เป็นผู้ออกคาสั่ง ประกาศ นโยบาย และวัตถุประสงค์ของโครงสร้างต่างๆ ก็จริง แต่บรรดาคาสั่ง นโยบาย และวัตถุประสงค์ที่ผู้นาแบบประชาธิปไตยสั่งไปนั้นล้วนแล้วแต่กาหนดขึ้นจากบุคลากรทุกคนร่วมกันทุกค นจนเป็นที่พอใจ ผู้นาแบบประชาธิปไตยจึงสั่งการตามนั้นบุคลากรมีสิทธิแม้กระทั่งจะเลือกงานอย่างใดที่เห็ นว่าเหมาะสมกับความถนัดและ ความสามารถของตน หรือแม้เลือกบุคลากรอื่นที่ควรคิดว่าน่าจะร่วมกันทางานได้ดีในคณะเดียวกันก็ได้ รวมความว่าบุคลากรทุกคนมีส่วนวินิจฉัยในการแบ่งและมอบหมายงาน ผู้นาแบบนี้เวลาจะดารงตาแหน่งผู้นามิใช่ทาไปตามอาเภอใจหรือตามความพอใจส่วนตัวของตนเองและเมื่อ มีงานใดผู้นาประเภทนี้จะเข้ามามีส่วนร่วมดาเนินการ และร่วมรับผิดชอบด้วยเสมอ 3) ผู้นาแบบตามสบายหรือแบบเสรี (The Laissez-faire or Anarchic Leader) มอบอานาจ เต็ม และเสรีภาพอย่างกว้างขวางในการวินิจฉัยสั่งการ กาหนดนโยบาย กาหนดวัตถุประสงค์ ตลอดจนแบ่งงานและกาหนดคนทางานให้แก่บุคลากรอื่นทั้งหมด โดย ตนเองไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวด้วยเลย ผู้นาประเภทนี้เพียงแต่สนับสนุนโดยการจัดหาวัสดุ ต่าง ๆ เพื่อให้ความสะดวกแก่ผู้ปฏิบัติงานเท่านั้นส่วนตนเองจะนั่งอยู่ห่าง ๆ จะเข้ามาร่วมก็ต่อเมื่อบุคลากรเรียกหาหรือเชิญให้มาเท่านั้น น้อยครั้งที่ผู้นาแบบตามสบายจะแสดงความคิดเห็นใด ๆ ออกมา ไม่ชอบตาหนิ ไม่ชอบชม การปฏิบัติงานใด ๆ ของผู้ใดทั้งสิ้นและจะไม่ขัดขวางหากมีใครเสนออะไรมา มักยอมอนุมัติเรื่อยไปโดยไม่ค่อยพิจารณาเหตุผลใด ๆ
  • 8. การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 8 3.1.4 แบ่งตามลักษณะพฤติกรรมที่แสดงออกและพฤติกรรมการทางาน เก้ตเซลล์กับกูบา (Getzels กับ Guba) แบ่งผู้นาออกเป็น 3 ชนิด ตามลักษณะของพฤติกรรมที่ผู้นาแสดงออก (Role Behavior) ในการบริหารหน่วยงาน ผู้นาดังกล่าวทั้ง 3 ชนิด คือ ผู้นาที่ยึดสถาบันเป็นหลัก (The Nomothetic Leader) คือผู้นาที่ถือเอาวัตถุประสงค์ ระเบียบกฎเกณฑ์และผลประโยชน์ของสถาบันหรือหน่วยงานเป็นสาคัญ แม้จะต้องทาลายน้าใจคนหรือทาให้ผู้ใดเดือดร้อนก็ไม่ถือเป็นสิ่งสาคัญ สถาบันหรือหน่วยงานก่อนเสมอ ผู้นาที่ยึดบุคคลเป็นหลัก (The Idiographic Leader) คือผู้นาที่อาศัยความคิดเห็นและการตัดสิ นใจของตนเองเป็นแนวทางสั่งการ โดยพิจารณาตัวบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นายๆไป ไม่ว่าจะทาการใดคานึงถึงความเหมาะสม ความต้องการ ความจาเป็น ความสุข ความเดือดร้อนของบุคคลที่เกี่ยวข้องก่อนสิ่งใด หากมีอะไรขัดต่อระเบียบอยู่บ้างก็ไม่สนใจ หากพิจารณาว่าเหมาะสมกับบุคคลนั้นบุคคลนี้ก็จะสั่งการทันที คือถือว่าการคบหาส่วนตัวสาคัญกว่าตาแหน่ง ผู้นาที่ประสานประโยชน์ (The Transactional Leader) คือผู้นาที่พิจารณาทั้งประโยชน์ของสถาบันหรือหน่วยงานและประโยชน์ของบุคคล ทั้ง 2 อย่างพร้อม ๆ กันแล้วอะลุ้มอล่วยไม่ให้ฝ่ายใดต้องเสียหายมากเกินไป