SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 15
Baixar para ler offline
ตัวแปร (Variable) คือ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนค่าข้อมูล
ในการเขียนโปรแกรม ซึ่งข้อมูลนั้นจะเป็นตัวหนังสือ
หรือตัวเลขก็ได้ โดยที่เบื้องหลังการทางานของตัวแปร
จะเป็ น การจองพื้ น ที่ ข องหน่ ว ยความจ าส าหรั บ เก็ บ
ข้อมูลตามรูปแบบชนิดของข้อมูล
การเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์นั้นจะเก็บลงในหน่วยความจาส่วน
ที่เป็น RAM
โดยข้อมูลที่เก็บอยู่แต่ละค่าจะอ้างถึงโดยการอ้างไปที่
หมายเลขตาแหน่งของหน่วยความจานั้น สาหรับในการเขียนโปรแกรม
จะใช้วิธีการประกาศตัวแปรในการอ้างถึงหน่วยความจาที่ต้องการติดต่อ
โดยชื่อของตัวแปรจะเป็นตัวแทนค่าหมายเลขตาแหน่งหน่วยความจาที่ใช้
เก็ บข้อมูลนั่น เอง เมื่อมี การนาข้อมู ลไปเก็ บในตั ว แปร ข้อมูลนั้น จะถูก
เปลี่ยนเป็นรหัสเลขฐานสองที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ตัวอย่างเช่น ถ้าหาก
ต้ อ งการให้ ตั ว แปรนั้ น เก็ บ เลขจ านวนเต็ ม คอมพิ ว เตอร์ จ ะเปลี่ ย นเลข
จานวนเต็มเป็นเลขฐานสองที่สอดคล้องกัน
ถ้าหากต้องการให้ตัวแปรเก็บตัวอักขระ คอมพิวเตอร์จะเปลี่ยนตัว
อักขระนั้นเป็นรหัส ASCII หรือรหัส Unicode ตามการประมวลผลของ
คอมพิวเตอร์นั้น ดังนั้นถ้าหากต้องการให้โปรแกรมรับข้อมูลจากผู้ใช้มา
เก็บไว้ หรือมีการคานวณและเก็บผลลัพธ์จะต้องสร้างตัวแปรสาหรับเก็บ
ข้อมูลที่เป็นผลลัพธ์นั้น
การประกาศตัวแปร
การประกาศตัวแปรเพื่อใช้งาน คือ การสร้าง
ตัวแปร โดยกาหนดชื่อและชนิดของข้อมูลให้กับตัวแปร
ในบางกรณี จ ะมี ก ารก าหนดค่ า เริ่ ม ต้ น ให้ กั บ ตั ว แปร
ดังกล่าวด้วย ซึ่งภาษา C มีรูปแบบการประกาศตัวแปร
และกาหนดชนิดข้อมูลให้กับตัวแปรดังนี้
type varName [= Value];
โดยที่ type
เป็นชนิดของข้อมูล
varName
เป็นชื่อตัวแปร
Value
เป็นค่าข้อมูลของตัวแปร
กฎการตั้งชื่อ
1.
ชื่อจะต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรหรือเครื่องหมาย
underscore(_)
เท่านั้น จะขึ้นต้นด้วยตัวเลขหรือ
เครื่ อ งหมายอื่ น ไม่ ไ ด้ แต่ ภ ายในชื่ อ สามารถ
ประกอบด้ ว ยตั ว อั ก ษร เครื่ อ งหมาย underscore
หรือตัวเลขก็ได้ เช่น Test_Amount, Love2, g1_A2,
_FirstName เป็นต้น
2. ชื่อจะประกอบด้วยอักขระพิเศษไม่ได้ เช่น $, @, #, &
กฎการตั้งชื่อ
3. ภายในชื่อมีช่องว่างหรือแท็บไม่ได้
4. ชื่อในภาษา C เป็นแบบ Case- Sensitive คือ
ตัวอักษรตัวใหญ่และตัวอักษรตัวเล็กจะถือเป็นคนละ
ตัวกัน เช่น Test, test, tEsT

