SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 15
ปฏิกิริยา ไฟฟ้าเคมี
ปฏิกิริยารีดอกซ์ เซลล์ไฟฟ้าเคมี เซลล์ปฐมภูมิและเซลล์ทุติยภูติ
ปฏิกิริยารีดอกซ์  ( Redox reaction )   นี้คือปฏิกิริยาออกซิเดชัน–รีดักชัน ซึ่งหมายถึงปฏิกิริยาที่มีการให้และรับอิเล็กตรอน  ซึ่งประกอบด้วย  2  ครึ่งปฏิกิริยา ดังนี้
1 .  ปฏิกิริยาออกซิเดชัน  ( Oxidation reaction )  เป็นปฏิกิริยาที่มีการให้อิเล็กตรอน ซึ่งสารที่ให้อิเล็กตรอนจะมีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น เรียกว่า เกิดออกซิเดชัน Zn ( s )  Zn 2+( s )  +  2e – Zn  เป็นสารที่ให้อิเล็กตรอน เกิดเป็น  Zn 2+  สารที่ให้อิเล็กตรอนเรียกว่า  ตัวรีดิวซ์
2)  ปฏิกิริยารีดักชัน  ( Reduction reaction )  เป็นปฏิกิริยาที่มีการรับอิเล็กตรอน ซึ่งสารที่รับอิเล็กตรอนจะมีเลขออกซิเดชันลดลง เรียกว่า เกิดรีดักชัน Cu 2+( s )  +  2e –  Cu ( s ) Cu 2+  เป็นสารที่รับอิเล็กตรอน เกิดเป็น  Cu   สารที่รับอิเล็กตรอนเรียกว่า  ตัวออกซิไดส์
ปฏิกิริยาในออกซิเดชันและรีดักชันเกิดขึ้นพร้อมกันเสมอ  Zn  ให้อิเล็กตรอนจึงเป็น ตัวรีดิวซ์  และ  Cu 2+  รับอิเล็กตรอนจึงเป็น ตัวออกซิไดส์  หรือกล่าวได้ว่า  Cu 2+  ถูกรีดิวซ์  และ  Zn   ถูกออกซิไดส์
ตัวออกซิไดส์และตัวรีดิวซ์ ตัวออกซิไดส์  หมายถึง ... สารที่รับอิเล็กตรอน ซึ่งเป็นสารที่ทำให้อะตอมอื่นมีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น ตัวรีดิวซ์  หมายถึง  ... สารที่ให้อิเล็กตรอน ซึ่งเป็นสารที่ทำให้อะตอมอื่นมีเลขออกซิเดชันลดลง
การพิจารณาว่าเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์หรือไม่ 1 . ในปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นมีเลขออกซิเดชันเปลี่ยนไปหรือ ถ้าเลขออกซิเดชันเปลี่ยนแปลงโดยสารหนึ่ง มีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น และอีกสารหนึ่งมีเลขออกซิเดชันลดลง แสดงว่าเป็นปฏิกิริยารัดอกซ์ 2.  ถ้าในปฏิกิริยามรธาตุอิสระอยู่ด้วย ปฏิกิริยานั้นจะเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์  เพราะธาตุอิสระมีเลขออกซิเดชันเท่ากับศูนย์ จะถูกเปลี่ยนให้มีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้นหรือลดลง
เซลล์ไฟฟ้าเคมี    แบ่งออกเป็น  2  ประเภทคือ  1.  เซลล์กัลวานิก  ( galvanic cell)  หรือเซลล์โวลตาอิก  ( voltaic cell) 2.  เซลล์อิเล็กโทรไลต์  ( electrolytic cell
เป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมีที่เกิดปฏิกิริยาเคมีแล้วให้กระแสไฟฟ้า ตัวอย่างเช่น เซลล์ไฟฟ้าเคมี ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่รถยนต์ และเซลล์เชื้อเพลิงที่มนุษย์อวกาศใช้ในการเดินทางไปสำรวจดวงจันทร์ ( เกิดปฏิกิริยาเคมี ได้กระแส )   เซลล์กัลวานิก
การสร้างเซลล์กัลวานิก   นำโลหะต่างชนิดกันจุ่มในภาชนะทีบรรจุสารละลายที่มีอิออนของโลหะนั้น เช่น โลหะ  A  จุ่มใน  A2+  และโลหะ  B  จุ่มใน  B2+  เป็นต้น และภาชนะ  2  ใบนี้มีสะพานอิออนเชื่อมถึงกัน แล้วต่อลวดตัวนำจากขั้วทั้งสองเข้ากับโวลต์มิเตอร์   ซึ่งมีเข็มแสดงทิศทางการไหลของอิเล็กตรอน พบว่าเข็มกระดิกแสดงว่าอิเล็กตรอนไหล
.  แผนภาพเซลล์กัลวานิก เขียนได้ดังนี้   3.1  เขียนครึ่งเซลล์แอโนดไว้ทางซ้าย ครึ่งเซลล์แคโทดไว้ทางขวา คั่นกลางด้วยสะพานอิออน ซึ่งใช้เครื่องหมาย  ||  หรือ  //   3.2  สำหรับครึ่งเซลล์แอโนดและแคโทดเขียนอิเล็กโทรดไว้ซ้ายสุดและขวาสุด ภายในครึ่งเซลล์ถ้าต่างวัฏภาคกันใช้เครื่องหมาย   /  คั่น   3.3  สารละลายที่ทราบความเข้มข้นให้เขียนระบุไว้ในวงเล็บ   3.4  ถ้าครึ่งเซลล์ที่เป็นก๊าซให้ระบุความดันลงในวงเล็บด้วย   ตัวอย่าง การเขียนแผนภาพเซลล์ไฟฟ้าเคมี   1. A | A2+(aq) || B2+(aq) | B  หรือ  A | A2+ || B2+ | B  2. Zn | Zn2+(0.1 M) || Cu2+(0.1 M) | Cu  3. Pt | H2(1 atm) | H+(1 M) || Cu2+ | Cu(s)
เซลล์อิเล็กโทรไลท์ เซลล์อิ เล็กโทร ไลต์ อิเล็กโทรลิซิส   (Electrolysis)   คือกระบวนการผ่านกระแสไฟฟ้า  ( D.C.)  จากภายนอกเข้าไปในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ แล้วทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่างเช่น อิเล็กโตรลิซึม และการชุบ   ( ขบวนการที่ผ่านกระแสไฟฟ้า ทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมี )   เครื่องมือที่ใช้แยกสารละลายด้วยไฟฟ้าเรียกว่า  เซลล์อิเล็กโทรไลต์ หรืออิเล็กโทรลิติกเซลล์   ประกอบด้วย ขั้วไฟฟ้า ภาชนะบรรจุสารละลายอิเล็กโทรไลต์ และเครื่องกำเนิดกระแสตรง  ( D.C)  เช่น เซลล์ไฟฟ้า หรือ แบตเตอรี่
  1.  เซลล์ปฐมภูมิ ( primary cell)     เมื่อปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์เกิดขึ้นและดำเนินไปแล้ว ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์และเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับไม่ได้หรือนำมาอัดไฟใหม่ไม่ได้            2.  เซลล์ทุติยภูมิ  (secondary cell)    เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับได้หรือนำมาอัดไฟใหม่ได้
แหล่งที่มา http://www.il.mahidol.ac.th www . thaigoodview . com