เป็นผู้นาที่รู้จักประนีประนอมในเรื่องทุกเรื่องประโยชน์ของหน่วยงานก็ได้ ประโยชน์ของบุคคลก็ได้ พร้อม ๆ กันไป 3.1.5 การแบ่งประเภทผู้นาตามทฤษฎี 3 มิติ ของเร็ดดิน วิลเลี่ยม เร็ดดิน (William J. Reddin) กล่าวว่า โดยธรรมชาติมนุษย์มีลักษณะผู้นาพื้นฐานอยู่ ในตัวเอง 4 แบบคือ แบบเอาเกณฑ์ แบบเอางาน แบบสัมพันธ์ แบบประสาน 1) แบบเอาเกณฑ์ (Separated) เป็นแบบของนักอนุรักษ์นิยม ชอบของเก่า ยึดตัวเองเป็น ที่ตั้งจึงไม่เอาใคร อดทน เก็บตัว เจ้าระเบียบ จึงเป็นคนยึดถือและต้องทาอะไรตามกฎเกณฑ์ มีความระมัดระวังในการทางานมากเนื่องจากกลัวผิด ไม่อยากทางานร่วมกับผู้อื่นเพราะกลัวว่าถ้าคนอื่นทาผิ ดตัวเองจะต้องผิดด้วย เพื่อไม่ให้มีความผิดก็เลยไม่ทางานหรือทางานให้น้อยที่สุดเท่าที่จาเป็นเท่านั้น และยังเป็นคนที่ไม่เอาเพื่อนเ อาฝูงหรือจัดว่าเป็นคนที่ ไม่เอาไหน เพราะไม่เอาทั้งงานและคนนับเป็น ลักษณะผู้นาที่ต่าที่สุด 2) แบบเอางาน (Dedicated) เป็นแบบของคนที่เอาการเอางาน ยึดถืองานเป็นหลักใหญ่
  • 9. การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 9 ในใจมุ่งมั่นในงานมาก ขยัน มั่นใจ กล้าทา มีความคิดริเริ่ม ชอบกาหนดงานให้ผู้อื่น ไม่คิดถึงจิตใจของผู้อื่นจึงไม่เอาใคร ไม่มีเพื่อน สรุปว่าเป็นคนเอาการเอางานแต่ไม่มีมนุษย์สัมพันธ์ นั่นก็คือ เน้นที่งานมากกว่าคน 3) แบบสัมพันธ์ (Related) เป็นลักษณะคนที่เน้นมนุษย์สัมพันธ์เป็นหลักในการทางาน เอาใจคนทุกระดับไม่ต้องการให้ใครเกลียด จึงมีนิสัยเป็นกันเองและเป็นมิตรกับคนทุกคนยอมรับผู้อื่นเห็นใจคนอื่นไม่อวดตัวทาอะไรไม่อยากให้กระท บกระเทือนใจใครให้ความสาคัญเรื่องสัมพันธภาพกับบุคคลมากกว่าเรื่องการงานนั่นก็คือบุคคลประเภทที่เน้ นที่คนมากกว่างานถ้าจะต้องเลือกระหว่างคนกับงาน ผู้นาประเภทนี้จะเลือกเอาคนไว้ก่อนงานมาทีหลัง 4) แบบประสาน (Integrated) เป็นลักษณะของคนที่ให้ความสาคัญแก่งานและคนไปพร้อม ๆ กัน เท่า ๆ กัน โดยถือว่าคนเรามีมิตรสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีความสามัคคี ร่วมมือร่วมใจกันทางานก็จะได้ผลงานที่ดี มีประสิทธิภาพสูง ผู้นาประเภทนี้จะมีศิลปะการจูงใจสูงพยายามให้ทุกคนมีส่วนร่วมในงาน ทาให้ผู้ใต้บังคับบัญชารักและให้ค วามร่วมมือเป็นอย่างดี จัดเป็น ผู้นาแบบอุดมคติ ลักษณะผู้นาพื้นฐานทั้ง 4 แบบนี้จะอยู่ในตัวบุคคลทั้งที่ยังเป็นมนุษย์ดิบ หรือเป็นมนุษย์ดิบ ๆ สุก ๆ ที่ไม่มีสิ่งห่อหุ้มเลย ลักษณะผู้นาพื้นฐานของแต่ละคน อาจจะเปลี่ยนไปเองจากแบบหนึ่งไปเป็นอีกแบบหนึ่ง หรือขยายไปใช้อีกแบบหนึ่งพร้อมๆ กัน หรืออาจจะหดกลับมาเป็นแบบเดิมของตนก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการอบรมบ่มนิสัยสถานการณ์ และสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ซึ่งเป็นสิ่งห่อหุ้มร่างกายทั้ง 2 ชั้นที่กล่าวมาแล้ว และที่สาคัญที่สุด คือความตั้งใจของผู้ที่ต้องการจะเปลี่ยนแปลงลักษณะผู้นาของตนเองมีมากน้อยแค่ไหน เมื่อเรามองตัวเองหรือได้รับคาบอกเล่าจากผู้อื่น