SlideShare a Scribd company logo
1 of 62
Download to read offline
หน่วยที่ 1
หน่วยของชีวิตและชีวิตพืช
„ หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
„ โครงสร้างและหน้าที่ขององค์ประกอบของเซลล์
„ การลาเลียงสารของพืช
„ การสืบพันธุ์และการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
„ การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เซลล์(cell) หมายถึง หน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตซึ่งมีรูปร่างและขนาด
ต่าง ๆ เพื่อให้เหมาะสมกับการทาหน้าที่ที่แตกต่างกัน
ประวัติการค้นพบเซลล์
• กาลิเลโอ (Galileo Galilei) ได้ประดิษฐ์แว่นขยายส่องดูสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ
• โรเบิร์ต ฮุก (Robert Hooke) ได้ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์
ประกอบด้วยเลนส์ 2 อัน ซึ่งมีกาลังขยายสูงประมาณ 270 เท่า ใช้ส่อง
ดูไม้คอร์ก พบว่าประกอบด้วยช่องขนาดเล็กมากมาย เขาเรียกแต่ละช่องว่า
เซลล์(cell) ถือเป็นคนแรกที่ใช้คาว่า “เซลล์” ซึ่งหมายถึง ห้องว่างเล็กๆ
• ชไรแดน(M.J. Schleiden) และ ชวานน์(Theodor Schwann)
ได้ร่วมกันตั้ง “ทฤษฎีเซลล์” ขึ้นมีใจความว่า “สิ่งมีชีวิตทั้งมวล
ประกอบด้วยเซลล์และผลิตภัณฑ์ของเซลล์”
กล้องจุลทรรศน์ (microscope)
• เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับส่องดูวัตถุที่มีขนาดเล็ก ซึ่งไม่สามารถมองเห็น
รายละเอียดได้ด้วยตาเปล่า แบ่งได้เป็น
1. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (light microscope) กล้องจุลทรรศน์
แบบใช้แสงประกอบด้วยเลนส์ 2 ชุด คือเลนส์ใกล้ตาและเลนส์ใกล้วัตถุ
กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงที่ดีที่สุดในปัจจุบันมีกาลังขยายประมาณ
2,000 เท่า
กาลังขยายของกล้อง = กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา x กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
ภาพส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
2. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (electron microscope) ใช้ส่องวัตถุที่มี
ขนาดเล็กเกินกว่าที่จะสังเกตให้เห็นได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง ใช้ลา
อิเล็กตรอนแทนรังสีของแสง ซึ่งภาพจะปรากฏบนจอเรืองแสง และสามารถ
บันทึกภาพได้โดยง่าย มีกาลังขยายสูงถึง 500,000 เท่า มี 2 แบบ ได้แก่
• 2.1 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (transmission
electron microscope : TEM) ใช้ในการศึกษารายละเอียดโครงสร้าง
ภายในของวัตถุที่มีขนาดเล็กประมาณ 0.5 นาโนเมตรได้
• 2.2 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (scanning
electron microscope : SEM) ใช้ในการศึกษาลักษณะภายนอกของ
วัตถุที่มีขนาดเล็กประมาณ 0.5 นาโนเมตรได้
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน กล้องจุลทรรศน์ชนิดใช้แสง
1.ดูวัตถุขนาดเล็กที่สุดประมาณ
0.2 ไมโครเมตร
2.ใช้แสงธรรมดา มีความยาวคลื่นที่
จากัด
3.เลนส์เป็นเลนส์นูน
4.ขยายได้ประมาณ 600 เท่า
5.ภาพที่เห็นเป็นภาพเสมือน
1.ดูวัตถุขนาดเล็กที่สุดประมาณ
0.0005 ไมโครเมตร
2.ใช้อิเล็กตรอนจากปลายโลหะที่ทาให้
ร้อนจัดด้วยกระแสไฟฟ้า
3.เลนส์เป็นแม่เหล็กไฟฟ้า
4.ขยายได้ถึง 500,000 เท่า
5.ภาพที่เห็นเป็นภาพจริงปรากฏบนฉาก
ตารางเปรียบเทียบการทางานของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนและชนิดใช้แสง
โครงสร้างและหน้าที่ขององค์ประกอบของเซลล์
เยื่อหุ้มเซลล์
นิวเคลียส
ไซโทพลาสซึม
เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม
ไลโซโซม
แวคิวโอล
นิวคลีโอลัส
กอลจิบอดีไมโทคอนเดรีย
ไมโทคอนเดรีย
นิวเคลียส
เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม
คลอโรพลาสต์
เยื่อหุ้มเซลล์
ผนังเซลล์
กอลจิบอดี
แวคิวโอล
นิวคลีโอลัส
การลาเลียงสารของพืช
• พืชจะดูดน้าและแร่ธาตุที่บริเวณปลายรากและจะถูกลาเลียงไปโดยท่อ
ลาเลียงน้า ซึ่งพืชจะมีเนื้อเยื่อลาเลียงอยู่ 2 กลุ่มคือ ไซเลม (Xylem)
เป็นเนื้อเยื่อลาเลียงน้าและแร่ธาตุ และโฟลเอม (Phloem) เป็น
เนื้อเยื่อลาเลียงอาหารที่พืชสร้างขี้นจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
โดยเนื้อเยื่อทั้งสองจะประกอบกันเป็นกลุ่มเนื้อเยื่อลาเลียงที่พบทั้งในราก
ลาต้น กิ่ง ใบอย่างต่อเนื่องกัน
โครงสร้างภายในรากพืช (ตัดตามยาว)
1
4
2
3
รากพืชใบเลี้ยงคู่ รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ ลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
การลาเลียงน้าในพืช
โครงสร้างของรากและกระบวนการในการลาเลียงน้าและแร่ธาตุ
1. ขนราก (Root Hair) มีลักษณะเป็นขนเส้นเล็กเป็นฝอยจานวนมากอยู่
รอบปลายราก ช่วยเพิ่มพื้นที่ผิวในการสัมผัสน้าและแร่ธาตุต่าง ๆ ในดิน
ได้มากขึ้น ซึ่งน้าเข้าสู่รากทางขนรากได้โดย
- กระบวนการออสโมซิส (osmosis)
- การแพร่ธรรมดา (diffusion)
- กระบวนการออสโมซิส (osmosis) คือ การแพร่ของน้า
ผ่านเยื่อกั้นบาง ๆ จาก
น้ามาก(ความเข้มข้นน้อย)  น้าน้อย(ความเข้มข้นมาก)
- การแพร่ธรรมดา (diffusion) คือ การกระจายอนุภาคของ
สารบริเวณที่มี ความเข้มข้นมาก ความเข้มข้นน้อย
2. กระบวนการดูดน้าและแร่ธาตุ พืชจะดูดน้าด้วยวิธีการออสโมซิส และมี
การดูดแร่ธาตุใช้วิธีการแพร่ ซึ่งจะถูกลาเลียงจากรากขึ้นสู่ลาต้น ไปกิ่ง
ก้าน และใบ ผ่านทางไซเลม (Xylem) โดยอาศัยกระบวนการต่างๆคือ
- แรงดึงจากการคายน้า (TRANSPIRATION PULL) เมื่อพืชมี
การคายน้าทางปากใบ
- แรงดันราก (ROOT PRESSURE) เมื่อรากดูดน้าเข้าสู่ราก
มากๆ จะเกิดแรงดันน้าเคลื่อนที่เข้าไปสู่เซลล์ถัดไปตามท่อลาเลียงน้าสู่ยอด
- แรงแคพิลลารี (CAPILLARY ACTION) เกิดจากแรงดึงดูด
ระหว่างโมเลกุลของน้ากับผนังด้านข้างหลอดในท่อลาเลียงของไซเลม
การคายน้า
แรงแคพิลลารี
ออสโมซิส และ
แรงดันราก
ท่อลาเลียงน้าและแร่ธาตุ (xylem) เป็นเนื้อเยื่อที่ทาหน้าที่ลาเลียงน้าและแร่ธาตุต่าง ๆ
ทั้งสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ โดยท่อลาเลียงน้าและแร่ธาตุประกอบด้วยเซลล์ 4 ชนิด
1.Tracheid
2.Vessel 3.Xylem parenchyma
4.Xylem fiber
เซลล์ที่ยังมีชีวิต คือ xylem parenchyma
เซลล์ที่ตายแล้ว คือ tracheid vessel และ xylem fiber
การลาเลียงอาหารในพืช
• เมื่อพืชสังเคราะห์ด้วยแสงจะได้น้าตาลกลูโคส ซึ่งน้าตาลกลูโคสจะถูก
ลาเลียงไปตาม กิ่ง ก้านและลาต้นผ่านทางกลุ่มเซลล์ที่ทาหน้าที่เป็นท่อ
ลาเลียงอาหารหรือโฟลเอม (Phloem) จากใบไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของพืชที่
กาลังมีการเจริญเติบโตและนาไปเก็บสะสมไว้ที่ราก ลาต้น โดยวิธีการแพร่
ท่อลาเลียงอาหาร (phloem) เป็นเนื้อเยื่อที่ทาหน้าที่ลาเลียงอาหารและ
สร้างความแข็งแรงให้ลาต้นพืช ประกอบด้วย
เซลล์ที่ยังมีชีวิต คือ sieve tube, companion cell, phloem parenchyma
เซลล์ที่ตายแล้ว คือ phloem fiber
ความแตกต่างระหว่างโฟลเอมและไซเลม มีดังนี้
• อัตราการลาเลียง อัตราการลาเลียงในโฟลเอมช้ากว่าไซเลมมาก
• ทิศทางการลาเลียง ทิศทางการลาเลียงในโฟลเอมสามารถเกิดขึ้นได้ทั้งใน
แนวขึ้นและแนวลงในเวลาเดียวกัน ส่วนในไซเลมเกิดในแนวขึ้นเพียง
