SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 11
กล้องจุลทรรศน์ เป็นอุปกรณ์สำหรับมองดูวัตถุที่มีขนำดเล็กเกินกว่ำมองเห็นด้วยตำเปล่ำ
ศำสตร์ที่มุ่งสำรวจวัตถุขนำดเล็กโดยใช้เครื่องมือดังกล่ำวนี้ เรียกว่ำ จุลทรรศน์ศำสตร์
ประวัติ
สิ่งมีชีวิตขนำดเล็กที่ไม่สำมำรถมองเห็นด้วยตำเปล่ำ
เดิมใช้เพียงแว่นขยำยและเลนส์อันเดียวส่องดู คงเช่นเดียวกับกำรใช้แว่นขยำยส่องดูลำยมือ
ในระยะต่อมำ กำลิเลอิ กำลิเลโอ ได้สร้ำงแว่นขยำยส่องดูสิ่งมีชีวิตเล็กๆในรำวปี พ.ศ. 2153
ในช่วงปี พ.ศ. 2133 ช่ำงทำแว่นตำชำวฮอลันดำชื่อ
แจนเสนประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนส์ประกอบ ประกอบด้วยแว่นขยำยสองอัน
ในปี พ.ศ. 2208 โรเบิร์ต ดำว์ฮุก
ได้ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนส์ประกอบที่มีลำกล้องรูปร่ำงสวยงำม
ป้องกันกำรรบกวนจำกแสงภำยนอกได้และไม่ต้องถือเลนส์ให้ซ้อนกัน
(ดูภำพในกล่องข้อควำมประกอบ) เขำส่องดูไม้คอร์กที่ฝำนบำงๆ แล้วพบช่องเล็กๆมำกมำย
เขำเรียกช่องเหล่ำนั้นว่ำเซลล์ซึ่งหมำยถึงห้องว่ำงๆ หรือห้องขัง
เซลล์ที่ดำว์ฮุกเห็นเป็นเซลล์ที่ตำยแล้ว
เหลือแต่ผนังเซลล์ของพืชซึ่งแข็งแรงกว่ำเยื่อหุ้มเซลล์ในสัตว์จึงทำให้คงรูปร่ำงอยู่ได้
ฮุกจึงได้ชื่อว่ำเป็นผู้ที่ตั้งชื่อเซลล์
ในปี พ.ศ. 2215 แอนโทนี แวน เลเวนฮุค ชำวฮอลันดำ
สร้ำงกล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนส์เดียวจำกแว่นขยำยที่เขำฝนเอง แว่นขยำยบำงอันขยำยได้ถึง
270 เท่ำ เขำใช้กล้องจุลทรรศน์ตรวจดูหยดน้ำจำกบึงและแม่น้ำ
และจำกน้ำฝนที่รองไว้ในหม้อ
เห็นสิ่งมีชีวิตเล็กๆมำกมำยนอกจำกนั้นเขำยังส่องดูสิ่งมีชีวิตต่ำงๆ เช่น เม็ดเลือดม่วง,
เซลล์สืบพันธุ์ของ...., กล้ำมเนื้อ เป็นต้น เมื่อเขำพบสิ่งเหล่ำนี้
เขำรำยงำนไปยังรำชสมำคมแห่งกรุงลอนดอน
จึงได้รับกำรยกย่องว่ำเป็นผู้ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์
ปี พ.ศ. 2367 ดูโธรเชต์นักพฤกษศำสตร์ชำวฝรั่งเศสศึกษำเนื้อเยื่อพืช
และสัตว์พบว่ำประกอบด้วยเซลล์
ปี พ.ศ. 2376 โรเบิร์ต บรำวน์ นักพฤกษศำสตร์ชำวอังกฤษ
เป็นค้นแรกที่พบว่ำเซลล์และพืชมีนิวเคลียสเป็นก้อนกลมๆ อยู่ภำยในเซลล์
ปี พ.ศ. 2378 นุก นะดือจำร์แดง นักสัตวศำสตร์ชำวฝรั่งเศส
ศึกษำจุลินทรีย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ พบว่ำภำยในประกอบด้วยของเหลวใสๆ จึงเรียกว่ำ ซำร์โคด
ซึ่งเป็นภำษำฝรั่งเศสมำจำกศัพท์กรีกว่ำ ซำรค์(Sarx) ซึ่งแปลว่ำเนื้อ
ปี พ.ศ. 2381 ชไลเดน นักพฤกษศำสตร์ชำวเยอรมัน ศึกษำเนื้อเยื่อพืชชนิดต่ำงๆ
พบว่ำพืชทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์
ปี พ.ศ. 2382 ชไลเดรและชวำน จึงร่วมกันตั้งทฤษฎีเซลล์ซึ่งมีใจควำมสรุปได้ว่ำ
"สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบไปด้วยเซลล์และผลิตภัณฑ์จำกเซลล์"
พ.ศ. 2382 พัวกินเย นักสัตวิทยำชำวเชคโกสโลวำเกีย
ศึกษำไข่และตัวอ่อนของสัตว์ชนิดต่ำงๆ พบว่ำภำยในมีของเหลวใส เหนียว อ่อนนุ่มเป็นวุ้น
เรียกว่ำโปรโตพลำสซึม
ต่อจำกนั้นมีนักวิทยำศำสตร์อีกมำกมำยทำกำรศึกษำเกี่ยวกับเซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์ชนิ
ดเลนส์ประกอบ และได้พัฒนำให้ดียิ่งขึ้น จนกระทั่งปี พ.ศ. 2475
นักวิทยำศำสตร์ชำวเยอรมัน คืออี.รุสกำ และแมกซ์นอลล์
ได้เปลี่ยนแปลงกระบวนกำรของกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้แสงและเลนส์มำใช้ลำอิเล็กตรอน
ทำให้เกิดกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนขึ้นในระยะต่อๆมำ ปัจจุบันมีกำลังขยำยกว่ำ 5 แสนเท่ำ
ชนิดของกล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์สำมำรถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆได้2 ประเภท คือ
กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (Optical microscopes)
และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน(Electron microscopes)
กล้องจุลทรรศน์ชนิดที่พบได้มำกที่สุด คือชนิดที่ประดิษฐ์ขึ้นเป็นครั้งแรก เรียกว่ำ
กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (optical microscope)
เป็นอุปกรณ์ใช้แสงอย่ำงหนึ่ง มีเลนส์อย่ำงน้อย 1 ชิ้น
เพื่อทำกำรขยำยภำพวัตถุที่วำงในระนำบโฟกัสของเลนส์นั้นๆ
husban awaeกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง ===
1.Light microscope เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่พบอยู่ทั่วไป
โดยเวลำส่องดูจะเห็นพื้นหลังเป็นสีขำว และจะเห็นเชื้อจุลินทรีย์มีสีเข้มกว่ำ
2.Stereo microscope เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่ส่องดูสิ่งมีชีวิตที่ไม่เล็กมำก
ส่องดูเป็น3มิติ ส่วนใหญ่จะใช้ในกำรศึกษำแมลง
3.Dark field microscoe เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่มีพื้นหลังเป็นสีดำ
เห็นเชื้อจุลินทรีย์สว่ำง เหมำะสำหรับใช้ส่องจุลินทรีย์ที่มีขนำดเล็ก ที่ติดสียำก
4.Phase contrast microscope
ใช้สำหรับส่องเชื้อจุลินทรีย์ที่ยังไม่ได้ทำกำรย้อมสี จะเห็นชัดเจนกว่ำ Light
microscope
5.Fluorescence microscope ใช้แหล่งกำเนิดแสงเป็น อัลตรำไวโอเลต
ส่องดูจุลินทรีย์ที่ย้อมด้วยสำรเรืองแสง ซึ่งเมื่อกระทบกับแสง UV
จะเปลี่ยนเป็นแสงช่วงที่มองเห็นได้แล้วแต่ชนิดของสำรที่ใช้พื้นหลังมักมีสีดำ
husban awaeข้อความตัวเอนกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