ทาให้รู้ตัวว่าเราเป็นคนที่มีลักษณะประเภทใด ถ้าต้องการเปลี่ยน หรือขยายแบบของลักษณะผู้นาไปเป็นประเภทอื่นก็ย่อมจะทาได้ เช่น เรารู้ตัวว่าเป็นคนเอาพวกพ้อง เห็นแก่พรรคพวกมากเกินไป ทาให้ไม่ใคร่ได้งาน เราก็ต้องปรบปรุงตัวเราให้เอาการเอางานให้มากขึ้น โดยลดการเห็นแก่พรรคพวกเพื่อนฝูงลงมาให้เหลือน้อยลง หรือถ้าเรารู้ตัวว่าเป็นคนประเภทเอาเกณฑ์อยากจะเปลี่ยนแปลงตัวเองให้ดีขึ้นเป็นประเภทประสาน เราก็ต้อ งปรับปรุงตัวเองเพิ่มทั้ง TO และ RO คือทาตัวเองให้มีมนุษย์สัมพันธ์ให้มากขึ้นทั้งกับผู้บังคับบัญชา ผู้ร่วมง าน ผู้ใต้บังคับบัญชา และต้องทาตัวให้เป็นคนเอาการเอางานมากขึ้นหรือศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมให้มากขึ้น 3.1.6 ผู้นาแบบมีประสิทธิผลสูงประสิทธิผลต่า
  • 10. การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 10 ลักษณะผู้นาแบบต่าง ๆ นอกจากแบบพื้นฐานที่กล่าวในข้อ 5.1.5 แล้วยังแบ่งแยกออกตามประสิทธิผลได้ดังนี้ 3.1.6.1 ลักษณะผู้นาที่มีประสิทธิผลสูง มี 4 แบบ คือ 1) ผู้ทางานตามสั่ง (Bureaucrat) เป็นลักษณะผู้นาที่เปลี่ยนแบบดีขึ้นจากแบบเอาเกณฑ์ เป็นคนเข้มงวด ถือว่าเป็นความสาคัญที่จะต้องทางานตามกฎระเบียบ ข้อบังคับ และคาสั่งอย่างเคร่งครัด ถูกต้อง ไม่จาเป็นที่จะต้องมีความคิดเห็นใหม่ ๆจึงไม่กระตุ้นให้เกิดผลผลิตใหม่ ๆ พยายามดาเนินงานตามแบบเก่าที่เคยปฏิบัติมาแล้วทั้งสิ้น สนใจในการทางานแต่ไม่สนใจความสาเร็จของงานและสัมพันธภาพกับผู้ร่วมงานจึงไม่มีการวางแผนงานระ ยะยาว คนลักษณะนี้ถ้าเป็นทหารหรือข้าราชการจะประสบความสาเร็จ เขามักจะมีคติประจาใจว่า  จงทาตามกฎข้อบังคับ แล้วจะไม่ทาอะไรผิดเลย  จงมาดูกันเถอะว่า ครั้งก่อนเราทาอย่างไร  องค์กรที่ดี คือ องค์กรทีมีระเบียบปฏิบัติทุกอย่างพร้อมมูล 2) นักพัฒนา (Developer) เป็นนักบริหารที่เปลี่ยนแปลงมาจากแบบสัมพันธ์ซึ่งมุ่งที่ตัวคนเป็นหลัก เขาจึงมุ่งพั ฒนาคนรู้วิธียั่วยุจูงใจและพัฒนาบุคคล วิธีสอนคนธรรมดาให้เป็นหัวหน้าบางครั้งผู้ที่ถูกเขาพัฒนาก็ไม่รู้ตัว เข้าทานอง ปิดทองหลังพระ แต่พอเขาย้ ายไปแล้วทุกคนจะรู้สึกเสียดายเขา หัวหน้าประเภทนี้บางคนถือว่าการทางานเป็นเรื่องธรรมดาเหมือนกับการเล่นหรือพักผ่อน มักใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่กับผู้ใต้บังคับบัญชา และมอบหมายให้ผู้ใต้บังคับบัญชารับผิดชอบงานใหม่ ๆ กระตุ้นให้เขาเป็นตัวของตัวเอง ควบคุมตัวเอง รู้จักรับผิดชอบ ขยัน และมีความคิดสร้างสรรค์ ฉะนั้นลูกน้องมักจะรักและได้ผลงานดีตลอดมา 3) ผู้เผด็จการที่มีศิลป์ (Benevolent Autocrat)เปลี่ยนมาจากแบบเอางาน มีความมั่นใจในตัวเองมาก มีความชานาญในด้านการสั่งงานอย่างมศิลป์ ผู้รับคาสั่งปฏิบัติตามโดยไม่มีข้อขุ่นใจ ทาให้ผลงานดีมีประสิ ทธิภาพ เป็นลักษณะของผู้เผด็จการแต่นุ่มนวลมีศิลปะ มักเป็นผู้ทะเยอทะยาน พยายามจะไต่เต้าขึ้นมาจนถึงเป็นนักบริหารระดับสูง เพราะเป็นคนที่พยายามปรับปรุงตัวเองโดยอาศัยความ รู้ พยายามฝึกฝนหาความชานาญให้แก่ตัวเองอยู่เสมอ เป็นคนที่รู้กฎระเบียบข้อบังคับและงานในหน้าที่เป็นอย่างดี จึงทางานสาเร็จเป็นส่วนมาก บุคลประเภทนี้มักพบมากในวงการอุตสาหกรรม
