SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 10
ระบบเลขฐาน

เลขฐาน
     ระบบจำานวนที่ใช้กันอยู่ในชีวิตประจำาวันเป็นระบบเลขฐานสิบ
     ซึ่งมีสัญลักษณ์ที่เป็นตัวเลข 10 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, …, 9
ในการใช้งานคอมพิวเตอร์ทำาให้เกิดระบบเลขฐานอื่นๆ คือ
     ระบบเลขฐานสอง มีสัญลักษณ์เป็นตัวเลข 2 ตัว คือ 0 และ 1
     ระบบเลขฐานแปด มีสัญลักษณ์เป็นตัวเลข 8 ตัว คือ 0, 1, 2, 3,
4, 5, 6, และ 7 และ
       ระบบเลขฐานสิบหก มีสัญลักษณ์ที่เป็นตัวเลขและตัวอักษร 16
ตัว
           คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, A, B, C, D, E และ F
     เพื่อให้ทราบว่าจำานวนใดเป็นจำานวนในระบบเลขฐานใด ทำาโดย
เขียนตัวเลขฐานกำากับไว้ที่ท้ายของจำานวนนั้น ยกเว้นเลขฐานสิบ
ตัวอย่างเช่น
                102 หมายถึง           10 ในระบบเลขฐานสอง
                768 หมายถึง 76 ในระบบเลขฐานแปด
           และ 10216       หมายถึง 102 ในระบบเลขฐานสิบหก
     เลขฐานต่างๆสามารถโยงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันได้ เช่น
สามารถแปลงจากเลขฐานหนึ่งไปยังอีกฐานหนึ่งได้ และเปลี่ยนจาก
เลขฐานต่างๆ ไปยังเลขฐานสิบที่ใช้กันทั่วไป

   ฐานสอง          ฐานแปด            ฐานสิบ         ฐานสิบหก
       10             2                2               2
      100             4                4               4
     1000            10                8               8
     1110            16                14               E
    10000            20                16              10
   100000            40                32              20
ตัวอย่างการแปลงเลขฐานของระบบตัวเลข
การแปลงฐานสองเป็นเลขฐานสิบ :
           หลักการ : คือการเอาค่า Weight ของทุกบิตที่มีค่าเป็น 1 มาบ
วกกัน ดังตัวอย่าง
           ตัวอย่าง : จงแปลง (11011101)2 ให้เป็นเลขฐานสิบ
           (11011101)2 = (1X27) + (1X26) + (0X25) + (1X24) +
    (1X23)+ (1X22) +
                        (0X21) + (1X20)
                      = 128 + 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 1
                      = (221)10

          ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (1011.101)2 เป็นเลขฐานสิบ
        1    0   1     1     .   1   0    1            ผลลัพธ์

                                               2-3       0.125
                                      2   -2
                                                         0.0
                                2-1                      0.5
                                                         -
                       20                                1.
                  21                                     2.
             22                                          0.
       23                                                8.
                                                         (11.625)
                                                         10