ดูบทความเพิ่มเติมที่ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron microscope)
เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่มีกำลังกำรขยำยสูงมำก
เพรำะใช้ลำแสงอิเล็กตรอนแทนแสงปกติและใช้สนำมแม่เหล็กไฟฟ้ำแทนเลนส์แก้ว
เป็นกล้องที่ใช้ในกำรศึกษำโครงสร้ำง และส่วนประกอบของเซลล์ได้อย่ำงละเอียด
ที่กล้องชนิดอื่นไม่สำมำรถทำได้มีกำลังขยำย 1,600เท่ำ
ฮุสบัน อาแว ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
1.ฐาน (Base) เป็นส่วนที่ใช้วำงบนโต๊ะ
ทำหน้ำที่รับน้ำหนักทั้งหมดของกล้องจุลทรรศน์ มีรูปร่ำงสี่เหลี่ยม หรือวงกลม
ที่ฐำนจะมีปุ่มสำหรับปิดเปิดไฟฟ้ำ
2.แขน (Arm) เป็นส่วนเชื่อมตัวลำกล้องกับฐำน
ใช้เป็นที่จับเวลำเคลื่อนย้ำยกล้องจุลทรรศน์
3.ลากล้อง (Body tube) เป็นส่วนที่ปลำยด้ำนบนมีเลนส์ตำ
ส่วนปลำยด้ำนล่ำงติดกับเลนส์วัตถุ ซึ่งติดกับแผ่นหมุนได้เพื่อเปลี่ยนเลนส์ขนำดต่ำง ๆ
ติดอยู่กับจำนหมุนที่เรียกว่ำ Revolving Nosepiece
4.ปุ่ มปรับภาพหยาบ (Coarse
adjustment) ทำหน้ำที่ปรับภำพโดยเปลี่ยนระยะโฟกัสของเลนส์ใกล้วัตถุ
(เลื่อนลำกล้องหรือแท่นวำงวัตถุขึ้นลง) เพื่อทำให้เห็นภำพชัดเจน
5.ปุ่ มปรับภาพละเอียด (Fine adjustment) ทำหน้ำที่ปรับภำพ
ทำให้ได้ภำพที่ชัดเจนมำกขึ้น
6.เลนส์ใกล้วัตถุ (Objective lens) เป็นเลนส์ที่อยู่ใกล้กับแผ่นสไลด์ หรือวัตถุ
ปกติติดกับแป้นวงกลมซึ่งมีประมำณ 3-4 อัน แต่ละอันมีกำลังบอกเอำไว้เช่น
x3.2, x4, x10, x40 และ x100 เป็นต้น
ภำพที่เกิดจำกเลนส์ใกล้วัตถุเป็นภำพจริงหัวกลับ
7.เลนส์ใกล้ตา (Eye piece) เป็นเลนส์ที่อยู่บนสุดของลำกล้อง
โดยทั่วไปมีกำลังขยำย 10x หรือ 15x
ทำหน้ำที่ขยำยภำพที่ได้จำกเลนส์ใกล้วัตถุให้มีขนำดใหญ่ขึ้น
ทำให้เกิดภำพที่ตำผู้ศึกษำสำมำรถมองเห็นได้โดยภำพที่ได้เป็นภำพเสมือนหัวกลับ
8.เลนส์รวมแสง
(Condenser) ทำหน้ำที่รวมแสงให้เข้มขึ้นเพื่อส่งไปยังวัตถุที่ต้องกำรศึกษำ
9.กระจกเงา
(Mirror) ทำหน้ำที่สะท้อนแสงจำกธรรมชำติหรือแสงจำกหลอดไฟภำยในห้องให้ส่
องผ่ำนวัตถุโดยทั่วไปกระจกเงำมี 2 ด้ำน ด้ำนหนึ่งเป็นกระจกเงำเว้ำ
อีกด้ำนเป็นกระจกเงำระนำบ สำหรับกล้องรุ่นใหม่จะใช้หลอดไฟเป็นแหล่งกำเนิดแสง
ซึ่งสะดวกและชัดเจนกว่ำ
10. ไดอะแฟรม
(Diaphragm) อยู่ใต้เลนส์รวมแสงทำหน้ำที่ปรับปริมำณแสงให้เข้ำสู่เลนส์ในปริมำ
ณที่ต้องกำร
11. แท่นวางวัตถุ (Speciment
Stage) เป็นแท่นใช้วำงแผ่นสไลด์ที่ต้องกำรศึกษำ
12. ที่หนีบสไลด์ (Stage Clip) ใช้หนีบสไลด์ให้ติดอยู่กับแท่นวำงวัตถุ
ในกล้องรุ่นใหม่จะมี Mechanical stage
แทนเพื่อควบคุมกำรเลื่อนสไลด์ให้สะดวกยิ่งขึ้น
13. จานหมุน (Revolving
nosepiece) ใช้หมุนเมื่อต้องกำรเปลี่ยนกำลังขยำยของเลนส์ใกล้วัตถุ
Microscope Gallery

