SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 18
นางสายพิน วงษารัตน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนแม่ลาววิทยาคม อำเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต  2 จัดทำโดย
ภาวะโลกร้อนภายในช่วง  10  ปีนับตั้งแต่ปี พ . ศ . 2533  จนถึงปัจจุบัน ได้มีการบันทึกปีที่มีอากาศร้อนที่สุดถึง  3  ปีคือ ปี พ . ศ . 2533  พ . ศ .2538  และ พ . ศ . 2540  แม้ว่าพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศยังมีความไม่แน่นอนหลายประการ แต่การถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์ได้เปลี่ยนหัวข้อจากคำถามที่ว่า  " โลกกำลังร้อนขึ้นจริงหรือ "  เป็น  " ผลกระทบจากการที่โลกร้อนขึ้จะส่งผลร้ายแรงและต่อเนื่องต่อสิ่งที่มีชีวิตในโลกอย่างไร "  ดังนั้น ยิ่งเราประวิงเวลาลงมือกระทำการแก้ไขออกไปเพียงใด ผลกระทบที่เกิดขึ้นก็จะยิ่งร้ายแรงมากขึ้นเท่านั้น และผู้ที่จะได้รับผลกระทบมากที่สุดก็คือ ลูกหลานของพวกเราเอง คณะกรรมการของรัฐบาลนานาชาติว่าด้วยเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ  (IPCC)  ที่มีองค์การด้านวิทยาศาสตร์ ได้ร่วมมือกับองค์การสหประชาชาติ เฝ้าสังเกตผลกระทบต่างๆ และได้พบหลักฐานใหม่ที่แจ่มชัดว่า ภาวะโลกร้อนขึ้นในช่วง  50  กว่าปีมานี้ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการกระทำของมนุษย์ ซึ่งส่งผลกระทบอย่างต่อเนื่องให้อุณหภูมิของโลกเพิ่มขึ้นในทุกหนทุกแห่ง ประมาณ  1.4-5.8  องศาเซลเซียส  สภาพภูมิอากาศไม่ได้เปลี่ยนแปลงไปทีละเล็กทีละน้อย แต่เปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงและบ่อยครั้ง และรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดได้แก่ ความแห้งแล้งอย่างรุนแรง วาตภัย อุทกภัย พายุฝนฟ้าคะนอง พายุทอร์นาโด แผ่นดินถล่ม และการเกิดพายุรุนแรงฉับพลัน จากภาวะอันตรายเหล่านี้พบว่า ผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ที่เสี่ยงกับการเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว ซึ่งได้รับผลกระทบมากกว่าพื้นที่ส่วนอื่นๆ ยังไม่ได้รับการเอาใจใส่และช่วยเหลือเท่าที่ควร นอกจากนี้ ยังมีการคาดการณ์ว่าอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้นเป็นเหตุให้ปริมาณผลผลิตเพื่อการบริโภคโดยรวมลดลง ซึ่งทำให้จำนวนผู้อดอยากหิวโหยเพิ่มขึ้นอีก  60-350  ล้านคน
  ในประเทศไทยและฟิลิปปินส์ มีการจัดตั้งโครงการพลังงานต่างๆ และการดำเนินงานของโครงการเหล่านี้ ได้ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์อย่างเห็นได้ชัด ตัวอย่างเช่น การเปลี่ยนแปลงของฝนที่ไม่ตกตามฤดูกาล และปริมาณน้ำฝนที่ตกในแต่ละช่วงได้เปลี่ยนแปลงไป การบุกรุกและทำลายป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ ระดับน้ำทะเลและอุณหภูมิของน้ำทะเลที่สูงขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบอย่างมากต่อระบบนิเวศน์ตามแนวชายฝั่ง และการที่อุณหภูมิของน้ำทะเลสูงขึ้น ได้ทำให้น้ำทะเลเปลี่ยนสี ดังนั้น แนวปะการังต่างๆ จึงได้รับผลกระทบและถูกทำลายเช่นกัน ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีชายฝั่งทะเลยาวประมาณ  2,490  กิโลเมตร และเป็นแหล่งที่สำคัญมากต่อเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การประมง การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และมีฤดูกาลที่ไม่แน่นอนที่ส่งผลกระทบต่อการทำเกษตรกรรม มีผู้คาดการณ์ว่า หากระดับน้ำทะเลสูงขึ้นอีกอย่างน้อย  1  เมตรภายในทศวรรษหน้า หาดทรายและพื้นที่ชายฝั่งในประเทศไทยจะลดน้อยลง สถานที่ตากอากาศชายทะเล รวมถึงอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ เช่น พัทยา และ ระยองจะได้รับผลกระทบโดยตรง แม้แต่กรุงเทพมหานครก็ไม่สามารถหลีกเลี่ยงจากผลกระทบของระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้นนี้เช่นกัน
ภาวะโลกร้อน   (Global Warming)  หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง  (Climate Change)  เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จากอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ สาเหตุหลักของปัญหานี้ มาจาก ก๊าซเรือนกระจก ครับ  (Greenhouse gases)  ปรากฏการณ์เรือนกระจก มีความสำคัญกับโลก เพราะก๊าซจำพวก คาร์บอนไดออกไซด์ หรือ มีเทน จะกักเก็บความร้อนบางส่วนไว้ในในโลก ไม่ให้สะท้อนกลับสู่บรรยากาศทั้งหมด มิฉะนั้น โลกจะกลายเป็นแบบดวงจันทร์ ที่ตอนกลางคืนหนาวจัด  ( และตอนกลางวันร้อนจัด เพราะไม่มีบรรยากาศกรองพลังงานจากดวงอาทิตย์ )  ซึ่งการทำให้โลกอุ่นขึ้นเช่นนี้ คล้ายกับหลักการของเรือนกระจก  ( ที่ใช้ปลูกพืช )  จึงเรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก  (Greenhouse Effect)  ภาพจาก  Global Warming Exhibition of National Academy of Science (US)
