SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 8
ทฤษฏีภาวะผู้นาของนักการศึกษา........................วิลาวัลย์ คลังกลาง................................ หน้า 1
เรื่อง
ทฤษฎีภาวะผู้นาของนักการศึกษา
นาเสนอ
ดร.เรืองยศ แวดล้อม
จัดทาโดย
นางวิลาวัลย์ คลังกลาง
นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต
สาขาบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยปทุมธานี
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
ทฤษฏีภาวะผู้นาของนักการศึกษา........................วิลาวัลย์ คลังกลาง................................ หน้า 2
ทฤษฏีภาวะผู้นาของนักการศึกษาต่างประเทศ
LLuutthheerr GGuulliicckk && LLyynnddaallll UUrrwwiicckk
1) ชื่อทฤษฎี : กระบวนการบริหาร POSDCORB
2) หลักการและแนวคิด
กูลิค และเออร์วิกค์ ได้รวบรวมแนวคิดทางด้านการบริหารต่างๆ เอาไว้ในหนังสือชื่อ “Paper on the
Science of Administration : Notes on the Theory of Organization” โดยเสนอแนวคิดกระบวนการบริหาร
ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี ชื่อว่า “POSDCORB” อันเป็นคาย่อของภาระหน้าที่ที่สาคัญของนักบริหาร 7 ประการ
ได้แก่
(1) P-Planning : การวางแผน
เป็นการวางเค้าโครงกิจกรรมซึ่งเป็นการเตรียมการก่อนลงมือปฏิบัตเพื่อให้การดาเนินการสามารถ
บรรลุเป้ าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
(2) O-Organizing : การจัดองค์การ
เป็นการกาหนดโครงสร้างขององค์การโดยพิจารณาให้เหมาะสมกับงาน เช่น การแบ่งงาน
(Division of Work) เป็นกรม กอง หรือแผนก โดยอาศัยปริมาณงาน คุณภาพของงาน
หรือจัดตามลักษณะเฉพาะของงาน (Specialization) นอกจากนี้อาจพิจารณาในแง่ของการควบคุม
(Span of Control) หรือพิจารณาในแง่ของหน่วยงาน เช่น หน่วยงานหลัก (Line)
และหน่วยงานที่ปรึกษา (Staff) เป็นต้น
(3) S-Staffing : การจัดหาบุคลากรมาปฏิบัติงาน
เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การนั่นเอง
ทั้งนี้เพื่อให้ได้บุคลากรมาปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ
และสอดคล้องกับการจัดแบ่งหน่วยงานที่กาหนดเอาไว้
(4) D-Directing : การอานวยการ เป็นภารกิจในการใช้ศิลปะในการบริหารงาน เช่น ภาวะผู้นา
(Leadership) มนุษยสัมพันธ์ (Human Relations) การจูงใจ (Motivation) และการตัดสินใจ
(Decision making) เป็นต้น
(5) CO-Coordinating : การประสานงาน เป็นการประสานให้ส่วนต่างๆ
ของกระบวนการทางานมีความต่อเนื่องกัน เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
และราบรื่น
(6) R-Reporting : การรายงาน
เป็นกระบวนการและเทคนิคของการแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาตามชั้นได้ทราบถึงผลการปฏิบัติงาน
โดยที่มีความสัมพันธ์กับการติดต่อสื่อสาร (Communication) ในองค์การอยู่ด้วย
ทฤษฏีภาวะผู้นาของนักการศึกษา........................วิลาวัลย์ คลังกลาง................................ หน้า 3
(7) B-Budgeting : การงบประมาณ
เป็นภารกิจที่เกี่ยวกับการวางแผนการทาบัญชีการควบคุมเกี่ยวกับการเงินและการคลัง
3) การนาไปใช้
สาระสาคัญของแนวความคิดของ Gulick & Urwick เกี่ยวกับ POSDCORB ก็คือ
“ประสิทธิภาพ” อันเป็นเรื่องที่สาคัญที่สุดของการบริหาร
และเพื่อให้การบริหารงานในทุกหน่วยงานมีประสิทธิภาพ
จะต้องมีการแบ่งงานกันทาตามความเหมาะสมและความจาเป็น หรือความถนัดของคนงาน
โดยแบ่งหน่วยงานออกตามกระบวนการ วัตถุประสงค์ ลูกค้า และพื้นที่
โดยทุกหน่วยงานจะต้องจัดรูปแบบองค์การเป็นรูปสามเหลี่ยมปิรามิด
มีสายการบังคับบัญชาที่ถอยหลั่นกันมา
HHeerrbbeerrtt AA.. SSiimmoonn
1. ชื่อทฤษฎี :ทฤษฎีการตัดสินใจ (Decision-Making Theory)
Herbert A.Simon เป็นผู้นาตัวแบบทางเศรษฐศาสตร์หรือตัวแบบที่ยึดหลักเหตุผล (Economic or
Rational Comprehensive Model) ของนักเศรษฐศาสตร์ชื่อ Jan Tiobergan มาดัดแปลง แล้วตีพิมพ์หนังสือชื่อ