  • 11. การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 11 4) นักบริหาร (Executive) เปลี่ยนมาจากแบบประสาน เป็นลักษณะของหัวหน้างานที่มีประสิทธิภาพ ทาตนเ ป็นแบบอย่างที่ดีทางานคานึงถึงความสาเร็จของงานเป็นที่ตั้ง รู้จักใช้ความสามารถของลูกน้องให้เป็นประโยชน์มากที่สุด มีความสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชาดีมาก ไม่ใช้ อานาจกดขี่บังคับ พยายามให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการวางแผนงาน ปรับปรุงงานให้ดีขึ้น มีความคิดริเริ่มและความร่วมมืออยู่เสมอ ปูนบาเหน็จรางวัล ยกยอ่งและให้เกียรติลูกน้องไม่แย่งเอาผลงานหรือความดีความชอบของลูกย่อฃมาเป็นของตนตรงกันข้ามจะ ต้องแสดงให้ผู้บังคับบัญชาและผู้อื่นทราบด้วยว่า ผลงานทีดีชิ้นนั้นเป็นของใคร นอกจากการให้คุณแล้ว การให้โทษลูกน้องก็เป็นเรื่องสาคัญ เมื่อทาผิดก็ต้อง ลงโทษ จะต้องลงโทษผู้กระทาความผิดอย่างสมเหตุสมผล ไม่ใช้อารมณ์และจะต้องยุติธรรมถ้าเป็นเช่นนี้แล้ว ทุกคนจะมีขวัญกับกาลังใจในการทางาน รักหน่วยงานแ ละผู้บังคับบัญชา มีความสามัคคีและมีความรู้สึกเป็นเจ้าของงานร่วมกัน 3.1.6.2 ลักษณะผู้นาที่มีประสิทธิผลต่า เปลี่ยนแบบมาจากลักษณะผู้นาพื้น ฐานในทิศทางต่าลง มี 4 ประเภทเช่นเดียวกัน คือ 1) ผู้หนีงาน (Deserter) เป็นลักษณะผู้นาที่เปลี่ยนมาจากแบบเอาเกณฑ์ในทางเลวลง บริหารงานแบบขาดควา มสนใจ ไม่เน้นทั้งด้านงานและคนมักหนีงาน บางทีขัดขวางการทางานของคนอื่นหัวหน้างานชนิดนี้มีอยู่มา ก มักคิดว่าไม่ได้รับความยุติธรรม ก็เลยละเลยงานในหน้าที่ให้มากที่สุดหรือไม่ทาอะไรเลย ทาให้เสียงานมักทาให้ทุกสิ่งยุ่งยาก เลยฉุดให้ผู้อื่นชะงักงาน จะทางานให้ได้ผลเพียงเท่าที่ป้ องกันไม่ให้คน อื่นมารบกวนเท่านั้น และจะไม่เกี่ยวข้องกับงานอื่นทั้งสิ้น ไม่ช่วยใคร พยายามนาตัวไปพัวพันกับเรื่องของ คนอื่นให้น้อยที่สุด เขามักจะมีความคิดว่า  เมื่อทาครั้งแรกไม่สาเร็จ ก็จงเลิกทามันเสียเลย  ผมชอบตาแหน่งนี้ แต่ไม่ชอบการทางาน  มันเป็นนโยบายขององค์การ ผมไม่มีความเห็น  จงคิดดูซิ มันจะต้องมีวิธีการทางานที่ยากกว่านี้  ผมชอบทางานจริงๆ แต่ชอบนั่งดูมากกว่า  ถ้าหนีงานไม่ได้ก็ทนทามันไป โดยธรรมชาติไม่มีหัวหน้างานคนใดจะเป็นคนเช่นนี้มาก่อนมักเกิดขึ้นเพราะองค์การหรือหัวหน้าชั้นเ หนือเป็นเหตุแต่เมื่อหัวหน้าคนใดเกิดลักษณะนี้ขึ้นก็มักจะแก้ได้ยาก เพราะฉะนั้นในฐานะที่เราเป็นหัวหน้าชั้นสูง ต้องหาทางป้ องกันไม่ให้หัวหน้างานชนิดนี้เกิดขึ้นในหน่วยงานของเราได้