เหตุที่เกิดปรากฏการณ์เหล่านี้ในทางวิทยาศาสตร์ ระบุว่า เป็น “ภาวะโลกร้อน” อันเป็นผลจากการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าซ อื่น ๆ ที่มีคุณสมบัติดักจับความร้อนออกไปยังบรรยากาศของโลก ก๊าซเหล่านี้จะรวมตัวกันจนกลายเป็นผ้าห่มหนา ๆ ดักจับความร้อนของดวงอาทิตย์ และทำให้โลกมีอุณหภูมิร้อนขึ้น ยิ่งก๊าซเหล่านี้เพิ่มมากขึ้น ความร้อนก็จะเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ซึ่งเมื่อเกิดปรากฎการณ์เหล่านี้อาจส่งผลให้บางพื้นที่กลายเป็นทะเลทราย สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถปรับตัวได้ก็จะสูญพันธ์ บางพื้นที่อาจประสบปัญหาน้ำท่วม น้ำแข็งขั้วโลกและบนยอดเขาสูงละลาย ทำให้ปริมาณ น้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้น พื้นที่ชายฝั่งทะเลได้รับผลกระทบ บางพื้นที่อาจจมหายไปอย่างถาวร และประชาชนอาจจะเจอคลื่นความร้อนที่มีอำนาจทำลายล้างแรงกว่าที่เคยพบมา เหตุการภัยพิบัติทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นกำลังเตือนภัยอะไรเราชาวโลก ซึ่งหากเรายังปล่อยให้เกิด  " ภาวะโลกร้อน "  อยู่เช่นนี้ เชื่อได้ว่า อาจเกิดปรากฎการณ์ความจริง ช็อกหัวใจชาวโลกขึ้นอีกครั้งแน่นอน ทางแก้ที่ดีที่สุดก็คือ ทุกคนต้องลดใช้พลังงาน อันเป็นบ่อเกิดของมลพิษเพื่อให้โลกได้ปรับสมดุล และช่วยกันปลูกป่า เพื่อให้ธรรมชาติกลับคืนมาโดยเร็วที่สุด ไม่งั้น หากเกิน  10  ปี โลกเราอาจเข้าสู่จุดที่ไม่ สามารถกลับตัวได้
ปัญหาด้านสุขภาพก็เป็นปัญหาร้ายแรงเรื่องหนึ่งที่เกิดจากจากสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงนี้ด้วย เนื่องจากอุณหภูมิและความชื้นที่สูงขึ้นส่งผลให้จำนวนยุงเพิ่มขึ้น นำไปสู่การแพร่ระบาดของไข้มาเลเรียและไข้ส่า นอกจากนี้โรคที่เกี่ยวข้องกับน้ำ เช่น อหิวาห์ตกโรค ซึ่งจัดว่าเป็นโรคที่แพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็วโรคหนึ่งในภูมิภาคนี้ คาดว่าจะแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องเพราะอุณหภูมิและความชื้นที่สูงขึ้น คนยากจนเป็นกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงสูงต่อผลกระทบของโรค แต่การให้ความรู้ในด้านการดูแลรักษาสุขภาพที่ดียังมีไม่เพียงพอ ปัจจุบันนี้สัญญาณเบื้องต้นของสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปได้ปรากฏขึ้นอย่างแจ่มชัด ดังนั้น สมควรหรือไม่ที่จะรอจนกว่าจะค้นพบข้อมูลมากขึ้น หรือ มีความรู้ในวิธีแก้ไขมากขึ้น เพราะ ณ เวลานั้นก็อาจสายเกินไปแล้วที่จะแก้ไขได้  ภาวะโลกร้อน” ความจริงช็อกโลก !!! สรุปประเด็นข่าวโดยกระปุกดอทคอม ภาพประกอบทางอินเทอร์เน็ต ขณะที่บ้านเราเจอภาวะฝนตกน้ำท่วม ไม่มีฤดูหนาว หรือแม้กระทั่งแผ่นดินไหวที่ จ . เชียงใหม่ อีกด้านในซีกโลกตะวันตก ผู้คนกำลังเผชิญหน้ากับภาวะโลกร้อน ร้อนจนร่างกายทนไม่ไหว ทำให้คนในยุโรปเสียชีวิตถึง  30,000  ศพ และในอินเดีย มีผู้เสียชีวิตไป  1,500  ศพ เมื่อปี  2003  ที่ผ่านมา ผลกระทบด้านสุขภาพ
[object Object],[object Object],เศรษฐกิจ
การแก้ต่างและข้อสรุปถูกวิพากษ์วิจารณ์โดยนักเศรษฐศาสตรืคนอื่นหลายคนที่ส่วนใหญ่กล่าวถึงสมมุติฐานการสอบทานของการให้ค่าส่วนลดและการเลือกเหตุการณ์จำลอง ในขณะที่คนอื่นๆ สนับสนุนความพยายามโดยรวมที่จะแจงนับความเสี่ยงทางเศรษฐกิจแม้จะไม่ได้ตัวเลขที่เฉพาะ ในข้อสรุปค่าความเสียหายทางเศรษฐกิจพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ โครงการสิ่งแวดล้อมสหประชาชาติ  (United Nations Environment Programme)  เน้นความเสี่ยงของผู้ประกัน ผู้ประกันช่วงและธนาคารเกี่ยวกับความเสียหายอย่างมากจากสถานการณ์ลมฟ้าอากาศและการบาดเจ็บ ในภาคเศรษฐกิจอื่นก็มีทีท่าที่จะประสบความยากลำบากเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ รวมทั้งการเกษตรกรรมและการขนส่งซึ่งตกอยู่ในภาวะการเสี่ยงเป็นอย่างมากทางเศรษฐกิจ
[object Object],ความมั่นคง
ทุกวันนี้ คงสามารถรู้สึกได้กันทุกคนถึง ภาวะโลกร้อน ซึงปัญหาดังกล่าวทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นทุกวัน ถ้าเราสังเกตุจากข่าวประจำวัน จะทราบถึงความผิดปกติของโลกเราน้ำท่วม โคลนถล่ม แผ่นดินไหว อากาศร้อนผิดปกติ ที่อินเดียปัจจุบันอุณหภูมิสูงถึง 50  องศาเซลเซียส เกิดจากผลผลิตทางอุตสาหกรรมซึ่งเกิดขึ้นทุกวัน ความร้อนต่างๆ และ สารเคมีที่ลอยสู่อากาศปกคลุมโลก ขอเสนอ  10  วิธีเพื่อลดภาวะโลกร้อน 1.  ลดการใช้พลังงานที่ไม่จำเป็นจากเครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น แอร์ เครื่องปรับอากาศ พัดล ลม หากเป็นไปได้ ใช้วิธี เปิดหน้าต่าง ซึ่งบางช่วงที่อากาศดีๆ สามารถทำได้ เช่นหลัง ฝนตก หรือช่วงอากาศเย็น เป็นการลดค่าไฟ และ ลดความร้อน เนื่องจากหลักการ ทำความเย็นนั้นคือ การถ่ายเทความร้อนออก ดังนั้นเวลาเราใช้แอร์ จะเกิดปริมาณความ ร้อนบริเวณหลังเครื่องระบายความร้อน 2.  เลือกใช้ระบบขนส่งมวลชน ในกรณีที่สามารถทำได้ ได้แก่ รถไฟฟ้า รถตู้ รถเมลล์ เนื่องจากพาหนะ แต่ละคัน จะเกิดการเผาผลาญเชื้อเพลิง ซึ่งจะเกิดความร้อน และ ก็ซ คาร์บอนไดออกไซด์ ดังนั้นเมื่อลดปริมาณจำนวนรถ ก็จะลดจำนวนการเผาไหม้บนท้อง ถนน ในแต่ละวันลงได้ " 10 วิธีแก้ภาวะโลกร้อน ปัญหาใหญ่ของสังคมทุนนิยม "