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีWirun
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
ElectrochemNapajit
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกsailom
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีPhasitta Chem
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-textnantita
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01jirat266
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีPhakawat Owat
 

Mais procurados (19)

ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
Chem electrochemistry
Chem electrochemistryChem electrochemistry
Chem electrochemistry
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
Electrochem
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
chemical bonding
chemical bondingchemical bonding
chemical bonding
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
Bond
BondBond
Bond
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
Chap 5 chemical bonding
Chap 5 chemical bondingChap 5 chemical bonding
Chap 5 chemical bonding
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
Chemical
ChemicalChemical
Chemical
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 

Semelhante a ไฟฟ้าเคมี

กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)ssuserb3caf5
 
ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10Nann 'mlemell
 
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 210.1 dynamo 2
10.1 dynamo 23cha_sp
 
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)findgooodjob
 
พันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bondsพันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bondsBELL N JOYE
 
เซลล์ไฟฟ้าเคมี
เซลล์ไฟฟ้าเคมีเซลล์ไฟฟ้าเคมี
เซลล์ไฟฟ้าเคมี0815533266
 
เซลล์ไฟฟ้าเคมี
เซลล์ไฟฟ้าเคมีเซลล์ไฟฟ้าเคมี
เซลล์ไฟฟ้าเคมี0815533266
 
O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53Ja 'Natruja
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)Ajchariya Sitthikaew
 
covelent_bond
covelent_bondcovelent_bond
covelent_bondShe's Bee
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidNaynui Cybernet
 