  • 12. การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 12 2) นักบุญ (Missionary) เปลี่ยนมาจากแบบสัมพันธ์ เป็นลักษณะหัวหน้างานที่ใจบุญ นึกถึงคนมากกว่างาน ถือว่าความสัมพันธ์อันดีต่อกันในระหว่างผู้ร่วมงานสาคัญกว่าผลผลิตของงานเขาปรารถนาเป็น “คนดี” โดย ไม่โต้แย้งหรือคัดค้านการกระทาผิดใดๆ เรียกว่าเป็นคนประเภท “ขอรับกระผม” คือถือว่าคนที่เป็นผู้ใหญ่แล้วไม่สมควรจะโต้เถียงกับใคร และถือว่าการโต้เถียงและข้อขัดแย้งไม่อาจแก้ปัญหาได้ การบริหารแบบนี้จะเป็นเหตุทาให้ผลผลิตตกต่าเพราะไม่เคยแก้ปัญหาเรื่องคน แต่ถ้าเกิดปัญหาเกี่ยวกับคนเขาก็จะหาทางย้ายคนๆ นั้นไปเสีย เขาถือว่าการทางานที่ดีที่สุดคือการดารงความสงบเรียบร้อยเอาไว้ 3) ผู้เผด็จการ (Autocrat) เป็นลักษณะของผู้บริหารที่เปลี่ยนแบบมาจากแบบเอางาน หัวหน้างานแบบนี้มุงแต่งานอย่างเดียว ไม่คิดถึงสัมพันธภาพกับใคร ไว้ใจคนอื่นน้อยมาก ผู้ร่วมงานไม่รัก มีแต่กลัว และจะทางานให้ตามคาสั่งเท่านั้น หัวหน้างานชนิดนี้มักคิดว่าคนอื่นไม่ชอบทางาน คอยเลี่ยงงานเสมอ ไม่รับผิดชอบ มีความทะเยอทะยานน้อย จึงต้องคอยควบคุมบังคับบัญชาและลงโทษอยู่เสมอ เขามักจะมองผู้ใต้บังคับบัญชาเหมือนเครื่องจักร ต้องทางานตามคาสั่งของเขาแต่อย่างเดียวโดยไม่ต้องคิด เขาเป็น สมอง คนอื่นเป็นแต่มือหรือเท้าไม่จาเป็นต้องแสดงความคิดเห็น เขาต้องวางแผนให้ผู้ใต้บังคับบัญชาคนไหนไม่เห็นด้วยกับเขาแสดงว่าผู้นั้นพยายามโต้แย้งหรือต้องการจะท้า ทายเขา เขาจะไม่ยกโทษให้ใครง่ายๆ หัวหน้างานแบบนี้จะทาให้เกิดปฏิกิริยาในหมู่ผู้ร่วมงานอย่างรุนแรงเกิดกลุ่มต่อต้าน ทาให้เกิดผู้หนีงานมาก ผู้ใต้บังคับบัญชาที่กลัวหรือไม่มีโอกาสต่อต้านจะแสดงอการนบนอบต่อหน้าแต่จะด่าลับหลัง ผู้นาประเภทนี้มักจะแสดงพฤติกรรมดังนี้  จงทาตามที่ผมสั่ง  อย่าทาอะไรที่เหมือนผม  คุณต้องหยุดพูดและฟัง ถ้าผมพูด  จงทาตนเป็นคนมีเหตุผล โดยทาตามที่ผมบอก  ถ้าคุณจะให้ผมทาตามข้อเสนอของคุณก็ได้แต่คุณจะต้องออกจากงาน คุณจะเอาไหม  ผมชอบคนที่เห็นด้วยตลอดกาล บอกกี่ครั้งแล้วว่าผมไม่ชอบคาว่า “ไม่” 4) ผู้ประนีประนอม (Compromiser) เป็นลักษณะผู้นาที่เปลี่ยนมาจากแบบประสาน หัวหน้างานแบบนี้ทราบว่าการมุ่งทางานให้สาเร็จและการสร้างสัมพันธ์ภาพกับผู้ร่วมงานเป็นสิ่งสาคัญ แต่เขาไม่มีความสามารถพอที่จะตัดสินใจลงไปได้ว่าจะทาอย่างไรหรือ
  • 13. การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 13 ไม่ก็อาจจะผสานความคิดทั้งสองอย่างนี้เข้าด้วยกัน มีลักษณะเป็นคนโลเล และชอบการประนีประนอมความกดดันบางอย่างจะมีอิทธิพลทาให้เขาต้องตัดสินใจยินดีที่จะแก้ปัญหาเฉพา ะหน้าให้น้อยลงมากกว่าที่จะมุ่งผลผลิตในระยะยาว ไม่หวังผลเลิศจากการงานเพียงต้องการให้งานดาเนินไปเรื่อยๆ เช่นว่าผลงานที่ดีที่สุดเป็นเพียงความฝันเท่านั้น เขาจะเป็นผู้เสนอแนะแต่ไม่เคยทาอะไรจริงจัง ซึ่งเรามักจะเรียกว่า ผู้ทางานด้วยปาก เขาคิดว่าการวางแผนงานจะต้องใช้วิธีประนีประนอม เขาสนใจเฉพาะสิ่งที่จะทาให้งานเดิน เขาไม่ยุ่งกับใครและใครก็ไม่ยุ่งกับเขา เขามักจะถูกมองว่าเป็นคนที่มีการตัดสินใจไม่ดีและเป็นคนที่ยอมให้แรงกดดันจากภายนอกมาบีบตนเองมาก เกินไป เขามักจะถือคติว่า  ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้พูด เขาจะได้คิดว่าเขาได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจด้วยเหมือนกัน  ถ้าหลอกเขาได้บางครั้งก็นับว่าดีแล้ว 3.1.7 ผู้นาตามทฤษฎีตาข่ายการจัดการ โรเบิร์ต เบลค และ เจมส์ เมาตัน (Robert Elake & James Mouton) ได้สร้างทฤษฎีตาข่ายการจัดการ เพื่ออธิบายลักษณะผู้นาแบบต่างๆ ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ คล้ายกันที่ได้อธิบายไว้แล้วในเรื่องการเปลี่ยนแปลงลักษณะผู้นาพื้นฐาน นอกจากนี้ ยังมีทฤษฎีที่แบ่งประเภทผู้นาตามพฤติกรรมออกได้หลายแบบ เช่นแบ่งตามลักษณะอานาจที่ได้รับ แบ่งตามพฤติกรรมการทางาน แบ่งตามบทบาทที่แสดงออกเป็นต้น 3.2 ผู้นาตามทฤษฎีคุณลักษณะของผู้นา 3.2.1 ทฤษฎีลักษณะผู้นา ทฤษฎีนี้เชื่อว่า บุคคลบางคนเกิดมาพร้อมด้วยลักษณะบางประการที่จะช่วยสนับสนุนให้เขาเป็นผู้นาได้ ซึ่งหมายถึงคุณลักษณะ ดังนี้ 1) บุคลิกภาพ (Personality) เป็นเรื่องที่ติดมากับตัวบุคคลแต่ละคน ในส่วนที่สามารถปรับปรุงแก้ไขให้ดีได้บุคลิกภาพดังกล่าว ได้แก่  ความสามารถในการปรับตัว  ความต้องการที่จะนา
  • 14. การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 14  ความต้องการทางอารมณ์  ความเป็นตัวของตัวเอง  ความอุตสาหะ พยายาม  ความคิดสร้างสรรค์  ความทะเยอทะยาน 2) ความรู้ ความสามารถ (Intelligence) สมองของคนเรานี้ธรรมชาติสร้างมาเพื่อใช้สติปัญญาให้เกิดประโยชน์ต่อส่วน รวม ความรู้ความสามารถจะเห็นได้จาก  เชาว์ปัญญา  ความแม่นยาในการตัดสินใจ  ระดับความรู้  ความคล่องแคล่วในการใช้ภาษา 3) คุณลักษณะด้านสังคม (Social skill) การเข้าสังคมเป็นของคนทุกคน เพราะคนเราไม่สามารถอยู่ได้คนเดียวในโลก การเข้าสังคมของคนแต่ละระดับต้องมีพิธีรีตองแตกต่างกันออกไป ตามสภาพการณ์และเหตุการณ์นั้น ๆ คุณลักษณะด้านสังคม เช่น  การรู้จักประนีประนอม  ความสามารถในการบริหาร  ความร่วมมือ  ความเป็นที่นิยมชมชอบ  ความเป็นนักการทูต 4) คุณลักษณะด้านกายภาพ (Physical chanacteristies) ถือเป็นเรื่องที่ติดตัวมาอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งสิ่งเหล่านี้อาจสามารถแก้ไข ปรับปรุงด้วยการให้อาหาร หรือรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งการออกกาลังกายที่เหมาะสมด้วย คุณลักษณะด้านกายภาพ มีดังนี้  ส่วนสูง  น้าหนัก
  • 15. การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 15  ความฝึกฝน  ความสมบูรณ์ของร่างกาย นอกจากนั้นแล้ว มีนักวิชาการได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับลักษณะของผู้นาไว้หลายท่าน ทั้งต่างประเทศและประเทศไทย เช่น 1) ดร.