3.  เวลาเดินเข้าห้างสรรพสินค้า หากมีใครเปิดประตูทิ้งไว้ ให้ช่วยปิดด้วยเนื่องจาก ห้างสรรพสินค้าแต่ละห้างนั้น มีพื้นที่มาก กว่าจะทำให้เกิดความเย็นได้ ก็จะก่อให้เกิด เกิดความร้อนปริมาณมาก ดังนั้นเมื่อมีคนเปิดประตูทิ้งไว้ แอร์ก็จะยิ่งทำงานมากขึ้น เพื่อให้ได้ความเย็นตามที่ระบุไว้ในเครื่อง ซึ่งประตูที่เปิดอยู่จะนำความร้อนมาสู่ตัวห้าง เครื่องก็จะทำงานวนอยู่อย่างนั้น ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดความร้อนอีกปริมาณมากต่อสภาพ ภายนอก 4.  พยายามรับประทานอาหารให้หมด เศษอาหารที่เหลือทิ้งไว้จะก่อให้เกิดก๊าซมีเทน ซึ่งก่อให้เกิดปริมาณความร้อนต่อโลก เมื่อหลายคนรวมๆกันก็เป็นปริมาณความร้อนที่มาก 5.  ช่วยกันปลูกต้นไม้ เพราะต้นไม้จะคายความชุ่มชื้นให้กับโลก และ ช่วยดูดก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นสาเหตุภาวะเรีอนกระจก 6.  การชวนกันออกไปเที่ยวธรรมชาติภายนอก ก็ช่วยลดการใช้ปริมาณไฟฟ้าได้
7.  เวลาซื้อของพยายามไม่รับภาชนะที่เป็นโฟม หรือกรณีที่เป็นพลาสติก เช่นขวดน้ำ พยายามนำกลับมาใช้อีก เนื่องจากพลาสติกเหล่านี้ทำการย่อยสลายยาก ต้องใช้ปริมาณ ความร้อน เหมือนกับตอนที่ผลิตมันมา ซึ่งจะก่อให้เกิดความร้อนกับโลกของเรา เราสามารถนำกลับมาใช้เป็นภาชนะใส่น้ำแทนกระติกน้ำได้ หรือใช้ปลูกต้นไม้ก็ได้ 8.  ไม่รับประทานเนื้อสัตว์ที่เคี้ยวเอื้อง เนื่องจากสัตว์เหล่านี้ อุจจาระจะปล่อยก๊าซมีเทนอ ออกมา ดังนี้นอุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์ประเภทนี้ เมื่อมีจำนวนมากก็จะก่อให้เกิดความร้อน กับโลกเรามาก 9.  ใช้กระดาษด้วยความประหยัด กระดาษแต่ละแผ่น ทำมาจากการตัดต้นไม้ ซึ่งเป็น เสมือนปราการสำคัญของโลกเรา ดังน้นการใช้กระดาษแต่ละแผ่นควรใช้ให้ประหยัด ทั้งด้านหน้าหลัง ใช้เสร็จควรนำมาเป็นวัสดุรอง หรือ นำมาเช็ดกระจกก็ได้ นอกจากนี้ การนำกระดาษไปเผาก็จะเกิดความร้อนต่อโลกเราเช่นกัน 10.  ไม่สนับสนุนกิจการใดๆ ที่สิ้นเปลืองทรัพยากรของโลกเรา และควรสนับสนุนกิจการ ที่มีการคำนึงถึงการรักษาสิ่งแวดล้อม
-  เครื่องปรับอากาศ เช่นเดียวกัน สร้างให้เกิดความร้อนต่อโลก เนื่อง เป็นการระบายความร้อนจากบริเวณที่เราต้องการให้เย็นสู่ - ภายนอก ก็คือ สิ่งแวดล้อมนั่นเองยิ่งปริมาณพื้นที่มาก ปริมาณความร้อนที่เกิดจากการปรับอากาศยิ่งสูง -  ปริมาณ พลาสติก ที่ผลิตกันอยู่ทุกวันนี้ เป็นสิ่งที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ตาม ธรรมชาติ ต้องใช้ความร้อนเผาไหม้ในการทำลาย ซึ่งนอกจากใช้ความร้อนจำนวนมากแล้ว ยังเกิดสารเคมีลอยขึ้นไปปกคลุมโลกของเรา กลายเป็นลักษณะของกระจก -  ยานพาหนะ ที่ใช้น้ำมันในปัจจุบัน นอกจากความร้อนระหว่างการเผาไหม้ แล้วยังเกิด ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ซึ่งส่งผลต่อภาวะเรือนกระจก ดังนั้น การใช้ การเดินทางโดยระบบขนส่งมวลชน ไปกันหลายๆคน ต่อครั้ง ก็จะลดปริมาณการเผา ไหม้ -  และ กิจกรรมอื่นๆ ที่ได้กล่าวมาที่ทำให้เกิดความร้อน และ สารเคมี ย่อมส่งผลต่อภาวะโลกร้อน  สรุปว่า - กิจกรรมจากเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ นั้น จะส่งผลให้เกิดความร้อนต่อโลกเรา
แต่การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของ  CO2  ที่ออกมาจากโรงงานอุตสาหกรรม รถยนตร์ หรือการกระทำใดๆที่เผาเชื้อเพลิงฟอสซิล  ( เช่นถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ หรือสารประกอบไฮโดรคาร์บอน  )  ส่งผลให้ระดับปริมาณ  CO2  ในปัจจุบันสูงเกิน  300 ppm (300  ส่วนในล้านส่วน )  เป็นครั้งแรกในรอบกว่า  6  แสนปี  ซึ่งคาร์บอนไดออกไซด์ที่มากขึ้นนี้ ได้เพิ่มการกักเก็บความร้อนไว้ในโลกของเรามากขึ้นเรื่อยๆ จนเกิดเป็น ภาวะโลกร้อน ดังเช่นปัจจุบัน  ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าซเรือนกระจกอื่นๆ เป็นตัวการกักเก็บความร้อนจากแสงอาทิตย์ไว้ไม่ให้คายออกไปสู่บรรยากาศ  ซึ่งเป็นสิ่งที่ดี เพราะทำให้โลกของเรามีอุนหภูมิอบอุ่น สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้แต่ปัจจุบัน การเผาผลาญเชื้อเพลงฟอสซิลต่างๆ เช่น ถ่านหิน น้ำมันเชื้อเพลิง และการตัดไม้ทำลายป่า  ซึ่งการกระทำเหล่านี้ส่งผลให้ปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ เพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล อันส่งผลกระทบต่างๆมากมายไม่ว่าจะเป็นอุณหภูมิของโลกที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ภัยธรรมชาติต่างๆเกิดบ่อยขึ้น  และนี่คือสิ่งที่เกิดขึ้น
-  จำนวนพายุ  Hurricane Category 4  และ  5  เพิ่มขึ้นสองเท่า ในสามสิบปีที่ผ่านมา  -  เชื้อมาลาเรียได้แพร่กระจายไปในที่สูงขึ้น แม้แต่ใน  Columbian, Andes  ที่สูง  7000  ฟุตเหนือระดับน้ำทะเล  -  น้ำแข็ง ใน ธารน้ำแข็ง เขตกรีนแลนด์ ละลายเพิ่มมากขึ้นเป็นสองเท่าในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา  -  สัตว์ต่างๆ อย่างน้อย  279  สปีชี่ส์กำลังตอบสนองต่อ ภาวะโลกร้อน โดยพยายามย้ายถิ่นที่อยู่
-  อัตรา ผู้เสียชีวิต จาก โลกร้อน จะพุ่งไปอยู่ที่  300000  คนต่อปี ใน  25  ปีต่อจากนี้  -  ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น  20  ฟุต  -  คลื่นความร้อน จะมาบ่อยขึ้นและ รุนแรง ขึ้น  -  ภาวะฝนแล้ง และไฟป่าจะเกิดบ่อยขึ้น  -  มหาสมุทรอาร์กติกจะไม่เหลือน้ำแข็ง ภายในฤดูร้อน  2050  -  สิ่งมีชีวิตกว่าล้านสปีชี่ส์เสี่ยงที่จะสูญพันธุ์ การแก้ปัญหาโลกร้อน ไม่ใช่แค่คิดจะทำ แต่ต้องลงมือทำจริง   หากเรายังเพิกเฉยต่อสิ่งที่เกิดขึ้น รับรองได้เลยว่าจะเกิดเรื่องอย่างนี้แน่
จบการเสนอ
ขอบคุณคะ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนguidena
 
โลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อน
โลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อนโลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อน
โลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อนPreyaporn Wisetsing
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลพัน พัน
 
สรุปโครงการปลูกป่าด้วยมือเรา
สรุปโครงการปลูกป่าด้วยมือเราสรุปโครงการปลูกป่าด้วยมือเรา
สรุปโครงการปลูกป่าด้วยมือเราSudarat Sangsuriya
 
Cc parliament seminar[1]
Cc parliament seminar[1]Cc parliament seminar[1]
Cc parliament seminar[1]numpueng
 
โครงการปลูกป่าด้วยมือเรา
โครงการปลูกป่าด้วยมือเราโครงการปลูกป่าด้วยมือเรา
โครงการปลูกป่าด้วยมือเราSudarat Sangsuriya
 
โครงการปลูกป่าด้วยมือเรา
โครงการปลูกป่าด้วยมือเราโครงการปลูกป่าด้วยมือเรา
โครงการปลูกป่าด้วยมือเราSudarat Sangsuriya
 
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไรภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไรNipitapon Khantharot
 
Klimat i förändring
Klimat i förändringKlimat i förändring
Klimat i förändringMin Duan
 

Mais procurados (12)

ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
----------(2)
 ----------(2) ----------(2)
----------(2)
 
โลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อน
โลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อนโลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อน
โลกเยาว์วัยห่างไกลโลกร้อน
 
Global warming 2
Global warming 2Global warming 2
Global warming 2
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
 
สรุปโครงการปลูกป่าด้วยมือเรา
สรุปโครงการปลูกป่าด้วยมือเราสรุปโครงการปลูกป่าด้วยมือเรา
สรุปโครงการปลูกป่าด้วยมือเรา
 
Cc parliament seminar[1]
Cc parliament seminar[1]Cc parliament seminar[1]
Cc parliament seminar[1]
 
โครงการปลูกป่าด้วยมือเรา
โครงการปลูกป่าด้วยมือเราโครงการปลูกป่าด้วยมือเรา
โครงการปลูกป่าด้วยมือเรา
 
โครงการปลูกป่าด้วยมือเรา
โครงการปลูกป่าด้วยมือเราโครงการปลูกป่าด้วยมือเรา
โครงการปลูกป่าด้วยมือเรา
 
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไรภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
 
Global warming 31 37
Global warming 31 37Global warming 31 37
Global warming 31 37
 
Klimat i förändring
Klimat i förändringKlimat i förändring
Klimat i förändring
 

Destaque

ZFConf 2011: Behavior Driven Development в PHP и Zend Framework (Константин К...
ZFConf 2011: Behavior Driven Development в PHP и Zend Framework (Константин К...ZFConf 2011: Behavior Driven Development в PHP и Zend Framework (Константин К...
ZFConf 2011: Behavior Driven Development в PHP и Zend Framework (Константин К...ZFConf Conference
 
Guia tecnica de control de signos vitales
Guia tecnica de control de signos vitalesGuia tecnica de control de signos vitales
Guia tecnica de control de signos vitalesMANUEL RIVERA
 
Ecobuild Londres
Ecobuild LondresEcobuild Londres
Ecobuild LondresEva Cajigas
 
Agarkov Lowcost Marketing Seminar
Agarkov Lowcost Marketing SeminarAgarkov Lowcost Marketing Seminar
Agarkov Lowcost Marketing Seminarevedy
 
Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2
Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2
Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2Marko Suomi
 
Sentencia champion
Sentencia championSentencia champion
Sentencia championoscargaliza
 
Updated registration packet2010
Updated registration packet2010Updated registration packet2010
Updated registration packet2010Sandy Chamber
 
Sana's group's presentation
Sana's group's presentationSana's group's presentation
Sana's group's presentationSana Samad
 
Maestria Clase
Maestria ClaseMaestria Clase
Maestria Clasemartincho
 
Test management
Test managementTest management
Test managementOana Feidi
 
CV_OR(ESP)
CV_OR(ESP)CV_OR(ESP)
CV_OR(ESP)oreyesc
 
Sistemas De Apoio a Decisão
Sistemas De Apoio a DecisãoSistemas De Apoio a Decisão
Sistemas De Apoio a DecisãoWillame Tiberio
 
Cuando la misión de la empresa es preservar
Cuando la misión de la empresa es preservarCuando la misión de la empresa es preservar
Cuando la misión de la empresa es preservarEva Cajigas
 
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)oscargaliza
 
Measuring social media
Measuring social mediaMeasuring social media
Measuring social mediaEmerson Povey
 
Estrategia de innovacion empresarial
Estrategia de innovacion empresarialEstrategia de innovacion empresarial
Estrategia de innovacion empresarialLuisa Rendon
 
Entrevista Silvio Benedetto
Entrevista Silvio BenedettoEntrevista Silvio Benedetto
Entrevista Silvio BenedettoEva Cajigas
 

Destaque (20)

ZFConf 2011: Behavior Driven Development в PHP и Zend Framework (Константин К...
ZFConf 2011: Behavior Driven Development в PHP и Zend Framework (Константин К...ZFConf 2011: Behavior Driven Development в PHP и Zend Framework (Константин К...
ZFConf 2011: Behavior Driven Development в PHP и Zend Framework (Константин К...
 
