SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 11
Baixar para ler offline
แผนการจัดการเรียนรูเพื่อเสริมสรางคุณลักษณะอยูอยางพอเพียง
                                                               
รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ๒                                                     รหัสวิชา ง๒๓๑๐๑
กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี                                     ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕
หนวยการเรียนรูที่ ๓การนําเสนองานดวยเทคโนโลยีสารสนเทศ                         จํานวน ๖ ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง รูปแบบการนําเสนองาน                           เวลา ๒ ชั่วโมง

๑. มาตรฐานการเรียนรู
       มาตรฐาน ง ๓.๑เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล การเรียนรู
การสือสาร การแกปญหา การทํางานและอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรม
     ่
๒. ตัวชี้วัด
         ง ๓.๑ ม. ๔–๖/๘ใชฮารดแวรและซอฟตแวรใหเหมาะสมกับงาน
          ง ๓.๑ม. ๔–๖/๑๑ใชเทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองานในรูปแบบที่เหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงคของงาน
          ๓. สาระสําคัญ
       การนําเสนองานเปนสวนหนึ่งของการนําเสนอขอมูล เพื่อนําเสนอขอมูลที่เกี่ยวกับงานทีทํา การนําเสนองาน
                                                                                        ่
ไมนิยมนําเสนอดวยการพูดแตเพียงอยางเดียว แตนิยมนําเสนอในรูปแบบทีสามารถจับตองหรืออางอิงได เชน
                                                                    ่
เอกสารสิ่งพิมพ มัลติมีเดีย และเว็บไซต
๔. จุดประสงคการเรียนรู
     ๑. อธิบายลักษณะของการนําเสนองานดวยเอกสารสิ่งพิมพ มัลติมีเดีย และเว็บไซตได (K)
     ๒. ปฏิบัติกิจกรรมดวยความระมัดระวัง รอบคอบ และมีระเบียบ (A)
     ๓. มีทักษะในการสรุปลักษณะเดนและลักษณะดอยจากขอมูลที่ไดรับ (P)
     ๔. ปฏิบัติงานกลุมได (P)
๕. สาระการเรียนรู
     รูปแบบของการนําเสนองาน
          - สิ่งพิมพ
          - มัลติมีเดีย
          - เว็บไซต
๖. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
     ๖.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
     ๖.๒ ความสามารถในการคิด
     ๖.๓ ความสามารถในการใชเทคโนโลยี



เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓
๗. คุณลักษณะอันพึงประสงค
      ๗.๑ มีวินัย
      ๗.๒ ใฝเรียนรู
      ๗.๓ อยูอยางพอเพียง
      ๗.๔ มุงมั่นในการทํางาน
๘. ภาระงาน / ชิ้นงาน
     ภาระงาน - ศึกษาหาความรูจากศูนยการเรียนรู
                                    
                  - ปฏิบัติกิจกรรมตามใบงานกลุม เรื่อง รูปแบบการนําเสนองานแบบตาง ๆ
     ชิ้นงาน      - ใบงานกลุม เรื่อง รูปแบบการนําเสนองานแบบตาง ๆ
๙. กระบวนการจัดการเรียนรู
     ขั้นนําเขาสูบทเรียน
        ๑. ครูตั้งคําถาม ถามนักเรียนวา ถานักเรียนตองการจะประชาสัมพันธขอมูลขาวสารการจัดกิจกรรมตาง ๆ
            ของโรงเรียนออกสูสาธารณะชนนักเรียนจะเลือกประชาสัมพันธโดยวิธีใด เพราะเหตุใดถึงเลือกวิธีนี้
     ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู
        ๒. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูและกิจกรรมการเรียนรูเ พื่อใหนักเรียนไดทราบแนวทางในการเรียนรูและ
            สามารถวางแผนการทํางานใหสําเร็จตามเปาหมายที่กําหนด
         ๓. แบงกลุมนักเรียนออกเปน ๖ กลุมๆ ละ ๕-๖ คน แตละกลุมประกอบดวยสมาชิกทีเ่ หมาะสมคือ
                                                                          
             ประกอบดวยนักเรียนทีมีความสามารถคละกันระหวางนักเรียนเกง ปานกลาง และออน (๒:๒:๑)
                                       ่
             เพื่อใหสมาชิกในกลุมไดเรียนรูและฝกการอยูรวมกับผูอน ชวยเหลือพึ่งพากันภายในกลุม โดยแตละ
                                                                     ื่                           
             กลุมตังชื่อกลุม เลือกประธาน เลขานุการ และวางแผนการปฏิบัติกจกรรมอยางรอบคอบ และแบง
                     ้                                                            ิ
             หนาที่การทํางานใหสมาชิกภายในกลุม ตามความสามารถของแตละบุคคลเพื่อความสําเร็จของการ
             ทํางานกลุม  
         ๔. นักเรียนแตละกลุมศึกษารูปแบบการนําเสนองานแบบตาง ๆ ผานศูนยการเรียนรูที่ครูไดเตรียมไวใน
                                                                                            
             หัวขอการแนะนําโรงเรียน เพือใหนักเรียนแตละกลุมไดศึกษาความรูเกี่ยวกับการนําเสนองานแบบตาง
                                           ่
             ๆ ครูวางสื่อ/อุปกรณการนําเสนองานไว๓ศูนยการเรียนรูโดยแตละกลุมแบงหนาทีกันภายในกลุมวา
                                                                                            ่
             ใครจะไปศึกษาที่ศูนยการเรียนรูใดเพือใหครบทั้ง ๓ ศูนย แลวนําขอมูลที่ไดในแตละศูนยกลับมาสรุป
                                                   ่
             ใหเพื่อนในกลุมฟง ภายใน ๒๐ นาที โดยมีศูนยตาง ๆ ดังนี้
                  ศูนยการเรียนรูที่ ๑การนําเสนองานในรูปแบบเอกสารสิ่งพิมพแนะนําโรงเรียน
                                 