ทิศทางเดียว
• ชนิดของเซลล์ เซลล์ที่ทาหน้าที่ลาเลียงอาหารจะต้องเป็นเซลล์ที่ยังมีชีวิตอยู่
ส่วนเซลล์ที่ใช้ในการลาเลียงน้าและแร่ธาตุมักจะเป็นเซลล์ที่ไม่มีชีวิต
ไซเลม
การคายน้าของพืช (Transpiration)
guard cell
stomata
พืชอาจแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มตามความหนาแน่นของปากใบ ดังนี้
• พืชบกโดยทั่ว ๆ ไป มีจานวนปากใบอยู่ที่ผิวใบด้านล่างมากกว่าผิวใบ
ด้านบน เช่น ชบา มะม่วง ประดู่
• พืชน้าที่มีใบปริ่มน้า มีปากใบที่ผิวใบด้านบน ด้านล่างไม่มีปากใบ เช่น
บัวสาย แพงพวยน้า
• พืชที่เจริญใต้น้า จะไม่มีปากใบ เช่น สาหร่ายหางกระรอก
ปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้าของพืช
1. แสงสว่าง ถ้ามีความเข้มข้นของแสงมาก ปากใบเปิดได้กว้าง พืชคายน้าได้มาก
2. อุณหภูมิของอากาศ ถ้าอุณหภูมิสูง พืชจะคายน้าได้มากและรวดเร็ว
3. ความชื้นในอากาศ ความชื้นสูงพืชจะคายน้าน้อย ถ้าความชื้นน้อยคายน้ามาก
4. ลม ถ้าลมแรง พืชจะคายน้าได้มาก แต่ถ้าลมแรงจนเป็นลมพายุ ปากใบจะปิด
พืชจะคายน้าได้น้อยลง
5. ความกดดันของอากาศ ถ้าความกดดันของอากาศต่า พืชจะคายน้าได้มาก
6. ปริมาณน้าในดิน ถ้ามีน้าน้อย จะทาให้พืชคายน้าน้อยไปด้วย
กัตเตชัน (Guttation)
• การคายน้าของพืชในรูปของหยดน้า มักเกิดในเวลาที่อากาศมีความชื้นมาก
• ทาให้เกิด หยดน้าบนยอดหญ้า, แม่คะนิ้ง
การสืบพันธุ์และการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
กระบวนการทั้งหมดที่เกิดขึ้นในดอก มีดังนี้
1. การแบ่งนิวเคลียสแบบไมโอซิสเพื่อสร้างสปอร์
2. สปอร์เจริญเป็นแกมีโทไฟต์
3. แกมีโทไฟต์แบ่งเซลล์แบบไมโทซิสเพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์
4. มีการปฏิสนธิของเซลล์สืบพันธุ์
5. มีการแปรผันทางพันธุกรรม ทาให้ลูกที่ได้สามารถปรับตัวเข้ากับ
สิ่งแวดล้อมได้ดี
ส่วนประกอบของดอก
ชนิดของดอก
ดอกเดี่ยว (Solitary Flower) ดอกช่อ (Inflorescence Flower)
1. พิจารณาจากจานวนดอกบนหนึ่งก้าน
2. พิจารณาส่วนประกอบทั้ง 4 ส่วนของดอก ได้แก่ กลีบเลี้ยง กลีบดอก
เกสรตัวผู้ และเกสรตัวเมีย เป็นเกณฑ์
2.1 ดอกสมบูรณ์ หรือดอกครบส่วน (Complete Flower)
2.2 ดอกไม่สมบูรณ์ (Incomplete Flower)
3. พิจารณาชนิดของเกสรตัวเมีย และเกสรตัวผู้ เป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น
3.1 ดอกสมบูรณ์เพศ (Perfect Flower)
3.2 ดอกไม่สมบูรณ์เพศ (Imperfect Flower)
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของพืชมีดอก
การถ่ายละอองเรณูและการปฏิสนธิ
Double fertilization
1. egg + sperm nucleus  embryo (ต้นอ่อน)
2. polar nuclers + sperm nucleus  endosperm
ออวุล  เมล็ด (Seed) รังไข่  ผล (Fruit)
ผล (fruit)ผลเดี่ยว (simple fruit)
ผลกลุ่ม (aggregate fruit)
ผลรวม (multiple fruit)
parthenocarpic fruit
แบบวัฏจักรชีวิตแบบสลับ (Alternation of generation)
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
1. การเคลื่อนไหวที่มีทิศทางสัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า หรือการเบน (Tropism)
เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าแบบมีทิศทางแบ่งได้เป็น การเบนเข้าหาสิ่งเร้า (positive)
หรือ เบนออกจากสิ่งเร้า (negative) ซึ่งแบ่งได้หลายอย่าง ตามชนิดของสิ่งเร้า
เช่น การเบนเนื่องจากแสง,การเบนเนื่องจากความโน้มถ่วง,การเบนเนื่องจากสารเคมี
การเบนเนื่องจากการสัมผัส,การเบนตอบสนองต่อความร้อน,การเบนตอบสนอง
ความชื้น เป็นต้น
2. การเคลื่อนไหวของพืชแบบไม่สัมพันธ์ต่อสิ่งเร้า (nastic movment) เช่น