Guia tecnica de control de signos vitales
Guia tecnica de control de signos vitalesGuia tecnica de control de signos vitales
Guia tecnica de control de signos vitales
 
Ecobuild Londres
Ecobuild LondresEcobuild Londres
Ecobuild Londres
 
Agarkov Lowcost Marketing Seminar
Agarkov Lowcost Marketing SeminarAgarkov Lowcost Marketing Seminar
Agarkov Lowcost Marketing Seminar
 
Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2
Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2
Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2
 
TEMA 1A Vocabulary
TEMA 1A VocabularyTEMA 1A Vocabulary
TEMA 1A Vocabulary
 
Nossa Turminha
Nossa TurminhaNossa Turminha
Nossa Turminha
 
Sentencia champion
Sentencia championSentencia champion
Sentencia champion
 
Updated registration packet2010
Updated registration packet2010Updated registration packet2010
Updated registration packet2010
 
Sana's group's presentation
Sana's group's presentationSana's group's presentation
Sana's group's presentation
 
Maestria Clase
Maestria ClaseMaestria Clase
Maestria Clase
 
Presentatie Lastafel
Presentatie LastafelPresentatie Lastafel
Presentatie Lastafel
 
Test management
Test managementTest management
Test management
 
CV_OR(ESP)
CV_OR(ESP)CV_OR(ESP)
CV_OR(ESP)
 
Sistemas De Apoio a Decisão
Sistemas De Apoio a DecisãoSistemas De Apoio a Decisão
Sistemas De Apoio a Decisão
 
Cuando la misión de la empresa es preservar
Cuando la misión de la empresa es preservarCuando la misión de la empresa es preservar
Cuando la misión de la empresa es preservar
 
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
 
Measuring social media
Measuring social mediaMeasuring social media
Measuring social media
 
Estrategia de innovacion empresarial
Estrategia de innovacion empresarialEstrategia de innovacion empresarial
Estrategia de innovacion empresarial
 
Entrevista Silvio Benedetto
Entrevista Silvio BenedettoEntrevista Silvio Benedetto
Entrevista Silvio Benedetto
 

Semelhante a ภาวะโลกร้อน

โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนโครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนsongpol
 
งานผืน
งานผืนงานผืน
งานผืนTen Love
 
งานปืน
งานปืนงานปืน
งานปืนTen Love
 
เค้าโครงร่างโครงงาน
เค้าโครงร่างโครงงานเค้าโครงร่างโครงงาน
เค้าโครงร่างโครงงานJah Jadeite
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม Aungkana Na Na
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)Aungkana Na Na
 
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่มโครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่มSudarat Sangsuriya
 
การลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนการลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนjzuzu2536
 
โครงงานคอมคู่
โครงงานคอมคู่โครงงานคอมคู่
โครงงานคอมคู่0866589628
 
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อนครู กัน
 
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืนกลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืนfreelance
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวsangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 

Semelhante a ภาวะโลกร้อน (20)

Ddddd
DddddDdddd
Ddddd
 
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนโครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
 
Global warmin-t
Global warmin-tGlobal warmin-t
Global warmin-t
 
งานผืน
งานผืนงานผืน
งานผืน
 
งานปืน
งานปืนงานปืน
งานปืน
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)
 
เค้าโครงร่างโครงงาน
เค้าโครงร่างโครงงานเค้าโครงร่างโครงงาน
เค้าโครงร่างโครงงาน
 
Global warming
Global warmingGlobal warming
Global warming
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
 
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่มโครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
โครงการปลูกป่าด้อยมือเรา รวมเล่ม
 
ONEP-Low Carbon and Sustainable Business
ONEP-Low Carbon and Sustainable BusinessONEP-Low Carbon and Sustainable Business
ONEP-Low Carbon and Sustainable Business
 
การลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนการลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อน
 
โครงงานคอมคู่
โครงงานคอมคู่โครงงานคอมคู่
โครงงานคอมคู่
 
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
 
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืนกลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
 
heat
heatheat
heat
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 

Mais de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Mais de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