“The Administrative Behavioral” เมื่อปี 1950
2. หลักการและแนวคิด
จุดเน้นของ Simon อยู่ที่การตัดสินใจ (Decision-making)
ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งสาคัญของการบริหารทั้งหลายทั้งปวง โดยเห็นว่า
ความสาเร็จของการบริหารขึ้นอยู่กับการตัดสินใจที่ดี
และการตัดสินใจที่ดีย่อมนาไปสู่ความสาเร็จขององค์การ
หากการตัดสินใจผิดพลาดก็อาจจะทาให้การบริหารงานภายในองค์การนั้นล้มเหลวได้ในที่สุด
ในระยะแรก การตัดสินใจตามหลักของ Simon
จะเป็นการตัดสินใจโดยพยายามแยกค่านิยมออกจากข้อเท็จจริง กล่าวคือ Simon เห็นว่า
ค่านิยมเป็นเรื่องของสิ่งที่ดีกว่าหรือชอบมากกว่า แต่ข้อเท็จจริงเป็นเรื่องที่ยืนยันทดสอบได้
เขาจึงเห็นว่าในการตัดสินใจควรที่จะแยก 2 สิ่งนี้ออกจากกันให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้
เพื่อทาให้การตัดสินใจถูกต้องมากขึ้น
ต่อมาในปี 1957 Simon ได้เปลี่ยนแปลงแนวความคิดเรื่องพฤติกรรมการตัดสินใจที่อาศัยหลักเหตุผล
อันเป็นกระบวนการตัดสินใจที่จะต้องมีความขัดแย้งเกี่ยวกับเป้ าหมาย กล่าวคือ
มีการจัดลาดับความสาคัญ การเสนอทางเลือกที่เป็นไปได้
การเปรียบเทียบทางเลือกและผลของทางเลือกที่กาหนดขึ้น และการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด แต่
Simon เห็นว่าในความเป็นจริงแล้ว ในระบบการบริหารนั้นมีข้อจากัดหลายประการ
ทฤษฏีภาวะผู้นาของนักการศึกษา........................วิลาวัลย์ คลังกลาง................................ หน้า 4
ที่จะทาให้การตัดสินใจเลือกได้หลายๆ ทาง โดยปกติมักจะสนใจแต่ข้อมูลบางด้านเท่านั้น
อีกทั้งยังอาจมีข้อจากัดด้านความรู้ความสามารถและประสบการณ์
ตลอดจนอาจไม่มีงบประมาณเพียงพอที่จะศึกษาเพื่อเปรียบเทียบทางเลือกได้ทั้งหมดยิ่งไปกว่านั้นข้อมูลที่
สาคัญบางครั้งก็หายากหรือหาไม่ได้เลย โดยเฉพาะข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคต ดังนั้น
ทุกคนจึงมักตัดสินใจโดยใช้หลักเหตุผลเพียงส่วนหนึ่ง (Bounded Rationality) และใช้ความพึงพอใจ
(Sastisfacting) เข้ามาช่วยอีกส่วนหนึ่ง การตัดสินใจจึงไม่ใช่เรื่องของการให้ผลมากที่สุด (Maximizing) ซึ่ง
Simon เรียกว่า “การตัดสินใจโดยยึดหลักเหตุผลแต่เพียงบางส่วน (Bound Rationality)
อันเป็นแนวคิดที่อยู่ระหว่างการใช้เหตุผลและการไม่ใช้เหตุผล
โดยนักบริหารจะต้องตัดสินใจเลือกทางเลือกที่เขาพึงพอใจ (Good) หรือดีพอสมควร (Good Enough)
เพราะว่าเขาไม่มีความสามารถที่จะเลือกทางเลือกที่ให้เหตุผลมากที่สุด
RReennssiiss LLiikkeerrtt
1) ชื่อทฤษฎี : ทฤษฎีภาวะผู้นาในองค์การ (Leadership in Organization Theory) หรือทฤษฎีระบบ
การบริหารสี่ระบบ (System 4 Theory)
2) หลักการและแนวคิด :
Likert พบว่า ระบบการบริหารขององค์การ อาจแยกออกได้เป็น 4 ระบบ ได้แก่
(1) ระบบที่ 1 - การตัดสินใจและการกาหนดเป้ าหมายขององค์การเกิดขึ้นที่ระดับสูงสุด
และมีการสั่งงานลงมาตามสายการบังคับบัญชา การควบคุมถูกรวมไว้ที่ระดับสูงสุดขององค์การ
(2) ระบบที่ 2 - การตัดสินใจและการกาหนดเป้ าหมายอยู่ที่ระดับสูงสุดขององค์การ
แต่การตัดสินใจหลายอย่างเกิดขึ้นที่ระดับต่า
รางวัลและการลงโทษบางอย่างถูกใช้ในการจูงใจผู้ใต้บังคับบัญชา
การควบคุมบางอย่างถูกมอบหมายไปยังระดับกลางและระดับต่า
องค์การแบบที่ไม่เป็นทางการไม่เกิดการต่อต้านเป้ าหมายขององค์การที่เป็นทางการ
(3) ระบบที่ 3 - นโยบายอย่างกว้างๆ และการตัดสินใจโดยทั่วไปแล้วเกิดที่ระดับสูง
ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาตัดสินใจเฉพาะอย่างได้มากขึ้น การติดต่อสื่อสารมีทั้งบนสู่ล่างและล่างขึ้นบน
การให้รางวัล การลงโทษ ตลอดจนการมีส่วนร่วมบางอย่างถูกใช้ในการจูงใจผู้ใต้บังคับบัญชา
การควบคุมถูกมอบหมายไปยังระดับต่ามากขึ้น
องค์การที่ไม่เป็นทางการจะสนับสนุนหรือต่อต้านเป้ าหมายขององค์การที่เป็นทางการ
(4) ระบบที่ 4 - การตัดสินใจกระจายกว้างไปทั่วองค์การ การสื่อสารเกิดขึ้นทั้งแนวดิ่งและแนวนอน
ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาถูกจูงใจด้วยการมีส่วนร่วมในการกาหนดเป้ าหมาย ปรับปรุงวิธีการ
และประเมินผลการปฏิบัติงาน ความรับผิดชอบในการควบคุมจะถูกกระจายออกไปทั่วองค์การ
องค์การที่ไม่เป็นทางการจะสนับสนุนองค์การที่เป็นทางการอย่างเต็มที่
ทฤษฏีภาวะผู้นาของนักการศึกษา........................วิลาวัลย์ คลังกลาง................................ หน้า 5
3) การนาไปใช้
องค์การใดๆ ก็ตาม ถ้าระบบการบริหารองค์การยิ่งมีความใกล้เคียงกับระบบที่ 4 มากขึ้นเท่าไร
องค์การก็จะมีประสิทธิภาพในการผลิตมากยิ่งขึ้น
ที่มา : ครูอภิชัย บอกกล่าวการนิเทศการศึกษา :เว็บไซต์ http://gotoknow.org/blog/oodapichai/201638
ทฤษฏีภาวะผู้นาของนักการศึกษาในประเทศไทย
บุรัญชัย จงกลนี( ม . ป . ป . : 11-12) กล่าวถึงคุณลักษณะของนักบริหารที่ดีควรมีลักษณะ ดังต่อไปนี้
1. เฉลียวฉลาด แต่ไม่อวดฉลาด
2. มีความสามารถรอบด้าน (Well rounder)
3. มีพลังผลักดันภายใน (Inner drive) ให้กระตือรือร้นอยู่เสมอ
4. ทาตนให้เป็นที่เชื่อถือ (Integrity)
5. กล้าหาญทั้งกายและใจ (Courage physically andmorally)
6. มีความคิดริเริ่ม (Initiative)
7. รู้จักวิธีส่งเสริมและบารุงขวัญผู้ใต้บังคับบัญชา
8. การเสียสละปราศจากการเห็นแก่ตัว
9. มีความยุติธรรม (Justice)
10. วางตัวดี (Bearing)
11. กระตุ้นให้ผู้น้อยมีความภูมิใจในงานของตน
12. ให้เกียรติในผลงานที่ผู้น้อยได้ปฏิบัติ
13. ปฏิบัติงานอย่างเป็นทีม ให้ทางานแทนกันได้
14. ใช้ผู้ใต้บังคับบัญชาให้เหมาะสมกับความสามารถ และมีการพัฒนาฝีมือผู้ใต้บังคับบัญชาอยู่เสมอ
( อ้างใน . บุรัญชัย จงกลนี . ม . ป . ป . : 14-15) เมื่อปี ค . ศ . 1951 ได้มีการประมวลปรัชญา
ของการบริหาร การศึกษา ไว้ว่า
1. ผู้บริหารต้องใช้ความฉลาด ไหวพริบมาแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่สาคัญในการบริหาร (Application of
intelligence to life problems)
ทฤษฏีภาวะผู้นาของนักการศึกษา........................วิลาวัลย์ คลังกลาง................................ หน้า 6
2. ผู้บริหารต้องเปิดโอกาสให้บุคคลจานวนมาก หรือบุคคลหลายๆ คนเข้ามามีส่วนร่วม ในการกระทา
โดยไม่ทางานตามลาพัง (Necessity of social groupaction)
3. ผู้บริหารต้องเคารพความเป็นคนของแต่ละคน และจะต้องให้ความยอมรับนับถือใน ความเห็น
ธรรมชาติ และความสามารถของผู้อื่น (Respect of theindividual)
4. ผู้บริหารต้องยึดเป้าหมาย หรือจุดประสงค์ของการศึกษาเป็นหลัก การบริหารการศึกษา
จะไม่มีความหมายถ้าขาดเป้าหมายดังกล่าว นอกจากนี้ผู้บริหารจะต้องถือว่า
เป้าหมายหรือจุดประสงค์ของ การศึกษาย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามเหมาะสมกับสภาพ ของสังคม
ในฐานะผู้นาผู้บริหาร จะต้องปรับปรุงการศึกษา ให้เหมาะสมกับสภาพ สังคมที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
(Function Social Organization)
5. ผู้บริหารจะต้องถือว่าตนเป็นเพียงผู้ทาหน้าที่ประสานประโยชน์ ซึ่งเข้ามาให้บริการ แก่บุคคลอื่นทุกๆ
คน ในการที่จะช่วยให้เขาดาเนินงานต่างๆ ในการให้การศึกษาให้ได้ผลและมีประสิทธิภาพที่สุด
(Administrator as groupinstrument)
6. ผู้บริหารจะต้องเปิดโอกาสให้บุคคลทั้งหลายมาทาความเข้าใจกันได้ทุกเมื่อและรับฟังความคิดเห็น
ของบุคคล ทุกคนในวงการศึกษาและในชุมชนที่สถานศึกษาตั้งอยู่ (Freedom of Communication)
7. ผู้บริหารจะต้องถือว่าตนเองเป็นผู้นา มิใช่เจ้านายผู้ทรงอานาจ (Administrator as aleader)
8. ผู้บริหารต้องถือว่าตนเองคือ นักการศึกษา ผู้ยึดมั่นในปรัชญาของการศึกษา จึงต้องปฏิบัติและ
วางตนอย่างนักการศึกษา (Administrator as aneducator)
9. ผู้บริหารจะต้องเสียสละทุกอย่างเพื่อให้การศึกษาแก่ประชาชน และเพื่อให้สังคมดี ขึ้นทุกๆ ทาง
(Dedication of public education to community betterment)
10. ผู้บริหารจะต้องประสานงานประสานน้าใจ ระหว่างชาวบ้านกับสถานศึกษาในการดาเนินงาน