01. วิชา ไฟฟ้ากำลัง เล่ม 1 (วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น) บทที่ 2
01. วิชา ไฟฟ้ากำลัง เล่ม 1 (วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น)  บทที่ 201. วิชา ไฟฟ้ากำลัง เล่ม 1 (วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น)  บทที่ 2
01. วิชา ไฟฟ้ากำลัง เล่ม 1 (วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น) บทที่ 2nsumato
 

Semelhante a ไฟฟ้าเคมี (20)

Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
ไฟฟ้าเคมี1
ไฟฟ้าเคมี1ไฟฟ้าเคมี1
ไฟฟ้าเคมี1
 
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
กระบวนการอิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis Chemistry)
 
ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10
 
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 210.1 dynamo 2
10.1 dynamo 2
 
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
 
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
 
พันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bondsพันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bonds
 
เซลล์ไฟฟ้าเคมี
เซลล์ไฟฟ้าเคมีเซลล์ไฟฟ้าเคมี
เซลล์ไฟฟ้าเคมี
 
เซลล์ไฟฟ้าเคมี
เซลล์ไฟฟ้าเคมีเซลล์ไฟฟ้าเคมี
เซลล์ไฟฟ้าเคมี
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
Electro chem
Electro chemElectro chem
Electro chem
 
O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53O net เคมี ปี 53
O net เคมี ปี 53
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
covelent_bond
covelent_bondcovelent_bond
covelent_bond
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
 
01. วิชา ไฟฟ้ากำลัง เล่ม 1 (วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น) บทที่ 2
01. วิชา ไฟฟ้ากำลัง เล่ม 1 (วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น)  บทที่ 201. วิชา ไฟฟ้ากำลัง เล่ม 1 (วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น)  บทที่ 2
01. วิชา ไฟฟ้ากำลัง เล่ม 1 (วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น) บทที่ 2
 