ภาวะโลกร้อน

  • 1. นางสายพิน วงษารัตน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนแม่ลาววิทยาคม อำเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 2 จัดทำโดย
  • 2. ภาวะโลกร้อนภายในช่วง 10 ปีนับตั้งแต่ปี พ . ศ . 2533 จนถึงปัจจุบัน ได้มีการบันทึกปีที่มีอากาศร้อนที่สุดถึง 3 ปีคือ ปี พ . ศ . 2533 พ . ศ .2538 และ พ . ศ . 2540 แม้ว่าพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศยังมีความไม่แน่นอนหลายประการ แต่การถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์ได้เปลี่ยนหัวข้อจากคำถามที่ว่า " โลกกำลังร้อนขึ้นจริงหรือ " เป็น " ผลกระทบจากการที่โลกร้อนขึ้จะส่งผลร้ายแรงและต่อเนื่องต่อสิ่งที่มีชีวิตในโลกอย่างไร " ดังนั้น ยิ่งเราประวิงเวลาลงมือกระทำการแก้ไขออกไปเพียงใด ผลกระทบที่เกิดขึ้นก็จะยิ่งร้ายแรงมากขึ้นเท่านั้น และผู้ที่จะได้รับผลกระทบมากที่สุดก็คือ ลูกหลานของพวกเราเอง คณะกรรมการของรัฐบาลนานาชาติว่าด้วยเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) ที่มีองค์การด้านวิทยาศาสตร์ ได้ร่วมมือกับองค์การสหประชาชาติ เฝ้าสังเกตผลกระทบต่างๆ และได้พบหลักฐานใหม่ที่แจ่มชัดว่า ภาวะโลกร้อนขึ้นในช่วง 50 กว่าปีมานี้ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการกระทำของมนุษย์ ซึ่งส่งผลกระทบอย่างต่อเนื่องให้อุณหภูมิของโลกเพิ่มขึ้นในทุกหนทุกแห่ง ประมาณ 1.4-5.8 องศาเซลเซียส สภาพภูมิอากาศไม่ได้เปลี่ยนแปลงไปทีละเล็กทีละน้อย แต่เปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงและบ่อยครั้ง และรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดได้แก่ ความแห้งแล้งอย่างรุนแรง วาตภัย อุทกภัย พายุฝนฟ้าคะนอง พายุทอร์นาโด แผ่นดินถล่ม และการเกิดพายุรุนแรงฉับพลัน จากภาวะอันตรายเหล่านี้พบว่า ผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ที่เสี่ยงกับการเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว ซึ่งได้รับผลกระทบมากกว่าพื้นที่ส่วนอื่นๆ ยังไม่ได้รับการเอาใจใส่และช่วยเหลือเท่าที่ควร นอกจากนี้ ยังมีการคาดการณ์ว่าอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้นเป็นเหตุให้ปริมาณผลผลิตเพื่อการบริโภคโดยรวมลดลง ซึ่งทำให้จำนวนผู้อดอยากหิวโหยเพิ่มขึ้นอีก 60-350 ล้านคน
  • 3. ในประเทศไทยและฟิลิปปินส์ มีการจัดตั้งโครงการพลังงานต่างๆ และการดำเนินงานของโครงการเหล่านี้ ได้ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์อย่างเห็นได้ชัด ตัวอย่างเช่น การเปลี่ยนแปลงของฝนที่ไม่ตกตามฤดูกาล และปริมาณน้ำฝนที่ตกในแต่ละช่วงได้เปลี่ยนแปลงไป การบุกรุกและทำลายป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ ระดับน้ำทะเลและอุณหภูมิของน้ำทะเลที่สูงขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบอย่างมากต่อระบบนิเวศน์ตามแนวชายฝั่ง และการที่อุณหภูมิของน้ำทะเลสูงขึ้น ได้ทำให้น้ำทะเลเปลี่ยนสี ดังนั้น แนวปะการังต่างๆ จึงได้รับผลกระทบและถูกทำลายเช่นกัน ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีชายฝั่งทะเลยาวประมาณ 2,490 กิโลเมตร และเป็นแหล่งที่สำคัญมากต่อเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การประมง การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และมีฤดูกาลที่ไม่แน่นอนที่ส่งผลกระทบต่อการทำเกษตรกรรม มีผู้คาดการณ์ว่า หากระดับน้ำทะเลสูงขึ้นอีกอย่างน้อย 1 เมตรภายในทศวรรษหน้า หาดทรายและพื้นที่ชายฝั่งในประเทศไทยจะลดน้อยลง สถานที่ตากอากาศชายทะเล รวมถึงอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ เช่น พัทยา และ ระยองจะได้รับผลกระทบโดยตรง แม้แต่กรุงเทพมหานครก็ไม่สามารถหลีกเลี่ยงจากผลกระทบของระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้นนี้เช่นกัน
  • 4. ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จากอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ สาเหตุหลักของปัญหานี้ มาจาก ก๊าซเรือนกระจก ครับ (Greenhouse gases) ปรากฏการณ์เรือนกระจก มีความสำคัญกับโลก เพราะก๊าซจำพวก คาร์บอนไดออกไซด์ หรือ มีเทน จะกักเก็บความร้อนบางส่วนไว้ในในโลก ไม่ให้สะท้อนกลับสู่บรรยากาศทั้งหมด มิฉะนั้น โลกจะกลายเป็นแบบดวงจันทร์ ที่ตอนกลางคืนหนาวจัด ( และตอนกลางวันร้อนจัด เพราะไม่มีบรรยากาศกรองพลังงานจากดวงอาทิตย์ ) ซึ่งการทำให้โลกอุ่นขึ้นเช่นนี้ คล้ายกับหลักการของเรือนกระจก ( ที่ใช้ปลูกพืช ) จึงเรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) ภาพจาก Global Warming Exhibition of National Academy of Science (US)