Laboratory microscope

Binocular laboratory microscope

Microscope binoviewers

Stereo-microscope

Microscope objectives

Microscope objectives


Microscope eyepieces

Microscope measuring eyepiece

Stereo-microscope eyepiece

Microscope eyepiece

Microscope eyepiece


Mechanical part of microscope












Mais conteúdo relacionado

Destaque

Latihan kendiri bab 6
Latihan kendiri bab 6 Latihan kendiri bab 6
Latihan kendiri bab 6 warisasyikin
 
τετρακτύς
τετρακτύςτετρακτύς
τετρακτύςgilo458
 
No. 12 ttg pembatalan 4 perda
No. 12 ttg pembatalan 4 perdaNo. 12 ttg pembatalan 4 perda
No. 12 ttg pembatalan 4 perdappbkab
 
Perbup no.-9-thn-2011-petunjuk-teknis-penerbitan-kib
Perbup no.-9-thn-2011-petunjuk-teknis-penerbitan-kibPerbup no.-9-thn-2011-petunjuk-teknis-penerbitan-kib
Perbup no.-9-thn-2011-petunjuk-teknis-penerbitan-kibppbkab
 
במבי מערכות - אל תגידו שלא ידעתם
במבי מערכות - אל תגידו שלא ידעתםבמבי מערכות - אל תגידו שלא ידעתם
במבי מערכות - אל תגידו שלא ידעתםBMBY Software Systems Ltd
 
AdobeEdge系アプリ触ってみた
AdobeEdge系アプリ触ってみたAdobeEdge系アプリ触ってみた
AdobeEdge系アプリ触ってみたTakayuki Yagi
 
Pengenalan teknologi informasi 3 - Netiket
Pengenalan teknologi informasi   3 - NetiketPengenalan teknologi informasi   3 - Netiket
Pengenalan teknologi informasi 3 - NetiketKuliahKita
 
Matematika Diskrit - 05 rekursi dan relasi rekurens - 02
Matematika Diskrit - 05 rekursi dan relasi rekurens  - 02Matematika Diskrit - 05 rekursi dan relasi rekurens  - 02
Matematika Diskrit - 05 rekursi dan relasi rekurens - 02KuliahKita
 
WhatToDo - Kafka
WhatToDo - KafkaWhatToDo - Kafka
WhatToDo - KafkaNai Avers
 
0 bf3b425 abac-446e-90d456d8a4420452
0 bf3b425 abac-446e-90d456d8a44204520 bf3b425 abac-446e-90d456d8a4420452
0 bf3b425 abac-446e-90d456d8a4420452Carlos Carvalho
 
Camtasia getting started guide
Camtasia getting started guideCamtasia getting started guide
Camtasia getting started guidejaimedavalos3012
 

Destaque (17)

Latihan kendiri bab 6
Latihan kendiri bab 6 Latihan kendiri bab 6
Latihan kendiri bab 6
 