การศึกษา (School community integration in education)
11. ผู้บริหารจะต้องประเมินผลงานตนเองอยู่เสมอ การประเมินจะต้องทาทั้งสองอย่าง คือ ประเมินวิธีการ
หรือกระบวนการทางานพร้อมๆ กันไปกับการประเมินการปฏิบัติงาน เพราะการทางาน
จะมุ่งเอาแต่ผลอย่างเดียวไม่ได้ วิธีการก็จาเป็น (Two fold evaluation of Administration means and ends)
12. ผู้บริหารจะต้องเคารพในวิชาชีพของการบริหาร และมีความรับผิดชอบต่อวิชาชีพ
จะไม่ทาความเสื่อมเสีย ให้ผู้คนเหยียดหยามวิชาชีพของนักบริหาร (Professional integrity and
responsibility)
13. ผู้บริหารจะต้องขวนขวายหาความรู้ใส่ตนอยู่เสมอ และแสวงหาความชานาญ ทุกวิธีทาง
เพื่อให้การบริหารงานของตนเองทันสมัย (Necessity for professional growth)
คุณสมบัติทั้ง 13 ประการนี้ เป็นแนวทางแห่งความเชื่อหรือปรัชญาของนักการบริหารที่พึงมี อันเป็นวิถี
หรือแนวทางที่ผู้บริหารพึงยึดถือในการบริหารงาน ซึ่งถึงแม้ว่าจะเป็นการยากที่จะปฏิบัติได้ครบถ้วน
แต่การที่ได้ทราบไว้ก็จะเป็นประโยชน์ ให้แก่นักบริหาร ที่จะสามารถหยิบยกเอามาประยุกต์
ใช้ให้เหมาะสมกับงาน ของนักบริหาร ซึ่งแตกต่างกันออกไปของแต่ละคนได้
ทฤษฏีภาวะผู้นาของนักการศึกษา........................วิลาวัลย์ คลังกลาง................................ หน้า 7
ถวิลอรัญเวศ (2544: 17 – 18) ได้ให้ทรรศนะนักบริหารมืออาชีพว่าควรจะมีลักษณะดังนี้
1. กล้าตัดสินใจ การตัดสินใจเป็นคุณลักษณะที่สาคัญประการหนึ่งของนักบริหาร นักบริหารมืออาชีพ
ต้องมีข้อมูลที่เพียงพอในการตัดสินใจหรือวินัจฉัยสั่งการ เป็นคนที่สุขุมรอบคอบ
มีเหตุมีผลในการตัดสินใจ
2. ไวต่อข้อมูล นักบริหารมืออาชีพ จาเป็นต้องเป็นคนที่ทันสมัย ไวต่อข้อมูลหรือการเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ
ฉะนั้นจาเป็นต้องเป็นผู้ที่ติดตามข่าวสารต่างๆ อยู่เสมอ
3. เพิ่มพูนวิสัยทัศน์ นักบริหารมืออาชีพจะต้องเป็นผู้มีวิสัยทัศน์อันกว้างไกล สามารถมองเห็นภาพ
ในอนาคตและแนวทางที่จะแก้ไขปัญหาได้เป็นอย่างดี
4. ซื่อสัตย์และสร้างสรรค์ผลงาน คือ จะต้องเป็นบุคคลที่มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีการสร้างสรรค์
ผลงาน ให้ปรากฏต่อสายตาเพื่อนร่วมงานอยู่เสมอ
5. ประสานสิบทิศ นักบริหารมืออาชีพจาต้องเป็นบุคคลที่สามารถประสานงานกับ หน่วยงาน
หรือบุคคลต่างๆ ได้เป็นอย่างดี สามารถไกล่เกลี่ยข้อกรณีพิพาทได้ และสามารถ ขจัดปัดเป่าปัญหา ต่างๆ
ในหน่วยงานได้
6. คิดสร้างสรรค์วิธีการทางานใหม่ๆ จะต้องคิดหาวิธีการทางานแบบใหม่ๆ อยู่เสมอ
7. จูงใจเพื่อร่วมงาน จาเป็นต้องมีบุคคลที่สามารถโน้มน้าวหรือจูงใจเพื่อนร่วมงาน
ให้เกิดความกระตือรือร้น ในการทางาน และมีความรับผิดชอบต่องานสูง ประเมินผล
การปฏิบัติงานด้วยความโปร่งใส ยุติธรรม รู้จักให้การชมเชย ให้รางวัลหรือบาเหน็จ ความชอบ
8. ทนทานต่อปัญหาและอุปสรรค จะต้องมีความอดทนอดกลั้นต่อปัญหาอุปสรรคที่กาลังเผชิญ
และพร้อมที่จะต่อสู้เพื่อการแก้ไขปัญหาให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยอย่างสันติสุขไม่หนีปัญหาและไม่ห
มกหมุ่น ไว้
9. รู้จักยืดหยุ่นตามเหตุการณ์ นักบริหารมืออาชีพจะต้องรู้จักยืดหยุ่น และอ่อนตัวตามเหตุการณ์นั้นๆ
ไม่ตึงเกินไปหรือไม่หย่อนเกินไป บางครั้งก็ต้องดาเนินการในสายกลาง แต่ในบางครั้งต้องมี
ความเด็ดขาด
10. บริหารงานแบบมีส่วนร่วม จะต้องบริหารงานแบบให้ทีมงานมีส่วนร่วมคิด ร่วมวางแผน
ร่วมตัดสินใจ และร่วมรับผิดชอบ
อ้างอิง
ครูอภิชัย บอกกล่าวการนิเทศการศึกษา :เว็บไซต์ http://gotoknow.org/blog/oodapichai/201638
ทฤษฏีภาวะผู้นาของนักการศึกษา........................วิลาวัลย์ คลังกลาง................................ หน้า 8
ถวิล อรัญเวส . “ นักบริหารมืออาชีพในยุคเขตพื้นที่การศึกษา ” วารสารวิชาการ . 4(2) :17-18; กุมภาพันธ์ , 2544
บุรัญชัย จงกลนี . คุณธรรมของนักบริหาร . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สัตยการพิมพ์ . ม. ป . ป .