อานวย วีรวรรณ อดีตรองนายกรัฐมนตรี ได้ให้ลักษณะของผู้นาที่เป็นผู้บริหารไว้6 ประการ ได้แก่  ผู้นาต้องเป็นผู้บุกเบิก  ผู้นาจะต้องก้าวให้ทันโลก  ผู้นาจะต้องเป็นนักพัฒนา  ผู้นาจะต้องเป็นนักต่อสู้  ผู้นาจะต้องมีบทบาทร่วม พัฒนาสังคม  ผู้นาจะต้องมีความรับผิดขอบในวิชาเรียน และได้บอกลักษณะที่ผู้นาควรหลีกเลี่ยง การปฏิบัติไว้7 ประการคือ  ผู้นาอย่ายึดถือความเป็นนายเหนือกว่า  ผู้นาอย่าทาให้เป็นผู้รู้มากกว่าที่รู้จริง  ผู้นาไม่ควร แทรกแซงในขณะทางาน  ผู้นาอย่าตาหนิผู้อื่นต่อหน้าสาธารณะชน  ผู้นาอย่าเป็นคนใจน้อย ใจแคบ ขี้โมโห  ผู้นาอย่าใช้คาสั่งที่ขัดแย้ง  ผู้นาอย่าใช้คาสั่งมากเกินความจาเป็น 2) นายแพทย์กิติ ตยัคคานนท์ ได้สรุปว่าผู้นาที่ดีควรมีลักษณะดังนี้  มีสุขภาพแข็งแรง  มีความรู้ดี  มีบุคลิกภาพดี  มีความคิดสร้างสรรค์กระตือรือร้น  มีการตัดสินใจกับการใช้ดุลยพินิจที่ดี  มีความกล้าหาญเด็ดเดี่ยว ไม่โลเล ตื่นตัวเสมอ
  • 16. การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 16  มีความแนบเนียน  มีความอดทน มีสมาธิ ใจคอหนักแน่น สามารถบังคับต่อตัวเอง  มีการสื่อความหมายที่ดี  มีความเห็นอกเห็นใจ  ไม่เห็นแก่ตัว เสียสละ ไม่ใช้อภิสิทธิในทางที่ผิด  ยกย่องให้เกียรติ ให้ความไว้วางใจผู้ใต้บังคับบัญชา  มีความสงบเสงี่ยม  มีความจงรักภักดีต่อหน่วยงาน  มีการสังคมดี  มีการวางแผนงานและการดาเนินงานตามแผน 3) DR. MAY SMITH บอกว่าผู้นาควรมีลักษณะ ดังนี้  มีเชาว์ปัญญาและวิจารณญาณดี  มีความยุติธรรม  มีความรับผิดชอบ  มีความคิดคานึง  มีอารมณ์คงเส้นคงวา  มีอารมณ์ขันเสมอ 4) MR. PETER DRUCKER บอกว่าผู้นาควรมีลักษณะ ดังนี้  มีความพร้อมทั้งกาย ใจ สมอง  มีความชานาญพิเศษ  มีอานาจในตัวเอง  มีความรอบรู้ทุกอย่างที่สามารถทาได้  แสวงหาสิ่งที่ดี  ตรงต่อระเบียบ  รู้จักที่ต่าที่สูง  การแสดงท่าทางไม่ขัดตา
  • 17. การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 17 5) ผู้นาที่ดีตามที่สังคมคาดหวังนอกจากมีคุณสมบัติตามที่กล่าวมา แล้ว ผู้นาที่ดีควรมีลักษณะเพิ่มเติมต่อไปนี้ คือ  ใจกว้าง ใจดี ไม่ตระหนี่ต่อการเลี้ยงดูและให้รางวัล  มีพรหมวิหารสี่ ในสถานที่ สถานการณ์ และเวลาอันเหมาะสม  หนักแน่น ไม่หูเบา รับฟังจากทุกฝ่าย  มีความยุติธรรม และให้ความเสมอภาคแก่ทุกคน  ซื่อสัตย์และสุจริต  ตรงต่อเวลา  ขยันและอุทิศเวลาให้แก่งาน  กล้ารับผิด  ความจริงใจในการพูดและการกระทาทุกชนิด  อ่อนหวาน นอบน้อม สุภาพ  เอาใจใส่ดูแลทุกข์สุขของผู้น้อยอยู่เสมอ  รู้จักเลือกใช้คน  อดทนด้วยความเยือกเย็นต่อคาพูดที่ขัดแย้งหรือไม่เป็นมิตรทุกชนิด  ติดตามคาสั่งที่สั่งการไปแล้วอยู่เสมอ  ฉลาดที่จะกระตุ้นเตือนเมื่อผู้น้อยล่าช้าหรือผิดพลาด ฯลฯ โดยสรุปแล้ว คุณลักษณะสาคัญของการเป็นผู้นาตามทฤษฎีและแนวคิดดังกล่าวข้างต้นจะ สามารถในการส่งผลให้ผู้นาทางานอย่างมีประสิทธิภาพ อันได้แก่ ความเฉลียวฉลาด ความเจริญวัยด้านสังคม แรงจูงใจภายใน และทัศนคติด้านมนุษย์สัมพันธ์ 3.2.2 ลักษณะผู้นาที่ควรหลีกเลี่ยง ไม่เพียงแต่ลักษณะที่ผู้นาควรมี แต่ยังมีลักษณะอีกหลายประการที่ผู้นาควรหลีกเลี่ยงและต้องหลบหลุมพราง ซึ่งลักษณะผู้นาที่ควรหลักเลี่ยง มีดังนี้  กลัวความล้มเหลว  มีความรู้สึกไม่มั่นคงในการทางาน