            ∴ (1011.101)2     = (11.625)10

การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง
          หลักการ
          1. ให้นำาเลขฐานสิบเป็นตัวตั้งและนำา 2 มาหาร ได้เศษเท่าไรจะ
          เป็นค่าบิตที่มีนยสำาคัญน้อยที่สุด (LSB)
                          ั
          2. นำา ผลลัพธ์ที่ได้จากข้อที่ 1 มาตั้งหารด้วย 2 อีกเศษที่จัดจะ
          เป็นบิตถัดไปของเลขฐานสอง
          3. ทำาเหมือนข้อ 2 ไปเรื่อยๆ จนได้ผลลัพธ์เป็นศูนย์ เศษที่ได้จะ
          เป็นบิตเลขฐานสองที่มีนัยสำาคัญมากที่สุด (MSB)
ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (221)10 เป็นเลขฐานสอง
                           2 221             เศษ 1    (LSB)
                           2 110             เศษ 0
                            2 55             เศษ 1
                            2 27          เศษ 1
                            2 13          เศษ 1
                            2     6       เศษ 0
                            2     3       เศษ 1
                            2     1       เศษ 1     (MSB)
                              0
                  ∴ (221)10     = (11011101)2
หมายเหตุ
           1. บิ ต ที่ มี นั ย สำา คั ญ สู ง สุ ด (Most Significant Bit : MSB) คื อ
           บิตที่อยู่ซ้ายมือสุด เป็นบิตที่มีค่าประจำาหลักมากที่สุด
           2. บิตที่มีนัยสำาคัญตำ่าสุด (Least Significant Bit : LSB) คือ บิต
           ที่อยู่ขวามือสุด เป็นบิตที่มีค่าประจำาหลักน้อยที่สุด
วิธีคิดโดยใช้นำ้าหนัก (Weight) ของแต่ละบิต
           ตัวอย่าง จงเปลี่ยน (221)10                 = (……)2
           1. นำาค่านำ้าหนัก (Weight) มาตั้ง โดย Weight ที่มีค่ามากที่สุด
           ต้องไม่เกินจำานวนที่จะเปลี่ยนดังนี้
                356 128 64 32 16 8 4 2 1
           2. เลื อกค่า Weight ที่มีค่ามากที่ สุด และค่ า Weight ตัว อื่น ๆ
           เมื่อนำามารวมกันแล้วให้ได้เท่ากับจำานวนที่ต้องการ
           ค่า Weight 128 64 32 16 8 4 2 1
           เลือก        128 + 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 1 = 221
           ฐานสอง               1          1 0       1     1 1 0          1
                   ∴ (221)10            = (11011101)2

การเปลี่ยนเลขฐานสิบที่มีจุดทศนิยมเป็นเลขฐานสอง
          หลักการ
          1. ให้เปลี่ยนเลขจำา นวนเต็มหน้าจุดทศนิยมด้วยวิธี ที่กล่าวมา
          แล้ว
          2. ให้นำาเลขจุดทศนิยมมาตั้งแล้วคูณด้วย 2 ผลคูณมีค่าน้อยกว่า
          1 จะได้ค่าเลขฐานสองเป็น 0 แต่ถ้าผลคูณมีค่ามากกว่า 1 หรือ
          เท่ากับ 1 จะได้ค่าเลขฐานสองเป็น 1
3. ให้นำาเลขจุดทศนิยมที่ได้จากผลการคูณใน ‚ มาตั้งและคูณ
          ด้วย 2 และพิจารณาผลลัพธ์เช่นเดียวกับข้อ ‚ และกระบวนการ
          นี้จะทำาต่อไปเรื่อย ๆ จนกว่าผลคูณจะมีค่าเท่ากับ 1 หรือได้ค่าที่
          แม่นยำาเพียงพอแล้ว

          ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (0.375)10 เป็นเลขฐานสอง
           ผลการคูณ                   ผลของจำานวนเต็ม
           0.375 X 2 = 0.75                  0
           0.75 X 2 = 1.5                    1
           0.5 X 2       = 1.0               1
                 ดังนั้น (0.375)10 = (0.011)2
          ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (12.35)10 เป็นฐานสอง
          1. 1. เปลียน (12)10 ให้เป็นเลขฐานสอง
                       ่
                         (12)10 = (1100)2
             2. เปลียน (0.35)10 เป็นเลขฐานสอง
                     ่
           ผลการคูณ                   ผลของจำานวนเต็ม
           0.35 X 2 = 0.7                    0
           0.7 X 2 = 1.4                     1
           0.4 X 2 = 0.8                     0
           0.8 X 2 = 1.6                     1
           0.6 X 2 = 1.2                     1
           0.2 X 2 = 0.4                     0
           0.4 X 2 = 0.8                     0
           0.8 X 2 = 1.6                     1
          การเปลี่ยนจะซำ้ากันไปเรื่อย ๆ จะนำามาใช้เพียง 6 บิต
          ดังนั้น (12.35)10 = (1100.010110)2

การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นฐานสิบและเลขฐานสิบเป็นฐานแปด
               การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ
               หลั ก เกณฑ์ : นำา ค่ า นำ้า หนั ก (Weight)และเลขฐานแปด
          คูณด้วยเลข
                            ประจำาหลักแล้วนำาผลทีได้ทุกหลักมารวมกัน
                                                     ่
               นำ้า หนั ก : Weight ได้ แ ก่ … 8 83 82 81 80 8-1 8-2
                                                   4