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560KiiKz Krittiya
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจPawit Chamruang
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชาkkrunuch
 
ทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสันทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสัน7roommate
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้dnavaroj
 
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖Jaturapad Pratoom
 
02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงานWijitta DevilTeacher
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60Krittalak Chawat
 
คู่มือการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์
คู่มือการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์คู่มือการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์
คู่มือการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์mas_686
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 

Mais procurados (20)

ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
 
ทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสันทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสัน
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
การแนะแนว
การแนะแนวการแนะแนว
การแนะแนว
 
ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3
 
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
 
02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน
 
Ast.c2560.5t
Ast.c2560.5tAst.c2560.5t
Ast.c2560.5t
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
 
คู่มือการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์
คู่มือการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์คู่มือการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์
คู่มือการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 

ทฤษฏีภาวะผู้นำของนักการศึกษาต่างประเทศ.และไทย

  • 1. ทฤษฏีภาวะผู้นาของนักการศึกษา........................วิลาวัลย์ คลังกลาง................................ หน้า 1 เรื่อง ทฤษฎีภาวะผู้นาของนักการศึกษา นาเสนอ ดร.เรืองยศ แวดล้อม จัดทาโดย นางวิลาวัลย์ คลังกลาง นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยปทุมธานี สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. ทฤษฏีภาวะผู้นาของนักการศึกษา........................วิลาวัลย์ คลังกลาง................................ หน้า 2 ทฤษฏีภาวะผู้นาของนักการศึกษาต่างประเทศ LLuutthheerr GGuulliicckk && LLyynnddaallll UUrrwwiicckk 1) ชื่อทฤษฎี : กระบวนการบริหาร POSDCORB 2) หลักการและแนวคิด กูลิค และเออร์วิกค์ ได้รวบรวมแนวคิดทางด้านการบริหารต่างๆ เอาไว้ในหนังสือชื่อ “Paper on the Science of Administration : Notes on the Theory of Organization” โดยเสนอแนวคิดกระบวนการบริหาร ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี ชื่อว่า “POSDCORB” อันเป็นคาย่อของภาระหน้าที่ที่สาคัญของนักบริหาร 7 ประการ ได้แก่ (1) P-Planning : การวางแผน เป็นการวางเค้าโครงกิจกรรมซึ่งเป็นการเตรียมการก่อนลงมือปฏิบัตเพื่อให้การดาเนินการสามารถ บรรลุเป้ าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) O-Organizing : การจัดองค์การ เป็นการกาหนดโครงสร้างขององค์การโดยพิจารณาให้เหมาะสมกับงาน เช่น การแบ่งงาน (Division of Work) เป็นกรม กอง หรือแผนก โดยอาศัยปริมาณงาน คุณภาพของงาน หรือจัดตามลักษณะเฉพาะของงาน (Specialization) นอกจากนี้อาจพิจารณาในแง่ของการควบคุม (Span of Control) หรือพิจารณาในแง่ของหน่วยงาน เช่น หน่วยงานหลัก (Line) และหน่วยงานที่ปรึกษา (Staff) เป็นต้น (3) S-Staffing : การจัดหาบุคลากรมาปฏิบัติงาน เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การนั่นเอง ทั้งนี้เพื่อให้ได้บุคลากรมาปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับการจัดแบ่งหน่วยงานที่กาหนดเอาไว้ (4) D-Directing : การอานวยการ เป็นภารกิจในการใช้ศิลปะในการบริหารงาน เช่น ภาวะผู้นา (Leadership) มนุษยสัมพันธ์ (Human Relations) การจูงใจ (Motivation) และการตัดสินใจ (Decision making) เป็นต้น (5) CO-Coordinating : การประสานงาน เป็นการประสานให้ส่วนต่างๆ ของกระบวนการทางานมีความต่อเนื่องกัน เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และราบรื่น (6) R-Reporting : การรายงาน เป็นกระบวนการและเทคนิคของการแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาตามชั้นได้ทราบถึงผลการปฏิบัติงาน โดยที่มีความสัมพันธ์กับการติดต่อสื่อสาร (Communication) ในองค์การอยู่ด้วย