5. ชื่อที่ตั้งขึ้นต้องไม่ซ้ากับคาสงวน (Reserved Word)
คาสงวน (Reserved Word)
คาสงวน หมายถึง คาที่สงวนไว้สาหรับเรียกใช้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด
ไว้เฉพาะ เช่น คาสั่งที่ใช้ในคาสั่งควบคุม และชนิดของข้อมูล เป็นต้น
auto

break

case

char

const

continue

default

do

double

else

enum

extern

float

for

goto

if

int

long

register return

short

signed sizeof

struct

typedef union

switch

volatile while

unsigned

static

void
ตัวอย่างที่ 1
#include<stdio.h>
#include<conio.h> ประเภทของข้อมูล
int main ()
{
int feet, inches;
feet = 6;
ชื่อตัวแปร
inches = feet * 12;
printf("Height in inches is %d",inches);
getch ();
return 0;
}
ผลลัพธ์
อธิบายการทางานของโปรแกรม

บรรทัดที่ 1 : เรียกใช้งานส่วนของเฮดเดอร์ไฟล์ ซึ่งสังเกตเครื่องหมาย #
โดยมีการเรียกใช้ไลบรารี stdio.h ซึ่งจัดการเกี่ยวกับอินพุตและเอาต์พต
ุ
บรรทัดที่ 5 : เป็นการประกาศตัวแปรขึ้นมาสองตัว โดยใช้ int นาหน้าใน
การประกาศตัวแปร โดยกาหนดให้ตัวแปรชื่อ feet และ inches เป็นตัว
แปรประเภท Integer (เลขจานวนเต็ม)
สเตตเมนต์ต่อมาจะเป็นการกาหนดค่าให้ feet มีค่าเท่ากับ 6
โดยใช้เครื่องหมายเท่ากับในการกาหนดค่า สเตตเมนต์ต่อมาจะนาค่า
feet คูณด้วย 12 และเก็บค่าที่ได้ในตัวแปร inches ส่วนสเตตเมนต์
printf จะใช้สาหรับพิมพ์ค่าเอาต์พตทางจอภาพ
ุ
ในคาสั่ง printf จะเห็นว่ามีการแสดงผลสองส่วน คือส่วนที่เป็น
ข้อความและส่วนที่เป็นตัวแปร โดยใช้เครื่องหมายคอมมา (,) คั่น เมื่อ
โปรแกรมทางานจะนาข้อมูลที่เป็นตัวแปรไปแสดงผลในตาแหน่งที่เขียน
เป็น %d ซึ่งเป็นตัวบอกว่าให้แสดงผลตัวแปรเป็นเลขฐานสิบ
ในส่วนของการประกาศตัวแปรชื่อของตัวแปรจะต้องเป็นไปตาม
กฎการตั้งชื่อ ถ้าหากชื่อตัวแปรมีความยาวมากกว่า 63
ตัวอักษร
โปรแกรมจะรับรู้เพียง 63 ตัวแรกเท่านั้น และในการประกาศตัวแปรถ้า
หากมีตัวแปรมากกว่า 1 ตัวจะใช้เครื่องหมาย , คั่น การกาหนดตัวแปร
จะต้องเริ่มต้นด้วยประเภทของข้อมูล ตามด้วยชื่อตัวแปร
เหนื่อย

ก็
นัก

พักก่อน
ตัวอย่างที่ 2
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13

#include<stdio.h>
#include<conio.h>
main ()
{
int x = 5, y = 7;
float z = 392.65;
char c = ‘A’;
printf(“x + y = %dn",x + y);
printf(“z = %fn",z);
printf(“c = %cn",c);
getch ();
return 0;
}
ผลลัพธ์

จะเห็นว่า บรรทัดที่ 8 ใช้ %d กับตัวแปรประเภทเลขจานวนเต็ม (integer)
บรรทัดที่ 9 ใช้ %f กับตัวแปรประเภทเลขจานวนจริง (floating number)
บรรทัดที่ 10 ใช้ %c กับตัวแปรประเภทอักขระ (character)
ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย
คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีKomkai Pawuttanon
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)Visaitus Palasak
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานRatchanok Nutyimyong
 
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมpongpakorn Suklertpong
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminskiats
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.Mink Kamolwan
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกSupicha Ploy
 