τετρακτύς
τετρακτύςτετρακτύς
τετρακτύς
 
No. 12 ttg pembatalan 4 perda
No. 12 ttg pembatalan 4 perdaNo. 12 ttg pembatalan 4 perda
No. 12 ttg pembatalan 4 perda
 
Perbup no.-9-thn-2011-petunjuk-teknis-penerbitan-kib
Perbup no.-9-thn-2011-petunjuk-teknis-penerbitan-kibPerbup no.-9-thn-2011-petunjuk-teknis-penerbitan-kib
Perbup no.-9-thn-2011-petunjuk-teknis-penerbitan-kib
 
Gafe intro
Gafe introGafe intro
Gafe intro
 
במבי מערכות - אל תגידו שלא ידעתם
במבי מערכות - אל תגידו שלא ידעתםבמבי מערכות - אל תגידו שלא ידעתם
במבי מערכות - אל תגידו שלא ידעתם
 
AdobeEdge系アプリ触ってみた
AdobeEdge系アプリ触ってみたAdobeEdge系アプリ触ってみた
AdobeEdge系アプリ触ってみた
 
Pengenalan teknologi informasi 3 - Netiket
Pengenalan teknologi informasi   3 - NetiketPengenalan teknologi informasi   3 - Netiket
Pengenalan teknologi informasi 3 - Netiket
 
2014中秋節:送到心坎禮
2014中秋節:送到心坎禮2014中秋節:送到心坎禮
2014中秋節:送到心坎禮
 
Matematika Diskrit - 05 rekursi dan relasi rekurens - 02
Matematika Diskrit - 05 rekursi dan relasi rekurens  - 02Matematika Diskrit - 05 rekursi dan relasi rekurens  - 02
Matematika Diskrit - 05 rekursi dan relasi rekurens - 02
 
WhatToDo - Kafka
WhatToDo - KafkaWhatToDo - Kafka
WhatToDo - Kafka
 
Hardware kathy 1
Hardware kathy 1Hardware kathy 1
Hardware kathy 1
 
0 bf3b425 abac-446e-90d456d8a4420452
0 bf3b425 abac-446e-90d456d8a44204520 bf3b425 abac-446e-90d456d8a4420452
0 bf3b425 abac-446e-90d456d8a4420452
 
Jmrx2
Jmrx2Jmrx2
Jmrx2
 
Camtasia getting started guide
Camtasia getting started guideCamtasia getting started guide
Camtasia getting started guide
 
Noi dung on hoa tnpt[1]
Noi dung on hoa tnpt[1]Noi dung on hoa tnpt[1]
Noi dung on hoa tnpt[1]
 