                  ศูนยการเรียนรูที่ ๒การนําเสนองานในรูปแบบมัลติมเี ดียทีบนทึกในรูปแบบวิดีโอ/ซีดีแนะนํา
                                                                           ่ ั
        โรงเรียน
                  ศูนยการเรียนรูที่ ๓การนําเสนองานในรูปแบบเว็บไซตของโรงเรียนจากคอมพิวเตอร
                                     



เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓
๕. นักเรียนแตละกลุมที่แยกยายกันไปศึกษาแตละศูนยการเรียนรูกลับเขากลุมเพื่อสรุปเนื้อหาที่แตละคน
             ไดไปศึกษามาสรุปใหเพื่อนในกลุมฟง
          ๖. นักเรียนแตละกลุมทําใบงานกลุม เรื่อง รูปแบบการนําเสนองานแบบตาง ๆ
          ๗. นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนนําเสนอ ใบงานกลุม เรื่อง รูปแบบการนําเสนองานแบบตาง ๆ
                                                              
             กลุมละไมเกิน ๓ นาที
      ขั้นสรุป
          ๘. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปลักษณะเดนและลักษณะดอยของการนําเสนองานในรูปแบบตาง ๆ รวมถึง
             การทํางานรวมกันเปนหมูคณะของนักเรียนตลอดจนการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเขามา
             ใชในการเรียนรู โดยครูใหนักเรียนที่มจิตอาสา ตอบคําถามตอไปนี้
                                                    ี
                      ๑) นักเรียนไดเรียนรูอะไรบางจากการเรียนในครั้งนี้
                      ๒) การเรียนรูชวงใดที่นักเรียนชอบทีสุดและไมชอบทีสุดเพราะอะไร
                                                          ่               ่
                      ๓) นักเรียนใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการเรียนรูเรื่องนี้อยางไร เชน
                         - นักเรียนแบงเวลาในการปฏิบัติกจกรรมการเรียนรู/ปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายใน
                                                            ิ                 
                         แตละขั้นตอนไดเหมาะสมหรือไมอยางไร
                         - นักเรียนแบงหนาที่การทํางานในกลุมไดเหมาะสมกับความสามารถของสมาชิกแตละ
                                                                
                         คนหรือไมอยางไร
                         - นักเรียนใชวัสดุ-อุปกรณประกอบการเรียนรูอยางประหยัดและคุมคาหรือไมอยางไร
                         - นักเรียนวางแผนการปฏิบัตกิจกรรมการเรียนรูอยางไรใหสาเร็จ
                                                      ิ                           ํ
                         - การทํากิจกรรมการเรียนรู นักเรียนตองใชความรูและคุณธรรมอะไรประกอบบาง
                                                                            
                           งานจึงประสบผลสําเร็จตามเปาหมายที่วางไว
         ๙. ครูใหนักเรียนไปศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเวลาวางผานทางอินเทอรเน็ต เกียวกับการนําเสนองานในรูปแบบ
                                                                                ่
             อื่น ๆที่หลากหลาย เพื่อเปนแนวทางการในการจัดนําเสนอขอมูลในชั่วโมงตอไป

๑๐. สื่อและแหลงการเรียนรู
       สื่อ - เอกสารสิ่งพิมพแนะนําโรงเรียน
               - มัลติมเี ดียทีบันทึกในรูปแบบวิดีโอ/ซีดีแนะนําโรงเรียน
                               ่
               - ใบงานเรื่อง รูปแบบการนําเสนองานแบบตาง ๆ
       แหลงเรียนรู
          -ศูนยการเรียนรูที่ ๑ การนําเสนองานในรูปแบบเอกสารสิ่งพิมพ
               -ศูนยการเรียนรูที่ ๒ การนําเสนองานในรูปแบบมัลติมีเดียทีบันทึกในรูปแบบวิดีโอ/ซีดี
                                                                        ่
          -ศูนยการเรียนรูที่ ๓ การนําเสนองานในรูปแบบเว็บไซตของโรงเรียนจากคอมพิวเตอร
       - เว็บไซตตาง ๆ ทีเ่ กี่ยวของกับการนําเสนองาน
               เชน http://www.thaiedu.net/wbi/presentation/p_interest_ppt.htm


เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓
๑๑. การวัดผลและประเมินผล
          รายการวัดและประเมินผล                        วิธีการ             เครื่องมือ    เกณฑการประเมิน
-อธิบายลักษณะของการนําเสนองานดวย            สังเกต ตรวจใบงาน            ใบงาน          ผานเกณฑ
เอกสารสิ่งพิมพ มัลติมีเดีย และเว็บไซตได                                              -คะแนนรอยละ
-ปฏิบัติกิจกรรมดวยความระมัดระวัง            สังเกต ตรวจใบงาน            ใบงาน          ๖๐ขึ้นไป
รอบคอบ และมีระเบียบ                                                                     -ระดับคุณภาพ ดี
- มีทักษะในการสรุปลักษณะเดนและลักษณะ        สังเกต ตรวจใบงาน            ใบงาน          ขึ้นไป
ดอยจากขอมูลที่ไดรบั
- ปฏิบัติงานกลุมได                         สังเกตและประเมินพฤติกรรม แบบประเมิน
                                             การทํางานกลุม
                                                                     งานกลุม
                                                                            




เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓
ใบงาน เรื่อง รูปแบบการนําเสนองานแบบตาง ๆ
จุดประสงคการเรียนรู
         ๑. อธิบายลักษณะของการนําเสนองานดวยเอกสารสิ่งพิมพ มัลติมีเดีย และเว็บไซตได (K)
         ๒. ปฏิบัติกิจกรรมดวยความระมัดระวัง รอบคอบ และมีระเบียบ (A)
         ๓. มีทักษะในการสรุปลักษณะเดนและลักษณะดอยจากขอมูลที่ไดรับ (P)
         ๔. ปฏิบัติงานกลุมได (P)
คําชี้แจงการทํากิจกรรม๑.ใหนกเรียนแตละกลุมรวมกันสรุปความรูที่ไดรบจากการเรียนรูในแตละศูนยออกมาเปน
                               ั                                   ั
ผังความคิดตามรูปแบบที่นักเรียนตองการนําเสนอแลวระบายสีผงความคิดใหสวยงาม
                                                         ั
         ๒. สรุปการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการทํากิจกรรมการเรียนรู

                               ผังความคิด รูปแบบการนําเสนองานแบบตาง ๆ




เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓
ชื่อกลุม………………………………………………………
สมาชิกในกลุม ๑…………..……………………………….. ๒………………………………………………
                   ๓……………………………………………. ๔………………………………………………
          ๕……………………………………………๖………………………………………………
          2. กลุมของขาพเจาไดนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการทํากิจกรรมการเรียนรูคือ

ความพอประมาณ                         ความมีเหตุผล                               การมีภูมิคุมกันในตัวที่ดี




คุณธรรม



ความรู




เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓
เกณฑการประเมินการทํางานกลุม
 องคประกอบ                        เกณฑการประเมิน /     น้ําหนักคะแนน                         คะแนน
การประเมิน                ๔                   ๓                   ๒                 ๑           รวม
การวางแผน                  -        กําหนดขั้นตอน        กําหนดขั้นตอน       ขาดการ              ๓
การทํางานกลุม
                                   กิจกรรม และ          กิจกรรม ไว         วางแผนงาน
                                    มอบหมายงานไว        ลวงหนา แตขาด     รวมกันไว
                                    ลวงหนาอยางเปน    การมอบหมาย          ลวงหนา
                                    ระบบ เหมาะสม         งานใหสมาชิก
                                    กับเวลาและบุคคล      ภายในกลุม
การปฏิบัติ      ปฏิบัติงานกลุมตาม ปฏิบัติงานกลุมตาม    ปฏิบัติงานรวมกัน   ปฏิบัติงาน          ๔
งานกลุม
               ขั้นตอน และภาระ ขั้นตอน และภาระ          ภายใน               รวมกันภายใน
                งานที่ไดรับ        งานที่ไดรับ         กลุม ผลงาน         กลุม มีผลงาน
                มอบหมาย อยาง มอบหมาย ผลงาน              เสร็จ โดยใชเวลา    สงแตสงลาชา
                                                                                     
                เปนระบบ ผลงาน เสร็จสมบูรณ โดย          มากกวาที่กําหนด    (นอกเวลา
                เสร็จสมบูรณตาม ใชเวลามากกวาที่                            เรียน)
                กําหนดเวลา          กําหนด
 รับผิดชอบ                 -        รวมคิดวางแผน        รวมปฏิบัตงาน
                                                                     ิ       รวมปฏิบัตงาน
                                                                                       ิ        ๓
ในการปฏิบัติ                        และปฏิบัตงานกลุม
                                                ิ       กลุมทุกขั้นตอน     กลุมโดยครูตอง
งานกลุม                            อยางเปนระบบ ทุก                        ตักเตือน
                                    ขั้นตอน
                                           รวม                                                  ๑๐

เกณฑการตัดสินผลคะแนน
การประเมินผานเกณฑและไมผานเกณฑ โดยกําหนดเกณฑผานรอยละ ๖๐ เปนดังนี้
       ผานเกณฑ คือ คะแนนรวมตั้งแต          ๖ - ๑๐ คะแนน
       ไมผานเกณฑ คือ คะแนนรวมตั้งแต       ๐ - ๕.๙๐ คะแนน
การแปลความหมายของคะแนนเฉลี่ย
                ชวงคะแนน                     ผลการประเมิน
                   ๘-๑๐               มีพฤติกรรมการทํางานกลุมอยูในระดับดีเยี่ยม
                                                            
                   ๖-๗.๙๐             มีพฤติกรรมการทํางานกลุมอยูในระดับดี
                                                              
                   ๐-๕.๙๐             มีพฤติกรรมการทํางานกลุมอยูในระดับตองพัฒนา
                                                                




เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓
แนวทางการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู

๑. ผูสอนใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู
หลักพอเพียง
ประเด็น                 พอประมาณ                        มีเหตุผล                  มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี

     เวลา        กําหนดเวลาไดเหมาะสม        -เพื่อใหจัดกิจกรรมการเรียนรู   -มีการจัดสรรเวลาให
                 กับเนื้อหา และกิจกรรม       ไดครบถวนตามที่กําหนด           สัมพันธกบกิจกรรมการ
                                                                                         ั
                 การเรียนรู                 -สงเสริมใหนักเรียนทํา          เรียนรูจัดสรรเวลาเพิ่ม
                                             กิจกรรมอยางมีประสิทธิภาพ        สําหรับนักเรียนที่ไมสามารถ
                                                                              ปฏิบัติกิจกรรมไดตาม
                                                                              ขั้นตอน


    เนื้อหา      ครูมีการวิเคราะหหลักสูตร -เพื่อใหนักเรียนไดเรียนรู ตรง -ลําดับเนื้อหาจากงายไปหา
                 กําหนดเนื้อหาได          ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดและ ยาก เพื่อใหผูเรียนเขาใจงาย
                 สอดคลองกับมาตรฐาน        ครบถวนตามกระบวนการ              อยากเรียนรู
                                                                            -เตรียมเนือหาในการเรียนรู
                                                                                       ้
                 ตัวชี้วัด และเหมาะสมกับ
                                                                            ใหครอบคลุมตามมาตรฐาน
                 เวลา วัย ความสามารถ
                                                                            และตัวชี้วัด
                 ของนักเรียน


      วิธี    -ออกแบบกิจกรรมการ              -เพื่อใหผเู รียนมีคุณภาพตาม    -เตรียมตัดทอนกิจกรรมใน
การจัดกิจกรรม เรียนรูไดเหมะสมสําหรับ       มาตรฐานและตัวชี้วัด              กรณีที่ใชเวลานานเกินไป
                 การนําพาผูเ รียนไปสู      -เพื่อใหผเู รียนไดวางแผนการ เพื่อใหงานเสร็จตามเวลาที่
                 เปาหมายและเหมาะสม          ทํางาน ทุกคนมีสวนรวม เกิด กําหนดลดความนาเบื่อ
                 กับสภาพผูเรียน             การแลกเปลี่ยนเรียนรูยอมรับ หนายในการเรียน
                 -แบงกลุมผูเ รียนใหพอดี
                                            ฟงความคิดเห็นของผูอื่น
                 กับจํานวนผูเรียนและ
                 ภาระงานที่ไดรบ
                               ั
                 มอบหมาย
                 -จัดกิจกรรมที่เนนรูปธรรม
                 สรางนิสัยความพอเพียง

เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓
หลักพอเพียง
                         พอประมาณ                        มีเหตุผล                   มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี
ประเด็น
แหลงเรียนรู     จัดแหลงเรียนรูได          -เสริมสรางใหนกเรียนเขาใจ
                                                              ั                -กอนใหนักเรียนไดเรียนรู
                  เหมาะสมกับกิจกรรม            ในบทเรียนไดงายขึ้น            จากแหลงเรียนรูครูได
                  เนื้อหา และความสนใจ                                          ซักถามทําความเขาใจการใช
                  ของนักเรียน                                                  แหลงเรียนรูกอน
                                                                               -ศึกษาเนื้อหาจากเว็บไซตที่
                                                                               เปนแหลงเรียนรูไวแนะนํา
                                                                               นักเรียนในการคนหา
  สื่อ/อุปกรณ
             -เลือกสื่อทีเ่ หมาะสมกับ          -เพื่อกระตุนความสนใจของ       -เตรียมสือ/อุปกรณสํารอง
                                                                                         ่
             เปาหมาย เนื้อหา                  นักเรียน-เสริมสรางให         -การศึกษาลักษณะของ
             กิจกรรมการเรียนรู และ            นักเรียนเขาใจในบทเรียนได     ผูเรียนกอน จะชวยใหครู
             ความสนใจของนักเรียน               งายขึ้น                       เตรียมสื่อ/อุปกรณได
             -ครูเตรียมสื่อใหเพียงพอ                                         เหมาะสมกับนักเรียน
             กับจํานวนนักเรียน                                                -ลดภาระการอธิบายของครู
การประเมินผล -ออกแบบการวัดและ                  -เพื่อประเมินผูเรียนใหไดรผล -ศึกษาและสรางเครืองมือ
                                                                           ู                        ่
                  ประเมินผลไดเหมาะสม ตรงกับสิงที่ตองการวัดหรือ
                                                        ่                     วัดผลใหตรงตามตัวชี้วัดและ
                  กับตัวชี้วัดกิจกรรมและ      เปาหมายที่ตองการรู           ผานการตรวจสอบคุณภาพ
                                                                              -ชี้แจงวิธีการใชเครื่องมือให
                  ผูเรียน
                                                                              ชัดเจน
  ความรูที่ครู   ครูมีความรูเกี่ยวกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด เทคนิคการสอน จิตวิทยาการเรียนรู
  จําเปนตองมี   การวัดและประเมินผล หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คุณธรรม           มีความรักเมตตาศิษยมีความรับผิดชอบมีความยุติธรรม
ของครู            มีความอดทน เพียรพยายาม




เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓
๒. ผลทีเ่ กิดกับผูเ รียนสอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู
   ๒.๑ ผูเรียนไดเรียนรูหลักคิดและฝกปฏิบัติตามหลัก ๓ หวง ๒ เงื่อนไข ดังนี้
                              
                                พอประมาณ                      มีเหตุผล              มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี
                     -ผูเรียนใชเวลาปฏิบัติกจกรรม -ปฏิบัติกิจกรรมไดครบถวน -รูจักการวางแผน การ
                                              ิ
                     ไดเหมาะสมตามลําดับขั้นตอน ตามขั้นตอนและสําเร็จตาม ทํางานอยางเปนระบบให
                     -ผูเรียนแบงหนาที่การทํางาน เปาหมาย                   ประสบความสําเร็จ
หลักพอเพียง ภายในกลุมไดเหมาะสมกับ
                                                   -คิดวิเคราะหแกปญหาใน -ปรับตัวในการทํางานกับ
                                                                      
                     ความสามารถของแตละคน
                                                   การทํางานใหสําเร็จตาม     เพื่อนพรอมรับการ
                     -ผูเรียนใชวัสดุอุปกรณและ
                                                   เปาหมาย                   เปลี่ยนแปลงในสังคม
                     งบประมาณที่มีอยูอยาง
                                                   -ประหยัดงบประมาณ
                     ประหยัด และคุมคา
                                                   -ปลูกฝงคุณลักษณะ
                                                  ประหยัดและออม
ความรู          นักเรียนมีความรูเรื่อง การวางแผนการทํางานวิธีการทํางานรวมกับผูอื่นและความรูเ กี่ยวกับ
                 การนําเสนองานในรูปแบบตาง ๆ


คุณธรรม          นักเรียนมีวินัยในการเรียน ตรงตอเวลาใฝเรียนรู มีความรับผิดชอบ
                 มีความสามัคคีในหมูคณะ มุงมั่นในการทํางาน


๒.๒ ผูเรียนไดเรียนรูการใชชีวิตที่สมดุลและพรอมรับการเปลี่ยนแปลงใน ๔ มิติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ดังนี้
ดาน                                 สมดุลและพรอมรับการเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ
องคประกอบ                วัตถุ             สังคม            สิ่งแวดลอม           วัฒนธรรม
       ความรู     มีความรูในการ     มีความรูในการ   มีความรูในการรักษา มีการเรียนรูวัฒนธรรม
                   เลือกใชวัสดุ      วางแผนงานและ สิ่งแวดลอมใกลตัว ในการทํางานรวมกัน
                   อุปกรณใหคุมคา การทํางานรวมกัน                       ใหสําเร็จอยางมี
                   และประหยัด         เปนกลุม                             ความสุข