การบานกลางวันการหุบกลางคืน, การบานเมื่ออุ่น, การหุบเพราะสัมผัส,
การหุบเพราะขาดน้า, การหุบบานเนื่องจากแรงดันเต่ง
สารควบคุมการเจริญเติบโต (plant growth regulators)
1. ออกซิน (Auxin) สร้างขึ้นจากบริเวณปลายยอดพืช แล้วขนส่งจาก
ปลายยอดสู่ปลายราก ทาหน้าที่เกี่ยวกับการขยายขนาดของเซลล์ ยับยั้งการ
แตกของตาข้าง ฮอร์โมนที่พืชสร้างขึ้นก็คือ ไอเอเอ (IAA)
2. ไซโตไคนิน (Cytokinin) เป็นสารที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับการแบ่งเซลล์
ของพืช ชะลอการแก่ชราและกระตุ้นการแตกของตาข้าง พบมากในบริเวณ
เนื้อเยื่อเจริญและในเอ็มบริโอ
3. จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) เป็นสารที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับการยืดตัว
ของเซลล์ (Cell elongation) ทาลายการพักตัวของพืช กระตุ้นการออก
ดอกของพืชบางชนิด และยับยั้งการออกดอกของพืชบางชนิด
4. เอทิลีน (Ethylene) เอทิลีนเป็นก๊าซชนิดหนึ่งและจัดเป็นฮอร์โมน
พืช โดยมีผลควบคุมการแก่ชรา การสุก การออกดอกของพืชบางชนิด และ
เกี่ยวข้องกับการหลุดร่วงของใบ ดอก ผล การเหลืองของใบ การงอกของหัว
พืช และเมล็ดพืชบางชนิด สร้างมากในส่วนของพืชที่กาลังเข้าสู่ระยะชรา
ภาพ (Senescence) เช่น ในผลแก่หรือใบแก่ใกล้หลุดร่วง ใช้การบ่ม
ผลไม้ การเร่งการออกดอกของสับปะรด
5. กรดแอบไซซิก (Abscisic acid) สารกลุ่มนี้ทาหน้าที่เกี่ยวกับการ
ยับยั้งการแบ่งเซลล์ และการเติบโตของเซลล์ ทาให้เกิดการพักตัว
(Dormancy) และเกี่ยวข้องกับการหลุดร่วงของอวัยวะพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
• คือ กระบวนการนาเอาพลังงานแสงสว่างมาใช้ในการสร้างอาหารพวก
คาร์โบไฮเดรตของพืชสีเขียว จากวัตถุดิบคือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน้า
• ผลที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสง คือ น้าตาลโมเลกุลเดี่ยว
น้าและแก๊สออกซิเจน
ปัจจัยที่สาคัญในการสร้างอาหารของพืช
1. คลอโรฟิลล์ (Chlorophyll) เป็นสารประกอบพวกรงควัตถุมีสีเขียว เป็น
โปรตีนที่มีแมกนีเซียม (Mg) เป็นองค์ประกอบอยู่ภายในโมเลกุล ไม่
ละลายน้าแต่สามารถละลายได้ในตัวทาละลายอินทรีย์ มีหลายชนิด คือ
chlorophyll a, b, c และ d โดย chlorophyll a เป็นศูนย์กลาง
ของระบบแสง
2. แสงสว่าง (Light) เป็นผู้ให้พลังงานสาหรับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ระหว่างน้าและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นวัตถุดิบสาคัญในการสร้าง
น้าตาลกลูโคส โดยมีคลอโรฟิลล์ทาหน้าที่เป็นตัวรับพลังงานแสง
3. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นวัตถุดิบสาหรับการสร้างอาหารของ
พืชทาหน้าที่เป็นแหล่งคาร์บอน (C) สาหรับการสร้างสารประกอบ
คาร์โบไฮเดรต (น้าตาลและแป้ง)
4. น้า (H2O) เป็นวัตถุดิบสาหรับการสร้างอาหารของพืชโดยเป็นสารที่ให้
ไฮโดรเจน(H) เพื่อรวมตัวกับคาร์บอน(C) จากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
(CO2) แล้วสร้างเป็นสารอาหารคือ คาร์โบไฮเดรต
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชพัน พัน
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)Pinutchaya Nakchumroon
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1Niwat Yod
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนดอกหญ้า ธรรมดา
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์Peangjit Chamnan
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 