  • 3. ทฤษฏีภาวะผู้นาของนักการศึกษา........................วิลาวัลย์ คลังกลาง................................ หน้า 3 (7) B-Budgeting : การงบประมาณ เป็นภารกิจที่เกี่ยวกับการวางแผนการทาบัญชีการควบคุมเกี่ยวกับการเงินและการคลัง 3) การนาไปใช้ สาระสาคัญของแนวความคิดของ Gulick & Urwick เกี่ยวกับ POSDCORB ก็คือ “ประสิทธิภาพ” อันเป็นเรื่องที่สาคัญที่สุดของการบริหาร และเพื่อให้การบริหารงานในทุกหน่วยงานมีประสิทธิภาพ จะต้องมีการแบ่งงานกันทาตามความเหมาะสมและความจาเป็น หรือความถนัดของคนงาน โดยแบ่งหน่วยงานออกตามกระบวนการ วัตถุประสงค์ ลูกค้า และพื้นที่ โดยทุกหน่วยงานจะต้องจัดรูปแบบองค์การเป็นรูปสามเหลี่ยมปิรามิด มีสายการบังคับบัญชาที่ถอยหลั่นกันมา HHeerrbbeerrtt AA.. SSiimmoonn 1. ชื่อทฤษฎี :ทฤษฎีการตัดสินใจ (Decision-Making Theory) Herbert A.Simon เป็นผู้นาตัวแบบทางเศรษฐศาสตร์หรือตัวแบบที่ยึดหลักเหตุผล (Economic or Rational Comprehensive Model) ของนักเศรษฐศาสตร์ชื่อ Jan Tiobergan มาดัดแปลง แล้วตีพิมพ์หนังสือชื่อ “The Administrative Behavioral” เมื่อปี 1950 2. หลักการและแนวคิด จุดเน้นของ Simon อยู่ที่การตัดสินใจ (Decision-making) ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งสาคัญของการบริหารทั้งหลายทั้งปวง โดยเห็นว่า ความสาเร็จของการบริหารขึ้นอยู่กับการตัดสินใจที่ดี และการตัดสินใจที่ดีย่อมนาไปสู่ความสาเร็จขององค์การ หากการตัดสินใจผิดพลาดก็อาจจะทาให้การบริหารงานภายในองค์การนั้นล้มเหลวได้ในที่สุด ในระยะแรก การตัดสินใจตามหลักของ Simon จะเป็นการตัดสินใจโดยพยายามแยกค่านิยมออกจากข้อเท็จจริง กล่าวคือ Simon เห็นว่า ค่านิยมเป็นเรื่องของสิ่งที่ดีกว่าหรือชอบมากกว่า แต่ข้อเท็จจริงเป็นเรื่องที่ยืนยันทดสอบได้ เขาจึงเห็นว่าในการตัดสินใจควรที่จะแยก 2 สิ่งนี้ออกจากกันให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ เพื่อทาให้การตัดสินใจถูกต้องมากขึ้น ต่อมาในปี 1957 Simon ได้เปลี่ยนแปลงแนวความคิดเรื่องพฤติกรรมการตัดสินใจที่อาศัยหลักเหตุผล อันเป็นกระบวนการตัดสินใจที่จะต้องมีความขัดแย้งเกี่ยวกับเป้ าหมาย กล่าวคือ มีการจัดลาดับความสาคัญ การเสนอทางเลือกที่เป็นไปได้ การเปรียบเทียบทางเลือกและผลของทางเลือกที่กาหนดขึ้น และการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด แต่ Simon เห็นว่าในความเป็นจริงแล้ว ในระบบการบริหารนั้นมีข้อจากัดหลายประการ
  • 4. ทฤษฏีภาวะผู้นาของนักการศึกษา........................วิลาวัลย์ คลังกลาง................................ หน้า 4 ที่จะทาให้การตัดสินใจเลือกได้หลายๆ ทาง โดยปกติมักจะสนใจแต่ข้อมูลบางด้านเท่านั้น อีกทั้งยังอาจมีข้อจากัดด้านความรู้ความสามารถและประสบการณ์ ตลอดจนอาจไม่มีงบประมาณเพียงพอที่จะศึกษาเพื่อเปรียบเทียบทางเลือกได้ทั้งหมดยิ่งไปกว่านั้นข้อมูลที่ สาคัญบางครั้งก็หายากหรือหาไม่ได้เลย โดยเฉพาะข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคต ดังนั้น ทุกคนจึงมักตัดสินใจโดยใช้หลักเหตุผลเพียงส่วนหนึ่ง (Bounded Rationality) และใช้ความพึงพอใจ (Sastisfacting) เข้ามาช่วยอีกส่วนหนึ่ง การตัดสินใจจึงไม่ใช่เรื่องของการให้ผลมากที่สุด (Maximizing) ซึ่ง Simon เรียกว่า “การตัดสินใจโดยยึดหลักเหตุผลแต่เพียงบางส่วน (Bound Rationality) อันเป็นแนวคิดที่อยู่ระหว่างการใช้เหตุผลและการไม่ใช้เหตุผล โดยนักบริหารจะต้องตัดสินใจเลือกทางเลือกที่เขาพึงพอใจ (Good) หรือดีพอสมควร (Good Enough) เพราะว่าเขาไม่มีความสามารถที่จะเลือกทางเลือกที่ให้เหตุผลมากที่สุด RReennssiiss LLiikkeerrtt 1) ชื่อทฤษฎี : ทฤษฎีภาวะผู้นาในองค์การ (Leadership in Organization Theory) หรือทฤษฎีระบบ การบริหารสี่ระบบ (System 4 Theory) 2) หลักการและแนวคิด : Likert พบว่า ระบบการบริหารขององค์การ อาจแยกออกได้เป็น 4 ระบบ ได้แก่ (1) ระบบที่ 1 - การตัดสินใจและการกาหนดเป้ าหมายขององค์การเกิดขึ้นที่ระดับสูงสุด และมีการสั่งงานลงมาตามสายการบังคับบัญชา การควบคุมถูกรวมไว้ที่ระดับสูงสุดขององค์การ (2) ระบบที่ 2 - การตัดสินใจและการกาหนดเป้ าหมายอยู่ที่ระดับสูงสุดขององค์การ แต่การตัดสินใจหลายอย่างเกิดขึ้นที่ระดับต่า รางวัลและการลงโทษบางอย่างถูกใช้ในการจูงใจผู้ใต้บังคับบัญชา การควบคุมบางอย่างถูกมอบหมายไปยังระดับกลางและระดับต่า องค์การแบบที่ไม่เป็นทางการไม่เกิดการต่อต้านเป้ าหมายขององค์การที่เป็นทางการ (3) ระบบที่ 3 - นโยบายอย่างกว้างๆ และการตัดสินใจโดยทั่วไปแล้วเกิดที่ระดับสูง ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาตัดสินใจเฉพาะอย่างได้มากขึ้น การติดต่อสื่อสารมีทั้งบนสู่ล่างและล่างขึ้นบน การให้รางวัล การลงโทษ ตลอดจนการมีส่วนร่วมบางอย่างถูกใช้ในการจูงใจผู้ใต้บังคับบัญชา การควบคุมถูกมอบหมายไปยังระดับต่ามากขึ้น องค์การที่ไม่เป็นทางการจะสนับสนุนหรือต่อต้านเป้ าหมายขององค์การที่เป็นทางการ (4) ระบบที่ 4 - การตัดสินใจกระจายกว้างไปทั่วองค์การ การสื่อสารเกิดขึ้นทั้งแนวดิ่งและแนวนอน ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาถูกจูงใจด้วยการมีส่วนร่วมในการกาหนดเป้ าหมาย ปรับปรุงวิธีการ และประเมินผลการปฏิบัติงาน ความรับผิดชอบในการควบคุมจะถูกกระจายออกไปทั่วองค์การ องค์การที่ไม่เป็นทางการจะสนับสนุนองค์การที่เป็นทางการอย่างเต็มที่
  • 5. ทฤษฏีภาวะผู้นาของนักการศึกษา........................วิลาวัลย์ คลังกลาง................................ หน้า 5 3) การนาไปใช้ องค์การใดๆ ก็ตาม ถ้าระบบการบริหารองค์การยิ่งมีความใกล้เคียงกับระบบที่ 4 มากขึ้นเท่าไร องค์การก็จะมีประสิทธิภาพในการผลิตมากยิ่งขึ้น ที่มา : ครูอภิชัย บอกกล่าวการนิเทศการศึกษา :เว็บไซต์ http://gotoknow.org/blog/oodapichai/201638 ทฤษฏีภาวะผู้นาของนักการศึกษาในประเทศไทย บุรัญชัย จงกลนี( ม . ป . ป . : 11-12) กล่าวถึงคุณลักษณะของนักบริหารที่ดีควรมีลักษณะ ดังต่อไปนี้ 1. เฉลียวฉลาด แต่ไม่อวดฉลาด 2. มีความสามารถรอบด้าน (Well rounder) 3. มีพลังผลักดันภายใน (Inner drive) ให้กระตือรือร้นอยู่เสมอ 4. ทาตนให้เป็นที่เชื่อถือ (Integrity) 5. กล้าหาญทั้งกายและใจ (Courage physically andmorally) 6. มีความคิดริเริ่ม (Initiative) 7. รู้จักวิธีส่งเสริมและบารุงขวัญผู้ใต้บังคับบัญชา 8. การเสียสละปราศจากการเห็นแก่ตัว 9. มีความยุติธรรม (Justice) 10. วางตัวดี (Bearing) 11. กระตุ้นให้ผู้น้อยมีความภูมิใจในงานของตน 12. ให้เกียรติในผลงานที่ผู้น้อยได้ปฏิบัติ 13. ปฏิบัติงานอย่างเป็นทีม ให้ทางานแทนกันได้ 14. ใช้ผู้ใต้บังคับบัญชาให้เหมาะสมกับความสามารถ และมีการพัฒนาฝีมือผู้ใต้บังคับบัญชาอยู่เสมอ ( อ้างใน . บุรัญชัย จงกลนี . ม . ป . ป . : 14-15) เมื่อปี ค . ศ . 1951 ได้มีการประมวลปรัชญา ของการบริหาร การศึกษา ไว้ว่า 1. ผู้บริหารต้องใช้ความฉลาด ไหวพริบมาแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่สาคัญในการบริหาร (Application of intelligence to life problems)
  • 6. ทฤษฏีภาวะผู้นาของนักการศึกษา........................วิลาวัลย์ คลังกลาง................................ หน้า 6 2. ผู้บริหารต้องเปิดโอกาสให้บุคคลจานวนมาก หรือบุคคลหลายๆ คนเข้ามามีส่วนร่วม ในการกระทา โดยไม่ทางานตามลาพัง (Necessity of social groupaction) 3. ผู้บริหารต้องเคารพความเป็นคนของแต่ละคน และจะต้องให้ความยอมรับนับถือใน ความเห็น ธรรมชาติ และความสามารถของผู้อื่น (Respect of theindividual) 4. ผู้บริหารต้องยึดเป้าหมาย หรือจุดประสงค์ของการศึกษาเป็นหลัก การบริหารการศึกษา จะไม่มีความหมายถ้าขาดเป้าหมายดังกล่าว นอกจากนี้ผู้บริหารจะต้องถือว่า เป้าหมายหรือจุดประสงค์ของ การศึกษาย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามเหมาะสมกับสภาพ ของสังคม ในฐานะผู้นาผู้บริหาร จะต้องปรับปรุงการศึกษา ให้เหมาะสมกับสภาพ สังคมที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ (Function Social Organization) 5. ผู้บริหารจะต้องถือว่าตนเป็นเพียงผู้ทาหน้าที่ประสานประโยชน์ ซึ่งเข้ามาให้บริการ แก่บุคคลอื่นทุกๆ คน ในการที่จะช่วยให้เขาดาเนินงานต่างๆ ในการให้การศึกษาให้ได้ผลและมีประสิทธิภาพที่สุด (Administrator as groupinstrument) 6. ผู้บริหารจะต้องเปิดโอกาสให้บุคคลทั้งหลายมาทาความเข้าใจกันได้ทุกเมื่อและรับฟังความคิดเห็น ของบุคคล ทุกคนในวงการศึกษาและในชุมชนที่สถานศึกษาตั้งอยู่ (Freedom of Communication) 7. ผู้บริหารจะต้องถือว่าตนเองเป็นผู้นา มิใช่เจ้านายผู้ทรงอานาจ (Administrator