  • 5. เหตุที่เกิดปรากฏการณ์เหล่านี้ในทางวิทยาศาสตร์ ระบุว่า เป็น “ภาวะโลกร้อน” อันเป็นผลจากการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าซ อื่น ๆ ที่มีคุณสมบัติดักจับความร้อนออกไปยังบรรยากาศของโลก ก๊าซเหล่านี้จะรวมตัวกันจนกลายเป็นผ้าห่มหนา ๆ ดักจับความร้อนของดวงอาทิตย์ และทำให้โลกมีอุณหภูมิร้อนขึ้น ยิ่งก๊าซเหล่านี้เพิ่มมากขึ้น ความร้อนก็จะเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ซึ่งเมื่อเกิดปรากฎการณ์เหล่านี้อาจส่งผลให้บางพื้นที่กลายเป็นทะเลทราย สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถปรับตัวได้ก็จะสูญพันธ์ บางพื้นที่อาจประสบปัญหาน้ำท่วม น้ำแข็งขั้วโลกและบนยอดเขาสูงละลาย ทำให้ปริมาณ น้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้น พื้นที่ชายฝั่งทะเลได้รับผลกระทบ บางพื้นที่อาจจมหายไปอย่างถาวร และประชาชนอาจจะเจอคลื่นความร้อนที่มีอำนาจทำลายล้างแรงกว่าที่เคยพบมา เหตุการภัยพิบัติทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นกำลังเตือนภัยอะไรเราชาวโลก ซึ่งหากเรายังปล่อยให้เกิด " ภาวะโลกร้อน " อยู่เช่นนี้ เชื่อได้ว่า อาจเกิดปรากฎการณ์ความจริง ช็อกหัวใจชาวโลกขึ้นอีกครั้งแน่นอน ทางแก้ที่ดีที่สุดก็คือ ทุกคนต้องลดใช้พลังงาน อันเป็นบ่อเกิดของมลพิษเพื่อให้โลกได้ปรับสมดุล และช่วยกันปลูกป่า เพื่อให้ธรรมชาติกลับคืนมาโดยเร็วที่สุด ไม่งั้น หากเกิน 10 ปี โลกเราอาจเข้าสู่จุดที่ไม่ สามารถกลับตัวได้
  • 6. ปัญหาด้านสุขภาพก็เป็นปัญหาร้ายแรงเรื่องหนึ่งที่เกิดจากจากสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงนี้ด้วย เนื่องจากอุณหภูมิและความชื้นที่สูงขึ้นส่งผลให้จำนวนยุงเพิ่มขึ้น นำไปสู่การแพร่ระบาดของไข้มาเลเรียและไข้ส่า นอกจากนี้โรคที่เกี่ยวข้องกับน้ำ เช่น อหิวาห์ตกโรค ซึ่งจัดว่าเป็นโรคที่แพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็วโรคหนึ่งในภูมิภาคนี้ คาดว่าจะแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องเพราะอุณหภูมิและความชื้นที่สูงขึ้น คนยากจนเป็นกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงสูงต่อผลกระทบของโรค แต่การให้ความรู้ในด้านการดูแลรักษาสุขภาพที่ดียังมีไม่เพียงพอ ปัจจุบันนี้สัญญาณเบื้องต้นของสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปได้ปรากฏขึ้นอย่างแจ่มชัด ดังนั้น สมควรหรือไม่ที่จะรอจนกว่าจะค้นพบข้อมูลมากขึ้น หรือ มีความรู้ในวิธีแก้ไขมากขึ้น เพราะ ณ เวลานั้นก็อาจสายเกินไปแล้วที่จะแก้ไขได้ ภาวะโลกร้อน” ความจริงช็อกโลก !!! สรุปประเด็นข่าวโดยกระปุกดอทคอม ภาพประกอบทางอินเทอร์เน็ต ขณะที่บ้านเราเจอภาวะฝนตกน้ำท่วม ไม่มีฤดูหนาว หรือแม้กระทั่งแผ่นดินไหวที่ จ . เชียงใหม่ อีกด้านในซีกโลกตะวันตก ผู้คนกำลังเผชิญหน้ากับภาวะโลกร้อน ร้อนจนร่างกายทนไม่ไหว ทำให้คนในยุโรปเสียชีวิตถึง 30,000 ศพ และในอินเดีย มีผู้เสียชีวิตไป 1,500 ศพ เมื่อปี 2003 ที่ผ่านมา ผลกระทบด้านสุขภาพ
  • 7.
  • 8. การแก้ต่างและข้อสรุปถูกวิพากษ์วิจารณ์โดยนักเศรษฐศาสตรืคนอื่นหลายคนที่ส่วนใหญ่กล่าวถึงสมมุติฐานการสอบทานของการให้ค่าส่วนลดและการเลือกเหตุการณ์จำลอง ในขณะที่คนอื่นๆ สนับสนุนความพยายามโดยรวมที่จะแจงนับความเสี่ยงทางเศรษฐกิจแม้จะไม่ได้ตัวเลขที่เฉพาะ ในข้อสรุปค่าความเสียหายทางเศรษฐกิจพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ โครงการสิ่งแวดล้อมสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme) เน้นความเสี่ยงของผู้ประกัน ผู้ประกันช่วงและธนาคารเกี่ยวกับความเสียหายอย่างมากจากสถานการณ์ลมฟ้าอากาศและการบาดเจ็บ ในภาคเศรษฐกิจอื่นก็มีทีท่าที่จะประสบความยากลำบากเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ รวมทั้งการเกษตรกรรมและการขนส่งซึ่งตกอยู่ในภาวะการเสี่ยงเป็นอย่างมากทางเศรษฐกิจ
  • 9.
  • 10. ทุกวันนี้ คงสามารถรู้สึกได้กันทุกคนถึง ภาวะโลกร้อน ซึงปัญหาดังกล่าวทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นทุกวัน ถ้าเราสังเกตุจากข่าวประจำวัน จะทราบถึงความผิดปกติของโลกเราน้ำท่วม โคลนถล่ม แผ่นดินไหว อากาศร้อนผิดปกติ ที่อินเดียปัจจุบันอุณหภูมิสูงถึง 50 องศาเซลเซียส เกิดจากผลผลิตทางอุตสาหกรรมซึ่งเกิดขึ้นทุกวัน ความร้อนต่างๆ และ สารเคมีที่ลอยสู่อากาศปกคลุมโลก ขอเสนอ 10 วิธีเพื่อลดภาวะโลกร้อน 1. ลดการใช้พลังงานที่ไม่จำเป็นจากเครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น แอร์ เครื่องปรับอากาศ พัดล ลม หากเป็นไปได้ ใช้วิธี เปิดหน้าต่าง ซึ่งบางช่วงที่อากาศดีๆ สามารถทำได้ เช่นหลัง ฝนตก หรือช่วงอากาศเย็น เป็นการลดค่าไฟ และ ลดความร้อน เนื่องจากหลักการ ทำความเย็นนั้นคือ การถ่ายเทความร้อนออก ดังนั้นเวลาเราใช้แอร์ จะเกิดปริมาณความ ร้อนบริเวณหลังเครื่องระบายความร้อน 2. เลือกใช้ระบบขนส่งมวลชน ในกรณีที่สามารถทำได้ ได้แก่ รถไฟฟ้า รถตู้ รถเมลล์ เนื่องจากพาหนะ แต่ละคัน จะเกิดการเผาผลาญเชื้อเพลิง ซึ่งจะเกิดความร้อน และ ก็ซ คาร์บอนไดออกไซด์ ดังนั้นเมื่อลดปริมาณจำนวนรถ ก็จะลดจำนวนการเผาไหม้บนท้อง ถนน ในแต่ละวันลงได้ " 10 วิธีแก้ภาวะโลกร้อน ปัญหาใหญ่ของสังคมทุนนิยม "