SolBrella
SolBrellaSolBrella
SolBrella
 

กล้องจุลทรรศน์

  • 1. กล้องจุลทรรศน์ เป็นอุปกรณ์สำหรับมองดูวัตถุที่มีขนำดเล็กเกินกว่ำมองเห็นด้วยตำเปล่ำ ศำสตร์ที่มุ่งสำรวจวัตถุขนำดเล็กโดยใช้เครื่องมือดังกล่ำวนี้ เรียกว่ำ จุลทรรศน์ศำสตร์ ประวัติ สิ่งมีชีวิตขนำดเล็กที่ไม่สำมำรถมองเห็นด้วยตำเปล่ำ เดิมใช้เพียงแว่นขยำยและเลนส์อันเดียวส่องดู คงเช่นเดียวกับกำรใช้แว่นขยำยส่องดูลำยมือ ในระยะต่อมำ กำลิเลอิ กำลิเลโอ ได้สร้ำงแว่นขยำยส่องดูสิ่งมีชีวิตเล็กๆในรำวปี พ.ศ. 2153 ในช่วงปี พ.ศ. 2133 ช่ำงทำแว่นตำชำวฮอลันดำชื่อ แจนเสนประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนส์ประกอบ ประกอบด้วยแว่นขยำยสองอัน ในปี พ.ศ. 2208 โรเบิร์ต ดำว์ฮุก ได้ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนส์ประกอบที่มีลำกล้องรูปร่ำงสวยงำม ป้องกันกำรรบกวนจำกแสงภำยนอกได้และไม่ต้องถือเลนส์ให้ซ้อนกัน (ดูภำพในกล่องข้อควำมประกอบ) เขำส่องดูไม้คอร์กที่ฝำนบำงๆ แล้วพบช่องเล็กๆมำกมำย เขำเรียกช่องเหล่ำนั้นว่ำเซลล์ซึ่งหมำยถึงห้องว่ำงๆ หรือห้องขัง เซลล์ที่ดำว์ฮุกเห็นเป็นเซลล์ที่ตำยแล้ว เหลือแต่ผนังเซลล์ของพืชซึ่งแข็งแรงกว่ำเยื่อหุ้มเซลล์ในสัตว์จึงทำให้คงรูปร่ำงอยู่ได้ ฮุกจึงได้ชื่อว่ำเป็นผู้ที่ตั้งชื่อเซลล์ ในปี พ.ศ. 2215 แอนโทนี แวน เลเวนฮุค ชำวฮอลันดำ สร้ำงกล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนส์เดียวจำกแว่นขยำยที่เขำฝนเอง แว่นขยำยบำงอันขยำยได้ถึง 270 เท่ำ เขำใช้กล้องจุลทรรศน์ตรวจดูหยดน้ำจำกบึงและแม่น้ำ และจำกน้ำฝนที่รองไว้ในหม้อ เห็นสิ่งมีชีวิตเล็กๆมำกมำยนอกจำกนั้นเขำยังส่องดูสิ่งมีชีวิตต่ำงๆ เช่น เม็ดเลือดม่วง, เซลล์สืบพันธุ์ของ...., กล้ำมเนื้อ เป็นต้น เมื่อเขำพบสิ่งเหล่ำนี้ เขำรำยงำนไปยังรำชสมำคมแห่งกรุงลอนดอน จึงได้รับกำรยกย่องว่ำเป็นผู้ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ ปี พ.ศ. 2367 ดูโธรเชต์นักพฤกษศำสตร์ชำวฝรั่งเศสศึกษำเนื้อเยื่อพืช และสัตว์พบว่ำประกอบด้วยเซลล์
  • 2. ปี พ.ศ. 2376 โรเบิร์ต บรำวน์ นักพฤกษศำสตร์ชำวอังกฤษ เป็นค้นแรกที่พบว่ำเซลล์และพืชมีนิวเคลียสเป็นก้อนกลมๆ อยู่ภำยในเซลล์ ปี พ.ศ. 2378 นุก นะดือจำร์แดง นักสัตวศำสตร์ชำวฝรั่งเศส ศึกษำจุลินทรีย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ พบว่ำภำยในประกอบด้วยของเหลวใสๆ จึงเรียกว่ำ ซำร์โคด ซึ่งเป็นภำษำฝรั่งเศสมำจำกศัพท์กรีกว่ำ ซำรค์(Sarx) ซึ่งแปลว่ำเนื้อ ปี พ.ศ. 2381 ชไลเดน นักพฤกษศำสตร์ชำวเยอรมัน ศึกษำเนื้อเยื่อพืชชนิดต่ำงๆ พบว่ำพืชทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์ ปี พ.ศ. 2382 ชไลเดรและชวำน จึงร่วมกันตั้งทฤษฎีเซลล์ซึ่งมีใจควำมสรุปได้ว่ำ "สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบไปด้วยเซลล์และผลิตภัณฑ์จำกเซลล์" พ.