8-3…
               ตัวอย่าง : (134)8 = (…)10
                         (134)8 = (1X82) + (3X81) + (4X80)
                              = 64 + 24 + 4
                               = (92) 10
ดังนั้น (134)8 = (92)10
       จุดทศนิยม
       การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานแปด
       หลักเกณฑ์ : นำาเลขฐานสิบเป็นตัวตั้งแล้วหารด้วย 8 เศษ
ที่ได้จากการ
                       หารจะเป็ น ค่ า ของเลขฐานแปด ทำา เช่ น เดี ย ว
              กับการเปลี่ยน
                       เลขฐานสิบเป็นฐานสอง
       ตัวอย่าง : (92)10 = (…)8
                    8 92             เศษ 4
                    8 11             เศษ 3
                     8    1          เศษ 1
                     0
                                         1 3 4
              ดังนั้น (92)10 = (134)8

การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นสองและเลขฐานสองเป็นฐาน
แปด
    การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง
    หลักการ : จะต้องใช้เลขฐานสิบเป็นตัวกลางในการเปลี่ยน
    ตัวอย่าง : (134)8 = (…)2
    1. เปลียนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ
             ่
       (134)8 = (1X88) + (3X81) +    (4X80)
                 = (92)10
    2. เปลียนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง
               ่
       (92)10 = (…)2
       Weight = 64 32 16          8 4      2 1
                  = 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 0
       เลขฐาน 2 = 1       0   1    1    1 0 0
    ดังนั้น (134)8 = (1011100)2
    การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด
    หลักการ : จะต้องใช้เลขฐานสิบเป็นตัวกลางในการเปลี่ยน

      ตัวอย่าง : (1011100)2 = (…)8
      1. 1. เปลียนเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ
                ่
         (1011100)2 = 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 0
                    = (92)10
      2. 2. เปลียนฐานสิบเป็นเลขฐานแปด
                  ่
                8 92         เศษ 4
8   11        เศษ 3
                          8    1        เศษ 1
                          0
                                            1 3 4
                     ดังนั้น (1011100)2 = (134)8

การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปดและฐานแปดเป็นเลขฐานสอง วิธี
ลัด
                เลขฐานแปด        เลขฐานสอง
                      0             000
                      1             001
                      2             010
                      3             011
                      4             100
                      5             101
                      6             110
                      7             111
                ตารางเปรียบเทียบเลขฐานแปดและเลขฐานสอง
          จากตารางจะเห็นว่าเลขฐานแปดหนึ่งหลักสามารถแทนด้วยเลข
ฐานสองจำานวน 3 บิต
          ตัวอย่าง : จงแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด
                   (1011100) 2 = (…)8
          วิธทำา :
             ี            001 011 100

                       1   3     4
          ดังนั้น   (1011100) 2 = (134)8

          ตัวอย่าง เปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง
                 (6143)8 = (…)2

          วิธทำา
             ี       6    1    4    3

                         110       001       100     011
           ดังนั้น (6143)8 = (110001100011)2
การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเป็นฐานสิบและเลขฐานสิบเป็นฐานสิบหก
การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสิบ
                    หลักการ : นำา ค่านำ้า หนัก (Weight) ของเลขฐานสิบหก
คูณด้วยเลขประจำา
หลัก และนำาผลที่ได้ทุกหลักมารวมกัน
                 นำ้าหนัก (Weight) : … 164 163 162 161 160 16-1 16-2
16-3…
                  ตัวอย่าง (6C)16 = (…)10
                      (6C)16     = (5X161) + (12X160)
                            = 80 + 12
                            = (92)10
               ดังนั้น      (6C)16    = (92)10
               ตัวอย่าง (0.3)16       = (…)10
                      (0.3.16(0.3)16 = 3X10-1
                            = 3X0.0625
                            = (0.1875)10
               ดังนั้น      (0.3)16   = (0.1878)10

การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสิบหก
     หลักการ : นำาเลขฐานสิบมาเป็นตัวตั้งแล้วนำา 16 มาหาร เศษที่ได้จาก
การหาร จะเป็นค่า
              เลขฐานสิบหก ทำาเช่นเดียวกับการเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลข
     ฐานสอง
     ตัวอย่าง : (92)10 = (…)16
     วิธทำา :
        ี                   16 92         เศษ 12 =C
                       16   5           เศษ         5