What's hot (20)

สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหารใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหาร
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 

Viewers also liked

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2Thanyamon Chat.
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightThanyamon Chat.
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงThanyamon Chat.
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plantThanyamon Chat.
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายThanyamon Chat.
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankThanyamon Chat.
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome updateThanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 

Viewers also liked (19)

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต2
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 

Similar to วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1

พืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเราพืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
ส่วนประกอบของพืช
ส่วนประกอบของพืชส่วนประกอบของพืช
ส่วนประกอบของพืชLUXSI111
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2Naddanai Sumranbumrung
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืชWichai Likitponrak
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
Responseของพืช
ResponseของพืชResponseของพืช
ResponseของพืชIssara Mo
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 

Similar to วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1 (20)

พืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเราพืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
ส่วนประกอบของพืช
ส่วนประกอบของพืชส่วนประกอบของพืช
ส่วนประกอบของพืช
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
Handling and nama plant
Handling and nama plantHandling and nama plant
Handling and nama plant
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
Responseของพืช
ResponseของพืชResponseของพืช
Responseของพืช
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 

More from Thanyamon Chat.

timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesisThanyamon Chat.
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plantThanyamon Chat.
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantThanyamon Chat.
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leafThanyamon Chat.
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นThanyamon Chat.
 

More from Thanyamon Chat. (18)

c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesis
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 

วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1