  • 11. 3. เวลาเดินเข้าห้างสรรพสินค้า หากมีใครเปิดประตูทิ้งไว้ ให้ช่วยปิดด้วยเนื่องจาก ห้างสรรพสินค้าแต่ละห้างนั้น มีพื้นที่มาก กว่าจะทำให้เกิดความเย็นได้ ก็จะก่อให้เกิด เกิดความร้อนปริมาณมาก ดังนั้นเมื่อมีคนเปิดประตูทิ้งไว้ แอร์ก็จะยิ่งทำงานมากขึ้น เพื่อให้ได้ความเย็นตามที่ระบุไว้ในเครื่อง ซึ่งประตูที่เปิดอยู่จะนำความร้อนมาสู่ตัวห้าง เครื่องก็จะทำงานวนอยู่อย่างนั้น ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดความร้อนอีกปริมาณมากต่อสภาพ ภายนอก 4. พยายามรับประทานอาหารให้หมด เศษอาหารที่เหลือทิ้งไว้จะก่อให้เกิดก๊าซมีเทน ซึ่งก่อให้เกิดปริมาณความร้อนต่อโลก เมื่อหลายคนรวมๆกันก็เป็นปริมาณความร้อนที่มาก 5. ช่วยกันปลูกต้นไม้ เพราะต้นไม้จะคายความชุ่มชื้นให้กับโลก และ ช่วยดูดก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นสาเหตุภาวะเรีอนกระจก 6. การชวนกันออกไปเที่ยวธรรมชาติภายนอก ก็ช่วยลดการใช้ปริมาณไฟฟ้าได้
  • 12. 7. เวลาซื้อของพยายามไม่รับภาชนะที่เป็นโฟม หรือกรณีที่เป็นพลาสติก เช่นขวดน้ำ พยายามนำกลับมาใช้อีก เนื่องจากพลาสติกเหล่านี้ทำการย่อยสลายยาก ต้องใช้ปริมาณ ความร้อน เหมือนกับตอนที่ผลิตมันมา ซึ่งจะก่อให้เกิดความร้อนกับโลกของเรา เราสามารถนำกลับมาใช้เป็นภาชนะใส่น้ำแทนกระติกน้ำได้ หรือใช้ปลูกต้นไม้ก็ได้ 8. ไม่รับประทานเนื้อสัตว์ที่เคี้ยวเอื้อง เนื่องจากสัตว์เหล่านี้ อุจจาระจะปล่อยก๊าซมีเทนอ ออกมา ดังนี้นอุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์ประเภทนี้ เมื่อมีจำนวนมากก็จะก่อให้เกิดความร้อน กับโลกเรามาก 9. ใช้กระดาษด้วยความประหยัด กระดาษแต่ละแผ่น ทำมาจากการตัดต้นไม้ ซึ่งเป็น เสมือนปราการสำคัญของโลกเรา ดังน้นการใช้กระดาษแต่ละแผ่นควรใช้ให้ประหยัด ทั้งด้านหน้าหลัง ใช้เสร็จควรนำมาเป็นวัสดุรอง หรือ นำมาเช็ดกระจกก็ได้ นอกจากนี้ การนำกระดาษไปเผาก็จะเกิดความร้อนต่อโลกเราเช่นกัน 10. ไม่สนับสนุนกิจการใดๆ ที่สิ้นเปลืองทรัพยากรของโลกเรา และควรสนับสนุนกิจการ ที่มีการคำนึงถึงการรักษาสิ่งแวดล้อม
  • 13. - เครื่องปรับอากาศ เช่นเดียวกัน สร้างให้เกิดความร้อนต่อโลก เนื่อง เป็นการระบายความร้อนจากบริเวณที่เราต้องการให้เย็นสู่ - ภายนอก ก็คือ สิ่งแวดล้อมนั่นเองยิ่งปริมาณพื้นที่มาก ปริมาณความร้อนที่เกิดจากการปรับอากาศยิ่งสูง - ปริมาณ พลาสติก ที่ผลิตกันอยู่ทุกวันนี้ เป็นสิ่งที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ตาม ธรรมชาติ ต้องใช้ความร้อนเผาไหม้ในการทำลาย ซึ่งนอกจากใช้ความร้อนจำนวนมากแล้ว ยังเกิดสารเคมีลอยขึ้นไปปกคลุมโลกของเรา กลายเป็นลักษณะของกระจก - ยานพาหนะ ที่ใช้น้ำมันในปัจจุบัน นอกจากความร้อนระหว่างการเผาไหม้ แล้วยังเกิด ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ซึ่งส่งผลต่อภาวะเรือนกระจก ดังนั้น การใช้ การเดินทางโดยระบบขนส่งมวลชน ไปกันหลายๆคน ต่อครั้ง ก็จะลดปริมาณการเผา ไหม้ - และ กิจกรรมอื่นๆ ที่ได้กล่าวมาที่ทำให้เกิดความร้อน และ สารเคมี ย่อมส่งผลต่อภาวะโลกร้อน สรุปว่า - กิจกรรมจากเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ นั้น จะส่งผลให้เกิดความร้อนต่อโลกเรา
  • 14. แต่การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของ CO2 ที่ออกมาจากโรงงานอุตสาหกรรม รถยนตร์ หรือการกระทำใดๆที่เผาเชื้อเพลิงฟอสซิล ( เช่นถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ หรือสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ) ส่งผลให้ระดับปริมาณ CO2 ในปัจจุบันสูงเกิน 300 ppm (300 ส่วนในล้านส่วน ) เป็นครั้งแรกในรอบกว่า 6 แสนปี ซึ่งคาร์บอนไดออกไซด์ที่มากขึ้นนี้ ได้เพิ่มการกักเก็บความร้อนไว้ในโลกของเรามากขึ้นเรื่อยๆ จนเกิดเป็น ภาวะโลกร้อน ดังเช่นปัจจุบัน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าซเรือนกระจกอื่นๆ เป็นตัวการกักเก็บความร้อนจากแสงอาทิตย์ไว้ไม่ให้คายออกไปสู่บรรยากาศ ซึ่งเป็นสิ่งที่ดี เพราะทำให้โลกของเรามีอุนหภูมิอบอุ่น สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้แต่ปัจจุบัน การเผาผลาญเชื้อเพลงฟอสซิลต่างๆ เช่น ถ่านหิน น้ำมันเชื้อเพลิง และการตัดไม้ทำลายป่า ซึ่งการกระทำเหล่านี้ส่งผลให้ปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ เพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล อันส่งผลกระทบต่างๆมากมายไม่ว่าจะเป็นอุณหภูมิของโลกที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ภัยธรรมชาติต่างๆเกิดบ่อยขึ้น และนี่คือสิ่งที่เกิดขึ้น
  • 15. - จำนวนพายุ Hurricane Category 4 และ 5 เพิ่มขึ้นสองเท่า ในสามสิบปีที่ผ่านมา - เชื้อมาลาเรียได้แพร่กระจายไปในที่สูงขึ้น แม้แต่ใน Columbian, Andes ที่สูง 7000 ฟุตเหนือระดับน้ำทะเล - น้ำแข็ง ใน ธารน้ำแข็ง เขตกรีนแลนด์ ละลายเพิ่มมากขึ้นเป็นสองเท่าในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา - สัตว์ต่างๆ อย่างน้อย 279 สปีชี่ส์กำลังตอบสนองต่อ ภาวะโลกร้อน โดยพยายามย้ายถิ่นที่อยู่
  • 16. - อัตรา ผู้เสียชีวิต จาก โลกร้อน จะพุ่งไปอยู่ที่ 300000 คนต่อปี ใน 25 ปีต่อจากนี้ - ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น 20 ฟุต - คลื่นความร้อน จะมาบ่อยขึ้นและ รุนแรง ขึ้น - ภาวะฝนแล้ง และไฟป่าจะเกิดบ่อยขึ้น - มหาสมุทรอาร์กติกจะไม่เหลือน้ำแข็ง ภายในฤดูร้อน 2050 - สิ่งมีชีวิตกว่าล้านสปีชี่ส์เสี่ยงที่จะสูญพันธุ์ การแก้ปัญหาโลกร้อน ไม่ใช่แค่คิดจะทำ แต่ต้องลงมือทำจริง หากเรายังเพิกเฉยต่อสิ่งที่เกิดขึ้น รับรองได้เลยว่าจะเกิดเรื่องอย่างนี้แน่