ศ. 2382 พัวกินเย นักสัตวิทยำชำวเชคโกสโลวำเกีย ศึกษำไข่และตัวอ่อนของสัตว์ชนิดต่ำงๆ พบว่ำภำยในมีของเหลวใส เหนียว อ่อนนุ่มเป็นวุ้น เรียกว่ำโปรโตพลำสซึม ต่อจำกนั้นมีนักวิทยำศำสตร์อีกมำกมำยทำกำรศึกษำเกี่ยวกับเซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์ชนิ ดเลนส์ประกอบ และได้พัฒนำให้ดียิ่งขึ้น จนกระทั่งปี พ.ศ. 2475 นักวิทยำศำสตร์ชำวเยอรมัน คืออี.รุสกำ และแมกซ์นอลล์ ได้เปลี่ยนแปลงกระบวนกำรของกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้แสงและเลนส์มำใช้ลำอิเล็กตรอน ทำให้เกิดกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนขึ้นในระยะต่อๆมำ ปัจจุบันมีกำลังขยำยกว่ำ 5 แสนเท่ำ ชนิดของกล้องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์สำมำรถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆได้2 ประเภท คือ กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (Optical microscopes) และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน(Electron microscopes) กล้องจุลทรรศน์ชนิดที่พบได้มำกที่สุด คือชนิดที่ประดิษฐ์ขึ้นเป็นครั้งแรก เรียกว่ำ กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (optical microscope) เป็นอุปกรณ์ใช้แสงอย่ำงหนึ่ง มีเลนส์อย่ำงน้อย 1 ชิ้น เพื่อทำกำรขยำยภำพวัตถุที่วำงในระนำบโฟกัสของเลนส์นั้นๆ
  • 3. husban awaeกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง === 1.Light microscope เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่พบอยู่ทั่วไป โดยเวลำส่องดูจะเห็นพื้นหลังเป็นสีขำว และจะเห็นเชื้อจุลินทรีย์มีสีเข้มกว่ำ 2.Stereo microscope เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่ส่องดูสิ่งมีชีวิตที่ไม่เล็กมำก ส่องดูเป็น3มิติ ส่วนใหญ่จะใช้ในกำรศึกษำแมลง 3.Dark field microscoe เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่มีพื้นหลังเป็นสีดำ เห็นเชื้อจุลินทรีย์สว่ำง เหมำะสำหรับใช้ส่องจุลินทรีย์ที่มีขนำดเล็ก ที่ติดสียำก 4.Phase contrast microscope ใช้สำหรับส่องเชื้อจุลินทรีย์ที่ยังไม่ได้ทำกำรย้อมสี จะเห็นชัดเจนกว่ำ Light microscope 5.Fluorescence microscope ใช้แหล่งกำเนิดแสงเป็น อัลตรำไวโอเลต ส่องดูจุลินทรีย์ที่ย้อมด้วยสำรเรืองแสง ซึ่งเมื่อกระทบกับแสง UV จะเปลี่ยนเป็นแสงช่วงที่มองเห็นได้แล้วแต่ชนิดของสำรที่ใช้พื้นหลังมักมีสีดำ husban awaeข้อความตัวเอนกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน ดูบทความเพิ่มเติมที่ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron microscope) เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่มีกำลังกำรขยำยสูงมำก เพรำะใช้ลำแสงอิเล็กตรอนแทนแสงปกติและใช้สนำมแม่เหล็กไฟฟ้ำแทนเลนส์แก้ว เป็นกล้องที่ใช้ในกำรศึกษำโครงสร้ำง และส่วนประกอบของเซลล์ได้อย่ำงละเอียด ที่กล้องชนิดอื่นไม่สำมำรถทำได้มีกำลังขยำย 1,600เท่ำ ฮุสบัน อาแว ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ 1.