  • 18. การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 18  เป็นผู้ยึดติดกับของเก่า ไม่ยอมรับของใหม่  เป็นผู้ไม่หาประสบการณ์ในการทางาน  เป็นผู้ขาดข่าวสารข้อมูล  เป็นผู้ขาดทักษะในการตัดสินใจ  เป็นคนเจ้าอารมณ์และใช้อารมณ์  เป็นผู้หวงอานาจ หลงอานาจ  เป็นผู้มีปมด้อย หูเบา หลงเชื่อง่าย  ขาดคุณธรรม ชอบใช้อานาจเผด็จการ  ชอบวิจารณ์ผู้อื่นในทางไม่ดี  ชอบเอารัดเอาเปรียบผู้อื่น  เป็นคนไม่แน่นอน ใจคอโลเล  เป็นผู้ดูถูกความสามารถของลูกน้อง  ไม่มีความสามารถในการถ่ายทอดวิชาความรู้  คอยจับผิด สอดรู้สอดเห็นเรื่องส่วนตัวของผู้อื่น หลุมพรางของความเป็นผู้นา ผู้นาต้องหลบหลุมพราง ดังนี้ นั่งติดบัลลังก์ ชอบฟังแต่ข่าวลือ ดาวดื้อแห่งยุค จุกจิกจู้จี้ หลีกหนีลูกน้อง คล่องเกินการณ์ ชอบแต่งานเด่นดัง ฟังจนเข่าอ่อน หย่อนของรางวัล ชอบฝันเอาสบาย วุ่นวายเรื่องย่อย ปล่อยปละละเลย ชอบเปรยแต่ไม่ทา ข้าขอนาตลอดกาล อภิบาลพวกพ้อง นักปกครองจอมกะล่อน หย่อนความขยัน ยานทางศีลธรรม ความจาไม่เอาไหน บ้าแต่งานมากไป ใช้คนเหมือนเครื่องจักร ชอบชักแม่น้าทั้งห้า ไม่รู้ค่าตาแหน่งงาน หมดแรงบันดาลใจ ไม่ชอบวิชาการ จอมมารเสเพล
  • 19. การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา ………ณภัทร อิ่มวิทยา…….. หน้า 19 ลักษณะพฤติกรรมที่ควรหลีกเลี่ยงและหลุมพรางดังกล่าว ถือว่าผู้นาทุกคนจาเป็นต้องหลีกหนีให้ไกลที่สุด เพราะจะทาให้ขาดความเชื่อถือจากผู้ใต้บังคับบัญชา ทาให้หนีสังคม ไม่มีความเชื่อมั่นในตนเอง ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้บางครั้งเราต้องพยายามหนีให้พ้นและถือว่าประสบการณ์คือบทเรียน บทสรุป การทางานของนักบริหารหรือหัวหน้างาน ก็คือ การทางานกับคนจะทางานกับคนและนาคนอย่างไร ทั้งผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา หรือหัวหน้างานกับลูกน้อง นักบริหารที่ฉลาดจะต้องไม่ยอมให้อาชีพตนเองถอยหลังคนที่ดีที่สุด หรือบกพร่องน้อยที่สุด คือผู้ที่มีความสามารถที่สุดและมีแรงขับภายในหรือศักยภาพ (Potential) ออกมาได้มากที่สุดโดยไม่ยอมอยู่กั บที่แต่จะก้าวไปข้างหน้าด้วยความมั่นใจ และมั่นคงเสมอ และต้องตระหนักในคาเตือนของปราชญ์จีน “ซุนวู” ที่กล่าวถึงจุดอ่อนของผู้นา 5 ประการ คือ ผู้นาที่คิดรุกตลอดเวลา ถูกทาลายได้ ผู้นาที่ห่วงภัยเฉพาะตน ถูกจับกุมได้ ผู้นาที่ฉุนเฉียวง่ายดาย เป็นที่ดูถูกได้ ผู้นาที่พิถีพิถันจู้จี้ เป็นที่ขบขันได้ ผู้นาที่อ่อนไหว ลาบากใจได้ จุดอ่อนทั้ง 5 ประการ คือข้อผิดพลาดในตัวผู้นาซึ่งมีอันตรายใหญ่หลวงเมื่อใดที่องค์กรพ่ายแพ้ และผู้นาถูกทาลายแน่นอนว่า ย่อมมาจากจุดอ่อนทั้ง 5 ประการข้างต้น จึงเป็นสิ่งที่ต้องศึกษาอย่างใคร่ครวญ สร้างและพัฒนาตนให้มีภาวะผู้นา นาทฤษฎี หลักการ แนวคิด การเป็นผู้นาแบบต่าง ๆ มาใช้ให้เหมาะสมสิ่งแวดล้อมขององค์กร เพื่อสู่ความสาเร็จขององค์กรหรือหน่วยงาน โดยที่ไม่มีวันพ่ายแพ้ได้เลย …………………………..