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูลteedee111
 
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกกลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกNaphamas
 

Mais procurados (19)

3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
 
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadmin
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูลตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกกลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
ภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้นภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้น
 
งานคอม 1
งานคอม 1งานคอม 1
งานคอม 1
 

Destaque

Clase 02 ISIL 2009-2 Sitio Web y Usuarios
Clase 02 ISIL 2009-2 Sitio Web y UsuariosClase 02 ISIL 2009-2 Sitio Web y Usuarios
Clase 02 ISIL 2009-2 Sitio Web y UsuariosMaking Contents
 
The impact of informatisation on the management of administrative procedures:...
The impact of informatisation on the management of administrative procedures:...The impact of informatisation on the management of administrative procedures:...
The impact of informatisation on the management of administrative procedures:...Institute of Information Systems (HES-SO)
 
Temas controvertidos en la aplicación del régimen de precios de transferencia
Temas controvertidos en la aplicación del régimen de precios de transferencia Temas controvertidos en la aplicación del régimen de precios de transferencia
Temas controvertidos en la aplicación del régimen de precios de transferencia EUROsociAL II
 
Apresentação - Motivação
Apresentação - MotivaçãoApresentação - Motivação
Apresentação - MotivaçãoPMDBSC
 

Destaque (7)

Clase 02 ISIL 2009-2 Sitio Web y Usuarios
Clase 02 ISIL 2009-2 Sitio Web y UsuariosClase 02 ISIL 2009-2 Sitio Web y Usuarios
Clase 02 ISIL 2009-2 Sitio Web y Usuarios
 
The impact of informatisation on the management of administrative procedures:...
The impact of informatisation on the management of administrative procedures:...The impact of informatisation on the management of administrative procedures:...
The impact of informatisation on the management of administrative procedures:...
 
6. bryan jumbo
6. bryan jumbo6. bryan jumbo
6. bryan jumbo
 
Temas controvertidos en la aplicación del régimen de precios de transferencia
Temas controvertidos en la aplicación del régimen de precios de transferencia Temas controvertidos en la aplicación del régimen de precios de transferencia
Temas controvertidos en la aplicación del régimen de precios de transferencia
 
Inversión en el sector Cárnico
Inversión en el sector CárnicoInversión en el sector Cárnico
Inversión en el sector Cárnico
 
Van Gogh Visit
Van Gogh VisitVan Gogh Visit
Van Gogh Visit
 
Apresentação - Motivação
Apresentação - MotivaçãoApresentação - Motivação
Apresentação - Motivação
 

Semelhante a 3.2 ตัวแปรและคำสงวน

โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีณัฐพล บัวพันธ์
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานJa Phenpitcha
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานBoOm mm
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1Little Tukta Lita
 
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1patchu0625
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซีmansuang1978
 
7 pointer day10
7  pointer day107  pointer day10
7 pointer day10xuou888
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Thank Chiro
 
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2Tay Atcharawan
 

Semelhante a 3.2 ตัวแปรและคำสงวน (20)

งานทำ Blog บทที่ 9 (2)
งานทำ Blog บทที่ 9 (2)งานทำ Blog บทที่ 9 (2)
งานทำ Blog บทที่ 9 (2)
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
 
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
งานทำ Blog บทที่ 9
งานทำ Blog บทที่ 9งานทำ Blog บทที่ 9
งานทำ Blog บทที่ 9
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
7 pointer day10
7  pointer day107  pointer day10
7 pointer day10
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
12
1212
12
 
lesson5 JSP
lesson5 JSPlesson5 JSP
lesson5 JSP
 
C slide
C slideC slide
C slide
 
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
 
โครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา Cโครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา C
 
งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
Chapter 02 Flowchart
Chapter 02 FlowchartChapter 02 Flowchart
Chapter 02 Flowchart
 
Work
WorkWork
Work
 

Mais de รัสนา สิงหปรีชา

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบรัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกรัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์รัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์รัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้รัสนา สิงหปรีชา
 

Mais de รัสนา สิงหปรีชา (20)

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
 
3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 

3.2 ตัวแปรและคำสงวน