ฐาน (Base) เป็นส่วนที่ใช้วำงบนโต๊ะ ทำหน้ำที่รับน้ำหนักทั้งหมดของกล้องจุลทรรศน์ มีรูปร่ำงสี่เหลี่ยม หรือวงกลม ที่ฐำนจะมีปุ่มสำหรับปิดเปิดไฟฟ้ำ
  • 4. 2.แขน (Arm) เป็นส่วนเชื่อมตัวลำกล้องกับฐำน ใช้เป็นที่จับเวลำเคลื่อนย้ำยกล้องจุลทรรศน์ 3.ลากล้อง (Body tube) เป็นส่วนที่ปลำยด้ำนบนมีเลนส์ตำ ส่วนปลำยด้ำนล่ำงติดกับเลนส์วัตถุ ซึ่งติดกับแผ่นหมุนได้เพื่อเปลี่ยนเลนส์ขนำดต่ำง ๆ ติดอยู่กับจำนหมุนที่เรียกว่ำ Revolving Nosepiece 4.ปุ่ มปรับภาพหยาบ (Coarse adjustment) ทำหน้ำที่ปรับภำพโดยเปลี่ยนระยะโฟกัสของเลนส์ใกล้วัตถุ (เลื่อนลำกล้องหรือแท่นวำงวัตถุขึ้นลง) เพื่อทำให้เห็นภำพชัดเจน 5.ปุ่ มปรับภาพละเอียด (Fine adjustment) ทำหน้ำที่ปรับภำพ ทำให้ได้ภำพที่ชัดเจนมำกขึ้น 6.เลนส์ใกล้วัตถุ (Objective lens) เป็นเลนส์ที่อยู่ใกล้กับแผ่นสไลด์ หรือวัตถุ ปกติติดกับแป้นวงกลมซึ่งมีประมำณ 3-4 อัน แต่ละอันมีกำลังบอกเอำไว้เช่น x3.2, x4, x10, x40 และ x100 เป็นต้น ภำพที่เกิดจำกเลนส์ใกล้วัตถุเป็นภำพจริงหัวกลับ 7.เลนส์ใกล้ตา (Eye piece) เป็นเลนส์ที่อยู่บนสุดของลำกล้อง โดยทั่วไปมีกำลังขยำย 10x หรือ 15x ทำหน้ำที่ขยำยภำพที่ได้จำกเลนส์ใกล้วัตถุให้มีขนำดใหญ่ขึ้น ทำให้เกิดภำพที่ตำผู้ศึกษำสำมำรถมองเห็นได้โดยภำพที่ได้เป็นภำพเสมือนหัวกลับ 8.เลนส์รวมแสง (Condenser) ทำหน้ำที่รวมแสงให้เข้มขึ้นเพื่อส่งไปยังวัตถุที่ต้องกำรศึกษำ 9.กระจกเงา (Mirror) ทำหน้ำที่สะท้อนแสงจำกธรรมชำติหรือแสงจำกหลอดไฟภำยในห้องให้ส่ องผ่ำนวัตถุโดยทั่วไปกระจกเงำมี 2 ด้ำน ด้ำนหนึ่งเป็นกระจกเงำเว้ำ อีกด้ำนเป็นกระจกเงำระนำบ สำหรับกล้องรุ่นใหม่จะใช้หลอดไฟเป็นแหล่งกำเนิดแสง ซึ่งสะดวกและชัดเจนกว่ำ
  • 5. 10. ไดอะแฟรม (Diaphragm) อยู่ใต้เลนส์รวมแสงทำหน้ำที่ปรับปริมำณแสงให้เข้ำสู่เลนส์ในปริมำ ณที่ต้องกำร 11. แท่นวางวัตถุ (Speciment Stage) เป็นแท่นใช้วำงแผ่นสไลด์ที่ต้องกำรศึกษำ 12. ที่หนีบสไลด์ (Stage Clip) ใช้หนีบสไลด์ให้ติดอยู่กับแท่นวำงวัตถุ ในกล้องรุ่นใหม่จะมี Mechanical stage แทนเพื่อควบคุมกำรเลื่อนสไลด์ให้สะดวกยิ่งขึ้น 13. จานหมุน (Revolving nosepiece) ใช้หมุนเมื่อต้องกำรเปลี่ยนกำลังขยำยของเลนส์ใกล้วัตถุ Microscope Gallery  Laboratory microscope
  • 6.  Binocular laboratory microscope  Microscope binoviewers  Stereo-microscope
  • 8.  Stereo-microscope eyepiece  Microscope eyepiece  Microscope eyepiece   Mechanical part of microscope