as aleader) 8. ผู้บริหารต้องถือว่าตนเองคือ นักการศึกษา ผู้ยึดมั่นในปรัชญาของการศึกษา จึงต้องปฏิบัติและ วางตนอย่างนักการศึกษา (Administrator as aneducator) 9. ผู้บริหารจะต้องเสียสละทุกอย่างเพื่อให้การศึกษาแก่ประชาชน และเพื่อให้สังคมดี ขึ้นทุกๆ ทาง (Dedication of public education to community betterment) 10. ผู้บริหารจะต้องประสานงานประสานน้าใจ ระหว่างชาวบ้านกับสถานศึกษาในการดาเนินงาน การศึกษา (School community integration in education) 11. ผู้บริหารจะต้องประเมินผลงานตนเองอยู่เสมอ การประเมินจะต้องทาทั้งสองอย่าง คือ ประเมินวิธีการ หรือกระบวนการทางานพร้อมๆ กันไปกับการประเมินการปฏิบัติงาน เพราะการทางาน จะมุ่งเอาแต่ผลอย่างเดียวไม่ได้ วิธีการก็จาเป็น (Two fold evaluation of Administration means and ends) 12. ผู้บริหารจะต้องเคารพในวิชาชีพของการบริหาร และมีความรับผิดชอบต่อวิชาชีพ จะไม่ทาความเสื่อมเสีย ให้ผู้คนเหยียดหยามวิชาชีพของนักบริหาร (Professional integrity and responsibility) 13. ผู้บริหารจะต้องขวนขวายหาความรู้ใส่ตนอยู่เสมอ และแสวงหาความชานาญ ทุกวิธีทาง เพื่อให้การบริหารงานของตนเองทันสมัย (Necessity for professional growth) คุณสมบัติทั้ง 13 ประการนี้ เป็นแนวทางแห่งความเชื่อหรือปรัชญาของนักการบริหารที่พึงมี อันเป็นวิถี หรือแนวทางที่ผู้บริหารพึงยึดถือในการบริหารงาน ซึ่งถึงแม้ว่าจะเป็นการยากที่จะปฏิบัติได้ครบถ้วน แต่การที่ได้ทราบไว้ก็จะเป็นประโยชน์ ให้แก่นักบริหาร ที่จะสามารถหยิบยกเอามาประยุกต์ ใช้ให้เหมาะสมกับงาน ของนักบริหาร ซึ่งแตกต่างกันออกไปของแต่ละคนได้
  • 7. ทฤษฏีภาวะผู้นาของนักการศึกษา........................วิลาวัลย์ คลังกลาง................................ หน้า 7 ถวิลอรัญเวศ (2544: 17 – 18) ได้ให้ทรรศนะนักบริหารมืออาชีพว่าควรจะมีลักษณะดังนี้ 1. กล้าตัดสินใจ การตัดสินใจเป็นคุณลักษณะที่สาคัญประการหนึ่งของนักบริหาร นักบริหารมืออาชีพ ต้องมีข้อมูลที่เพียงพอในการตัดสินใจหรือวินัจฉัยสั่งการ เป็นคนที่สุขุมรอบคอบ มีเหตุมีผลในการตัดสินใจ 2. ไวต่อข้อมูล นักบริหารมืออาชีพ จาเป็นต้องเป็นคนที่ทันสมัย ไวต่อข้อมูลหรือการเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ ฉะนั้นจาเป็นต้องเป็นผู้ที่ติดตามข่าวสารต่างๆ อยู่เสมอ 3. เพิ่มพูนวิสัยทัศน์ นักบริหารมืออาชีพจะต้องเป็นผู้มีวิสัยทัศน์อันกว้างไกล สามารถมองเห็นภาพ ในอนาคตและแนวทางที่จะแก้ไขปัญหาได้เป็นอย่างดี 4. ซื่อสัตย์และสร้างสรรค์ผลงาน คือ จะต้องเป็นบุคคลที่มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีการสร้างสรรค์ ผลงาน ให้ปรากฏต่อสายตาเพื่อนร่วมงานอยู่เสมอ 5. ประสานสิบทิศ นักบริหารมืออาชีพจาต้องเป็นบุคคลที่สามารถประสานงานกับ หน่วยงาน หรือบุคคลต่างๆ ได้เป็นอย่างดี สามารถไกล่เกลี่ยข้อกรณีพิพาทได้ และสามารถ ขจัดปัดเป่าปัญหา ต่างๆ ในหน่วยงานได้ 6. คิดสร้างสรรค์วิธีการทางานใหม่ๆ จะต้องคิดหาวิธีการทางานแบบใหม่ๆ อยู่เสมอ 7. จูงใจเพื่อร่วมงาน จาเป็นต้องมีบุคคลที่สามารถโน้มน้าวหรือจูงใจเพื่อนร่วมงาน ให้เกิดความกระตือรือร้น ในการทางาน และมีความรับผิดชอบต่องานสูง ประเมินผล การปฏิบัติงานด้วยความโปร่งใส ยุติธรรม รู้จักให้การชมเชย ให้รางวัลหรือบาเหน็จ ความชอบ 8. ทนทานต่อปัญหาและอุปสรรค จะต้องมีความอดทนอดกลั้นต่อปัญหาอุปสรรคที่กาลังเผชิญ และพร้อมที่จะต่อสู้เพื่อการแก้ไขปัญหาให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยอย่างสันติสุขไม่หนีปัญหาและไม่ห มกหมุ่น ไว้ 9. รู้จักยืดหยุ่นตามเหตุการณ์ นักบริหารมืออาชีพจะต้องรู้จักยืดหยุ่น และอ่อนตัวตามเหตุการณ์นั้นๆ ไม่ตึงเกินไปหรือไม่หย่อนเกินไป บางครั้งก็ต้องดาเนินการในสายกลาง แต่ในบางครั้งต้องมี ความเด็ดขาด 10. บริหารงานแบบมีส่วนร่วม จะต้องบริหารงานแบบให้ทีมงานมีส่วนร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมตัดสินใจ และร่วมรับผิดชอบ อ้างอิง ครูอภิชัย บอกกล่าวการนิเทศการศึกษา :เว็บไซต์ http://gotoknow.org/blog/oodapichai/201638
  • 8. ทฤษฏีภาวะผู้นาของนักการศึกษา........................วิลาวัลย์ คลังกลาง................................ หน้า 8 ถวิล อรัญเวส . “ นักบริหารมืออาชีพในยุคเขตพื้นที่การศึกษา ” วารสารวิชาการ . 4(2) :17-18; กุมภาพันธ์ , 2544 บุรัญชัย จงกลนี . คุณธรรมของนักบริหาร . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สัตยการพิมพ์ . ม. ป . ป .