ไฟฟ้าเคมี

  • 3. ปฏิกิริยารีดอกซ์ ( Redox reaction ) นี้คือปฏิกิริยาออกซิเดชัน–รีดักชัน ซึ่งหมายถึงปฏิกิริยาที่มีการให้และรับอิเล็กตรอน ซึ่งประกอบด้วย 2 ครึ่งปฏิกิริยา ดังนี้
  • 4. 1 . ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ( Oxidation reaction ) เป็นปฏิกิริยาที่มีการให้อิเล็กตรอน ซึ่งสารที่ให้อิเล็กตรอนจะมีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น เรียกว่า เกิดออกซิเดชัน Zn ( s )  Zn 2+( s ) + 2e – Zn เป็นสารที่ให้อิเล็กตรอน เกิดเป็น Zn 2+ สารที่ให้อิเล็กตรอนเรียกว่า ตัวรีดิวซ์
  • 5. 2) ปฏิกิริยารีดักชัน ( Reduction reaction ) เป็นปฏิกิริยาที่มีการรับอิเล็กตรอน ซึ่งสารที่รับอิเล็กตรอนจะมีเลขออกซิเดชันลดลง เรียกว่า เกิดรีดักชัน Cu 2+( s ) + 2e –  Cu ( s ) Cu 2+ เป็นสารที่รับอิเล็กตรอน เกิดเป็น Cu สารที่รับอิเล็กตรอนเรียกว่า ตัวออกซิไดส์
  • 6. ปฏิกิริยาในออกซิเดชันและรีดักชันเกิดขึ้นพร้อมกันเสมอ Zn ให้อิเล็กตรอนจึงเป็น ตัวรีดิวซ์ และ Cu 2+ รับอิเล็กตรอนจึงเป็น ตัวออกซิไดส์ หรือกล่าวได้ว่า Cu 2+ ถูกรีดิวซ์ และ Zn ถูกออกซิไดส์
  • 7. ตัวออกซิไดส์และตัวรีดิวซ์ ตัวออกซิไดส์ หมายถึง ... สารที่รับอิเล็กตรอน ซึ่งเป็นสารที่ทำให้อะตอมอื่นมีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น ตัวรีดิวซ์ หมายถึง ... สารที่ให้อิเล็กตรอน ซึ่งเป็นสารที่ทำให้อะตอมอื่นมีเลขออกซิเดชันลดลง
  • 8. การพิจารณาว่าเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์หรือไม่ 1 . ในปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นมีเลขออกซิเดชันเปลี่ยนไปหรือ ถ้าเลขออกซิเดชันเปลี่ยนแปลงโดยสารหนึ่ง มีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น และอีกสารหนึ่งมีเลขออกซิเดชันลดลง แสดงว่าเป็นปฏิกิริยารัดอกซ์ 2. ถ้าในปฏิกิริยามรธาตุอิสระอยู่ด้วย ปฏิกิริยานั้นจะเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ เพราะธาตุอิสระมีเลขออกซิเดชันเท่ากับศูนย์ จะถูกเปลี่ยนให้มีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้นหรือลดลง
  • 9. เซลล์ไฟฟ้าเคมี   แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. เซลล์กัลวานิก ( galvanic cell) หรือเซลล์โวลตาอิก ( voltaic cell) 2. เซลล์อิเล็กโทรไลต์ ( electrolytic cell
  • 10. เป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมีที่เกิดปฏิกิริยาเคมีแล้วให้กระแสไฟฟ้า ตัวอย่างเช่น เซลล์ไฟฟ้าเคมี ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่รถยนต์ และเซลล์เชื้อเพลิงที่มนุษย์อวกาศใช้ในการเดินทางไปสำรวจดวงจันทร์ ( เกิดปฏิกิริยาเคมี ได้กระแส ) เซลล์กัลวานิก
  • 11. การสร้างเซลล์กัลวานิก นำโลหะต่างชนิดกันจุ่มในภาชนะทีบรรจุสารละลายที่มีอิออนของโลหะนั้น เช่น โลหะ A จุ่มใน A2+ และโลหะ B จุ่มใน B2+ เป็นต้น และภาชนะ 2 ใบนี้มีสะพานอิออนเชื่อมถึงกัน แล้วต่อลวดตัวนำจากขั้วทั้งสองเข้ากับโวลต์มิเตอร์ ซึ่งมีเข็มแสดงทิศทางการไหลของอิเล็กตรอน พบว่าเข็มกระดิกแสดงว่าอิเล็กตรอนไหล
  • 12. . แผนภาพเซลล์กัลวานิก เขียนได้ดังนี้ 3.1 เขียนครึ่งเซลล์แอโนดไว้ทางซ้าย ครึ่งเซลล์แคโทดไว้ทางขวา คั่นกลางด้วยสะพานอิออน ซึ่งใช้เครื่องหมาย || หรือ // 3.2 สำหรับครึ่งเซลล์แอโนดและแคโทดเขียนอิเล็กโทรดไว้ซ้ายสุดและขวาสุด ภายในครึ่งเซลล์ถ้าต่างวัฏภาคกันใช้เครื่องหมาย / คั่น 3.3 สารละลายที่ทราบความเข้มข้นให้เขียนระบุไว้ในวงเล็บ 3.4 ถ้าครึ่งเซลล์ที่เป็นก๊าซให้ระบุความดันลงในวงเล็บด้วย ตัวอย่าง การเขียนแผนภาพเซลล์ไฟฟ้าเคมี 1. A | A2+(aq) || B2+(aq) | B หรือ A | A2+ || B2+ | B 2. Zn | Zn2+(0.1 M) || Cu2+(0.1 M) | Cu 3. Pt | H2(1 atm) | H+(1 M) || Cu2+ | Cu(s)
  • 13. เซลล์อิเล็กโทรไลท์ เซลล์อิ เล็กโทร ไลต์ อิเล็กโทรลิซิส (Electrolysis) คือกระบวนการผ่านกระแสไฟฟ้า ( D.C.) จากภายนอกเข้าไปในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ แล้วทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่างเช่น อิเล็กโตรลิซึม และการชุบ ( ขบวนการที่ผ่านกระแสไฟฟ้า ทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมี ) เครื่องมือที่ใช้แยกสารละลายด้วยไฟฟ้าเรียกว่า เซลล์อิเล็กโทรไลต์ หรืออิเล็กโทรลิติกเซลล์ ประกอบด้วย ขั้วไฟฟ้า ภาชนะบรรจุสารละลายอิเล็กโทรไลต์ และเครื่องกำเนิดกระแสตรง ( D.C) เช่น เซลล์ไฟฟ้า หรือ แบตเตอรี่
  • 14.   1. เซลล์ปฐมภูมิ ( primary cell)   เมื่อปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์เกิดขึ้นและดำเนินไปแล้ว ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์และเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับไม่ได้หรือนำมาอัดไฟใหม่ไม่ได้            2. เซลล์ทุติยภูมิ (secondary cell)   เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับได้หรือนำมาอัดไฟใหม่ได้