       ทักษะ       -มีทักษะในการใช     -มีทักษะในการ         มีทักษะในการรักษา
                   วัสดุ อุปกรณอยาง   ทํางานรวมกับ         สิ่งแวดลอมใกลตัว
                   ประหยัดและ           ผูอื่น-มีทักษะใน
                   คุมคา              การนําเสนอและ
เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓
-การเลือกใชวัสดุ   แลกเปลี่ยนเรียนรู
                 อุปกรณไดอยาง
                 เหมาะสม
      ดาน                           สมดุลและพรอมรับการเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ
                 วัตถุ               สังคม                สิ่งแวดลอม             วัฒนธรรม
องคประกอบ
    คานิยม      -มีความตระหนัก      -ตระหนักถึงความ ตระหนักถึง
                 ในการนําวัสดุ       รับผิดชอบตอ       ความสําคัญของ
                 อุปกรณมาใชใน      หนาที่การทํางาน สิ่งแวดลอม
                 การปฏิบัตงานให
                          ิ          ในกลุม-ยอมรับ
                 คุมคา             ความคิดเห็นซึ่งกัน




เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนNan NaJa
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจPawit Chamruang
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 

Mais procurados (20)

ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 

Destaque

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2Pornarun Srihanat
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designคุณครูพี่อั๋น
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4พงศธร ภักดี
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคเทวัญ ภูพานทอง
 

Destaque (8)

โปรแกรมตกแต่งภาพ
โปรแกรมตกแต่งภาพโปรแกรมตกแต่งภาพ
โปรแกรมตกแต่งภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจแผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
 

Semelhante a ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์

คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5นนท์ จรุงศิรวัฒน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4dechathon
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2thkitiya
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างptrnan
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมptrnan
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----Alatreon Deathqz
 
มคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guideมคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guidechickyshare
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง ComPattaraporn Khantha
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333Chirinee Deeraksa
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองKhunkrunuch
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553Nattapon
 

Semelhante a ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ (20)

ตัวอย่าง Addie ok
ตัวอย่าง Addie ok ตัวอย่าง Addie ok
ตัวอย่าง Addie ok
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
 
B math2
B math2B math2
B math2
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
มคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guideมคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guide
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Com
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 

Mais de srkschool

ออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างsrkschool
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์srkschool
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔srkschool
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3srkschool
 
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการsrkschool
 
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์srkschool
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 

Mais de srkschool (9)

ออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่างออกแบบหน่วยงานช่าง
ออกแบบหน่วยงานช่าง
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
 
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
 
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 

ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์

  • 1. แผนการจัดการเรียนรูเพื่อเสริมสรางคุณลักษณะอยูอยางพอเพียง   รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ๒ รหัสวิชา ง๒๓๑๐๑ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕ หนวยการเรียนรูที่ ๓การนําเสนองานดวยเทคโนโลยีสารสนเทศ จํานวน ๖ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง รูปแบบการนําเสนองาน เวลา ๒ ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ง ๓.๑เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล การเรียนรู การสือสาร การแกปญหา การทํางานและอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรม ่ ๒. ตัวชี้วัด ง ๓.๑ ม. ๔–๖/๘ใชฮารดแวรและซอฟตแวรใหเหมาะสมกับงาน ง ๓.๑ม. ๔–๖/๑๑ใชเทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองานในรูปแบบที่เหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงคของงาน ๓. สาระสําคัญ การนําเสนองานเปนสวนหนึ่งของการนําเสนอขอมูล เพื่อนําเสนอขอมูลที่เกี่ยวกับงานทีทํา การนําเสนองาน ่ ไมนิยมนําเสนอดวยการพูดแตเพียงอยางเดียว แตนิยมนําเสนอในรูปแบบทีสามารถจับตองหรืออางอิงได เชน ่ เอกสารสิ่งพิมพ มัลติมีเดีย และเว็บไซต ๔. จุดประสงคการเรียนรู ๑. อธิบายลักษณะของการนําเสนองานดวยเอกสารสิ่งพิมพ มัลติมีเดีย และเว็บไซตได (K) ๒. ปฏิบัติกิจกรรมดวยความระมัดระวัง รอบคอบ และมีระเบียบ (A) ๓. มีทักษะในการสรุปลักษณะเดนและลักษณะดอยจากขอมูลที่ไดรับ (P) ๔. ปฏิบัติงานกลุมได (P) ๕. สาระการเรียนรู รูปแบบของการนําเสนองาน - สิ่งพิมพ - มัลติมีเดีย - เว็บไซต ๖. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน ๖.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๖.๒ ความสามารถในการคิด ๖.๓ ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓
  • 2. ๗. คุณลักษณะอันพึงประสงค ๗.๑ มีวินัย ๗.๒ ใฝเรียนรู ๗.๓ อยูอยางพอเพียง ๗.๔ มุงมั่นในการทํางาน ๘. ภาระงาน / ชิ้นงาน ภาระงาน - ศึกษาหาความรูจากศูนยการเรียนรู  - ปฏิบัติกิจกรรมตามใบงานกลุม เรื่อง รูปแบบการนําเสนองานแบบตาง ๆ ชิ้นงาน - ใบงานกลุม เรื่อง รูปแบบการนําเสนองานแบบตาง ๆ ๙. กระบวนการจัดการเรียนรู ขั้นนําเขาสูบทเรียน ๑. ครูตั้งคําถาม ถามนักเรียนวา ถานักเรียนตองการจะประชาสัมพันธขอมูลขาวสารการจัดกิจกรรมตาง ๆ ของโรงเรียนออกสูสาธารณะชนนักเรียนจะเลือกประชาสัมพันธโดยวิธีใด เพราะเหตุใดถึงเลือกวิธีนี้ ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู ๒. ครูแจงจุดประสงคการเรียนรูและกิจกรรมการเรียนรูเ พื่อใหนักเรียนไดทราบแนวทางในการเรียนรูและ สามารถวางแผนการทํางานใหสําเร็จตามเปาหมายที่กําหนด ๓. แบงกลุมนักเรียนออกเปน ๖ กลุมๆ ละ ๕-๖ คน แตละกลุมประกอบดวยสมาชิกทีเ่ หมาะสมคือ  ประกอบดวยนักเรียนทีมีความสามารถคละกันระหวางนักเรียนเกง ปานกลาง และออน (๒:๒:๑) ่ เพื่อใหสมาชิกในกลุมไดเรียนรูและฝกการอยูรวมกับผูอน ชวยเหลือพึ่งพากันภายในกลุม โดยแตละ ื่  กลุมตังชื่อกลุม เลือกประธาน เลขานุการ และวางแผนการปฏิบัติกจกรรมอยางรอบคอบ และแบง ้  ิ หนาที่การทํางานใหสมาชิกภายในกลุม ตามความสามารถของแตละบุคคลเพื่อความสําเร็จของการ ทํางานกลุม  ๔. นักเรียนแตละกลุมศึกษารูปแบบการนําเสนองานแบบตาง ๆ ผานศูนยการเรียนรูที่ครูไดเตรียมไวใน  หัวขอการแนะนําโรงเรียน เพือใหนักเรียนแตละกลุมไดศึกษาความรูเกี่ยวกับการนําเสนองานแบบตาง ่ ๆ ครูวางสื่อ/อุปกรณการนําเสนองานไว๓ศูนยการเรียนรูโดยแตละกลุมแบงหนาทีกันภายในกลุมวา   ่ ใครจะไปศึกษาที่ศูนยการเรียนรูใดเพือใหครบทั้ง ๓ ศูนย แลวนําขอมูลที่ไดในแตละศูนยกลับมาสรุป ่ ใหเพื่อนในกลุมฟง ภายใน ๒๐ นาที โดยมีศูนยตาง ๆ ดังนี้ ศูนยการเรียนรูที่ ๑การนําเสนองานในรูปแบบเอกสารสิ่งพิมพแนะนําโรงเรียน  ศูนยการเรียนรูที่ ๒การนําเสนองานในรูปแบบมัลติมเี ดียทีบนทึกในรูปแบบวิดีโอ/ซีดีแนะนํา  ่ ั โรงเรียน ศูนยการเรียนรูที่ ๓การนําเสนองานในรูปแบบเว็บไซตของโรงเรียนจากคอมพิวเตอร  เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓
  • 3. ๕. นักเรียนแตละกลุมที่แยกยายกันไปศึกษาแตละศูนยการเรียนรูกลับเขากลุมเพื่อสรุปเนื้อหาที่แตละคน ไดไปศึกษามาสรุปใหเพื่อนในกลุมฟง ๖. นักเรียนแตละกลุมทําใบงานกลุม เรื่อง รูปแบบการนําเสนองานแบบตาง ๆ ๗. นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนนําเสนอ ใบงานกลุม เรื่อง รูปแบบการนําเสนองานแบบตาง ๆ  กลุมละไมเกิน ๓ นาที ขั้นสรุป ๘. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปลักษณะเดนและลักษณะดอยของการนําเสนองานในรูปแบบตาง ๆ รวมถึง การทํางานรวมกันเปนหมูคณะของนักเรียนตลอดจนการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเขามา ใชในการเรียนรู โดยครูใหนักเรียนที่มจิตอาสา ตอบคําถามตอไปนี้ ี ๑) นักเรียนไดเรียนรูอะไรบางจากการเรียนในครั้งนี้ ๒) การเรียนรูชวงใดที่นักเรียนชอบทีสุดและไมชอบทีสุดเพราะอะไร ่ ่ ๓) นักเรียนใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการเรียนรูเรื่องนี้อยางไร เชน - นักเรียนแบงเวลาในการปฏิบัติกจกรรมการเรียนรู/ปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายใน ิ  แตละขั้นตอนไดเหมาะสมหรือไมอยางไร - นักเรียนแบงหนาที่การทํางานในกลุมไดเหมาะสมกับความสามารถของสมาชิกแตละ  คนหรือไมอยางไร - นักเรียนใชวัสดุ-อุปกรณประกอบการเรียนรูอยางประหยัดและคุมคาหรือไมอยางไร - นักเรียนวางแผนการปฏิบัตกิจกรรมการเรียนรูอยางไรใหสาเร็จ ิ ํ - การทํากิจกรรมการเรียนรู นักเรียนตองใชความรูและคุณธรรมอะไรประกอบบาง  งานจึงประสบผลสําเร็จตามเปาหมายที่วางไว ๙. ครูใหนักเรียนไปศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเวลาวางผานทางอินเทอรเน็ต เกียวกับการนําเสนองานในรูปแบบ ่ อื่น ๆที่หลากหลาย เพื่อเปนแนวทางการในการจัดนําเสนอขอมูลในชั่วโมงตอไป ๑๐. สื่อและแหลงการเรียนรู สื่อ - เอกสารสิ่งพิมพแนะนําโรงเรียน - มัลติมเี ดียทีบันทึกในรูปแบบวิดีโอ/ซีดีแนะนําโรงเรียน ่ - ใบงานเรื่อง รูปแบบการนําเสนองานแบบตาง ๆ แหลงเรียนรู -ศูนยการเรียนรูที่ ๑ การนําเสนองานในรูปแบบเอกสารสิ่งพิมพ -ศูนยการเรียนรูที่ ๒ การนําเสนองานในรูปแบบมัลติมีเดียทีบันทึกในรูปแบบวิดีโอ/ซีดี ่ -ศูนยการเรียนรูที่ ๓ การนําเสนองานในรูปแบบเว็บไซตของโรงเรียนจากคอมพิวเตอร - เว็บไซตตาง ๆ ทีเ่ กี่ยวของกับการนําเสนองาน เชน http://www.thaiedu.net/wbi/presentation/p_interest_ppt.htm เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓
  • 4. ๑๑. การวัดผลและประเมินผล รายการวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑการประเมิน -อธิบายลักษณะของการนําเสนองานดวย สังเกต ตรวจใบงาน ใบงาน ผานเกณฑ เอกสารสิ่งพิมพ มัลติมีเดีย และเว็บไซตได -คะแนนรอยละ -ปฏิบัติกิจกรรมดวยความระมัดระวัง สังเกต ตรวจใบงาน ใบงาน ๖๐ขึ้นไป รอบคอบ และมีระเบียบ -ระดับคุณภาพ ดี - มีทักษะในการสรุปลักษณะเดนและลักษณะ สังเกต ตรวจใบงาน ใบงาน ขึ้นไป ดอยจากขอมูลที่ไดรบั - ปฏิบัติงานกลุมได สังเกตและประเมินพฤติกรรม แบบประเมิน การทํางานกลุม  งานกลุม  เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓
  • 5. ใบงาน เรื่อง รูปแบบการนําเสนองานแบบตาง ๆ จุดประสงคการเรียนรู ๑. อธิบายลักษณะของการนําเสนองานดวยเอกสารสิ่งพิมพ มัลติมีเดีย และเว็บไซตได (K) ๒. ปฏิบัติกิจกรรมดวยความระมัดระวัง รอบคอบ และมีระเบียบ (A) ๓. มีทักษะในการสรุปลักษณะเดนและลักษณะดอยจากขอมูลที่ไดรับ (P) ๔. ปฏิบัติงานกลุมได (P) คําชี้แจงการทํากิจกรรม๑.ใหนกเรียนแตละกลุมรวมกันสรุปความรูที่ไดรบจากการเรียนรูในแตละศูนยออกมาเปน ั  ั ผังความคิดตามรูปแบบที่นักเรียนตองการนําเสนอแลวระบายสีผงความคิดใหสวยงาม ั ๒. สรุปการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการทํากิจกรรมการเรียนรู ผังความคิด รูปแบบการนําเสนองานแบบตาง ๆ เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓
  • 6. ชื่อกลุม……………………………………………………… สมาชิกในกลุม ๑…………..……………………………….. ๒……………………………………………… ๓……………………………………………. ๔……………………………………………… ๕……………………………………………๖……………………………………………… 2. กลุมของขาพเจาไดนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการทํากิจกรรมการเรียนรูคือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุมกันในตัวที่ดี คุณธรรม ความรู เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓
  • 7. เกณฑการประเมินการทํางานกลุม องคประกอบ เกณฑการประเมิน / น้ําหนักคะแนน คะแนน การประเมิน ๔ ๓ ๒ ๑ รวม การวางแผน - กําหนดขั้นตอน กําหนดขั้นตอน ขาดการ ๓ การทํางานกลุม  กิจกรรม และ กิจกรรม ไว วางแผนงาน มอบหมายงานไว ลวงหนา แตขาด รวมกันไว ลวงหนาอยางเปน การมอบหมาย ลวงหนา ระบบ เหมาะสม งานใหสมาชิก กับเวลาและบุคคล ภายในกลุม การปฏิบัติ ปฏิบัติงานกลุมตาม ปฏิบัติงานกลุมตาม ปฏิบัติงานรวมกัน ปฏิบัติงาน ๔ งานกลุม  ขั้นตอน และภาระ ขั้นตอน และภาระ ภายใน รวมกันภายใน งานที่ไดรับ งานที่ไดรับ กลุม ผลงาน กลุม มีผลงาน มอบหมาย อยาง มอบหมาย ผลงาน เสร็จ โดยใชเวลา สงแตสงลาชา  เปนระบบ ผลงาน เสร็จสมบูรณ โดย มากกวาที่กําหนด (นอกเวลา เสร็จสมบูรณตาม ใชเวลามากกวาที่ เรียน) กําหนดเวลา กําหนด รับผิดชอบ - รวมคิดวางแผน รวมปฏิบัตงาน ิ รวมปฏิบัตงาน ิ ๓ ในการปฏิบัติ และปฏิบัตงานกลุม ิ  กลุมทุกขั้นตอน กลุมโดยครูตอง งานกลุม อยางเปนระบบ ทุก ตักเตือน ขั้นตอน รวม ๑๐ เกณฑการตัดสินผลคะแนน การประเมินผานเกณฑและไมผานเกณฑ โดยกําหนดเกณฑผานรอยละ ๖๐ เปนดังนี้ ผานเกณฑ คือ คะแนนรวมตั้งแต ๖ - ๑๐ คะแนน ไมผานเกณฑ คือ คะแนนรวมตั้งแต ๐ - ๕.๙๐ คะแนน การแปลความหมายของคะแนนเฉลี่ย ชวงคะแนน ผลการประเมิน ๘-๑๐ มีพฤติกรรมการทํางานกลุมอยูในระดับดีเยี่ยม  ๖-๗.๙๐ มีพฤติกรรมการทํางานกลุมอยูในระดับดี  ๐-๕.๙๐ มีพฤติกรรมการทํางานกลุมอยูในระดับตองพัฒนา  เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓
  • 8. แนวทางการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู ๑. ผูสอนใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู หลักพอเพียง ประเด็น พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี เวลา กําหนดเวลาไดเหมาะสม -เพื่อใหจัดกิจกรรมการเรียนรู -มีการจัดสรรเวลาให กับเนื้อหา และกิจกรรม ไดครบถวนตามที่กําหนด สัมพันธกบกิจกรรมการ ั การเรียนรู -สงเสริมใหนักเรียนทํา เรียนรูจัดสรรเวลาเพิ่ม กิจกรรมอยางมีประสิทธิภาพ สําหรับนักเรียนที่ไมสามารถ ปฏิบัติกิจกรรมไดตาม ขั้นตอน เนื้อหา ครูมีการวิเคราะหหลักสูตร -เพื่อใหนักเรียนไดเรียนรู ตรง -ลําดับเนื้อหาจากงายไปหา กําหนดเนื้อหาได ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดและ ยาก เพื่อใหผูเรียนเขาใจงาย สอดคลองกับมาตรฐาน ครบถวนตามกระบวนการ อยากเรียนรู -เตรียมเนือหาในการเรียนรู ้ ตัวชี้วัด และเหมาะสมกับ ใหครอบคลุมตามมาตรฐาน เวลา วัย ความสามารถ และตัวชี้วัด ของนักเรียน วิธี -ออกแบบกิจกรรมการ -เพื่อใหผเู รียนมีคุณภาพตาม -เตรียมตัดทอนกิจกรรมใน การจัดกิจกรรม เรียนรูไดเหมะสมสําหรับ มาตรฐานและตัวชี้วัด กรณีที่ใชเวลานานเกินไป การนําพาผูเ รียนไปสู -เพื่อใหผเู รียนไดวางแผนการ เพื่อใหงานเสร็จตามเวลาที่ เปาหมายและเหมาะสม ทํางาน ทุกคนมีสวนรวม เกิด กําหนดลดความนาเบื่อ กับสภาพผูเรียน การแลกเปลี่ยนเรียนรูยอมรับ หนายในการเรียน -แบงกลุมผูเ รียนใหพอดี  ฟงความคิดเห็นของผูอื่น กับจํานวนผูเรียนและ ภาระงานที่ไดรบ ั มอบหมาย -จัดกิจกรรมที่เนนรูปธรรม สรางนิสัยความพอเพียง เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓
  • 9. หลักพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี ประเด็น แหลงเรียนรู จัดแหลงเรียนรูได -เสริมสรางใหนกเรียนเขาใจ ั -กอนใหนักเรียนไดเรียนรู เหมาะสมกับกิจกรรม ในบทเรียนไดงายขึ้น จากแหลงเรียนรูครูได เนื้อหา และความสนใจ ซักถามทําความเขาใจการใช ของนักเรียน แหลงเรียนรูกอน -ศึกษาเนื้อหาจากเว็บไซตที่ เปนแหลงเรียนรูไวแนะนํา นักเรียนในการคนหา สื่อ/อุปกรณ -เลือกสื่อทีเ่ หมาะสมกับ -เพื่อกระตุนความสนใจของ -เตรียมสือ/อุปกรณสํารอง ่ เปาหมาย เนื้อหา นักเรียน-เสริมสรางให -การศึกษาลักษณะของ กิจกรรมการเรียนรู และ นักเรียนเขาใจในบทเรียนได ผูเรียนกอน จะชวยใหครู ความสนใจของนักเรียน งายขึ้น เตรียมสื่อ/อุปกรณได -ครูเตรียมสื่อใหเพียงพอ เหมาะสมกับนักเรียน กับจํานวนนักเรียน -ลดภาระการอธิบายของครู การประเมินผล -ออกแบบการวัดและ -เพื่อประเมินผูเรียนใหไดรผล -ศึกษาและสรางเครืองมือ ู ่ ประเมินผลไดเหมาะสม ตรงกับสิงที่ตองการวัดหรือ ่ วัดผลใหตรงตามตัวชี้วัดและ กับตัวชี้วัดกิจกรรมและ เปาหมายที่ตองการรู ผานการตรวจสอบคุณภาพ -ชี้แจงวิธีการใชเครื่องมือให ผูเรียน ชัดเจน ความรูที่ครู ครูมีความรูเกี่ยวกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด เทคนิคการสอน จิตวิทยาการเรียนรู จําเปนตองมี การวัดและประเมินผล หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คุณธรรม มีความรักเมตตาศิษยมีความรับผิดชอบมีความยุติธรรม ของครู มีความอดทน เพียรพยายาม เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓
  • 10. ๒. ผลทีเ่ กิดกับผูเ รียนสอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู ๒.๑ ผูเรียนไดเรียนรูหลักคิดและฝกปฏิบัติตามหลัก ๓ หวง ๒ เงื่อนไข ดังนี้  พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี -ผูเรียนใชเวลาปฏิบัติกจกรรม -ปฏิบัติกิจกรรมไดครบถวน -รูจักการวางแผน การ ิ ไดเหมาะสมตามลําดับขั้นตอน ตามขั้นตอนและสําเร็จตาม ทํางานอยางเปนระบบให -ผูเรียนแบงหนาที่การทํางาน เปาหมาย ประสบความสําเร็จ หลักพอเพียง ภายในกลุมไดเหมาะสมกับ -คิดวิเคราะหแกปญหาใน -ปรับตัวในการทํางานกับ  ความสามารถของแตละคน การทํางานใหสําเร็จตาม เพื่อนพรอมรับการ -ผูเรียนใชวัสดุอุปกรณและ เปาหมาย เปลี่ยนแปลงในสังคม งบประมาณที่มีอยูอยาง -ประหยัดงบประมาณ ประหยัด และคุมคา -ปลูกฝงคุณลักษณะ ประหยัดและออม ความรู นักเรียนมีความรูเรื่อง การวางแผนการทํางานวิธีการทํางานรวมกับผูอื่นและความรูเ กี่ยวกับ การนําเสนองานในรูปแบบตาง ๆ คุณธรรม นักเรียนมีวินัยในการเรียน ตรงตอเวลาใฝเรียนรู มีความรับผิดชอบ มีความสามัคคีในหมูคณะ มุงมั่นในการทํางาน ๒.๒ ผูเรียนไดเรียนรูการใชชีวิตที่สมดุลและพรอมรับการเปลี่ยนแปลงใน ๔ มิติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ดังนี้ ดาน สมดุลและพรอมรับการเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ องคประกอบ วัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ความรู มีความรูในการ มีความรูในการ มีความรูในการรักษา มีการเรียนรูวัฒนธรรม เลือกใชวัสดุ วางแผนงานและ สิ่งแวดลอมใกลตัว ในการทํางานรวมกัน อุปกรณใหคุมคา การทํางานรวมกัน ใหสําเร็จอยางมี และประหยัด เปนกลุม ความสุข ทักษะ -มีทักษะในการใช -มีทักษะในการ มีทักษะในการรักษา วัสดุ อุปกรณอยาง ทํางานรวมกับ สิ่งแวดลอมใกลตัว ประหยัดและ ผูอื่น-มีทักษะใน คุมคา การนําเสนอและ เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓
  • 11. -การเลือกใชวัสดุ แลกเปลี่ยนเรียนรู อุปกรณไดอยาง เหมาะสม ดาน สมดุลและพรอมรับการเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ วัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม วัฒนธรรม องคประกอบ คานิยม -มีความตระหนัก -ตระหนักถึงความ ตระหนักถึง ในการนําวัสดุ รับผิดชอบตอ ความสําคัญของ อุปกรณมาใชใน หนาที่การทํางาน สิ่งแวดลอม การปฏิบัตงานให ิ ในกลุม-ยอมรับ คุมคา ความคิดเห็นซึ่งกัน เอกสารเผยแพร่ โดย นางดวงตา บุติมาลย์ ครูชํานาญการ ร.ร.สําโรงทาบวิทยาคม สพม.๓๓