                                                5 C
            ดังนั้น (92)10 = (5C)16
     ตัวอย่าง           (0.7875)10 =  (….)16
     วิธทำา
        ี
             ผลการคูณ                ผลของจำานวนเต็ม
             0.7875 X 16 =              12 = C
             12.6                           9
             0.6 X 16        =
             9.6
             0.6 X 16        =              9
             9.6                            9
             0.6 X 16        =
             9.6
     ดังนั้น (0.7875)10 = (0.C9)16
การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นฐานสิบหก และฐานสิบหกเป็นฐานสอง
การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง
           หลักการ : จะต้องใช้เลขฐานสิบเป็นตัวกลาง

          ตัวอย่าง : (5C)16 = (…)2
               1. เปลียนเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสิบ
                      ่
                    (5C)16 = (5X161) + (12X160)
                            = 80 + 12
                            = (92)10
               2. เปลียนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง
                        ่
                    (92)10 = (…)2
                     Weight      = 64 32 16 8 4 2 1
                               64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 0
                     เลขฐานสอง = 1        0   1    1   1 0   0
                     ดังนั้น (5C)16   = (1011100)2

การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก
     หลักการ : ต้องใช้เลขฐานสิบเป็นตัวกลาง
     ตัวอย่าง : (1011100)2 = (…)16
                1. เปลียน (1011100)2 เป็นเลขฐานสิบ
                       ่
                    (1011100)2 = (92)10
                2. เปลียนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสิบหก
                         ่
                      16 92          เศษ 12 =C
                      16 5         เศษ        5
                              0
                                                5 C
                     ดังนั้น (1011100)2   = (5C)16




       การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเป็นฐานสองและเลขฐานสองเป็นฐานสิบหก
วิธีลัด
               เลขฐานสิบหก       เลขฐานสอง
                    0               0000
                    1               0001
                    2               0010
                    3               0011
                    4               0100
                    5               0101
6             0110
                         7             0111
                         8             1000
                         9             1001
                         A             1010
                         B             1011
                         C             1100
                         D             1101
                         E             1110
                         F             1111
           ตารางเปรียบเทียบเลขฐานสิบหกกับเลขฐานสอง
    จากตารางจะเห็นว่า เลขฐานสิบหกหนึ่งหลักสามารถจะแทนด้วยเลข
ฐานสองจำานวน 4 บิต

    ตัวอย่าง จงเปลียน (1011100)2 เป็นเลขฐานสิบหก
                   ่
    วิธทำา01011100
       ี

            5       12

                  5      C
          ดังนั้น (1011100)2 = (5C)16
    ตัวอย่าง จงเปลียน (1011110111011)2 เป็นเลขฐานสิบหก
                     ่
    วิธทำา0001011110111011
       ี

            1       7        11   11

                1       7       B      B
                 ดังนั้น (1011110111011)2 = (17BB)16
    ตัวอย่าง จงเปลียน (A95)16 เป็นเลขฐานสอง
                   ่
    วิธทำา
       ี               A 9      5

                101010010101
         ดังนั้น (A95)16 = (101010010101)2


แบบฝึกหัด
2.1 จงแปลงเลขฐานสิบต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสี่ (base-4) และเลขฐานห้า (base-5)
     a. 10            b. 21
     c. 50            d. 67
     e. 100
  2.2 จงแปลงเลขฐานต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสิบ
     a. (24)5               b. (3F7)16
     c. (148)8              d. (ABC)15
  2.3 จงแปลงเลขฐานสองต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสิบและให้มีทศนิยมเพียง 4 ตำาแหน่ง
     a. (0.1111)2           b. (0.11010011)2
     c. (001110.111111111)2
  2.4 จงแปลงเลขฐานสิบต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสองและให้มีทศนิยมเพียง 4 ตำาแหน่ง
     a. (0.1111)10          b. (947.613)10
     c. (4287.6543)10
  2.5 จงแปลงเลขฐานสิบหกต่อไปนี้ เป็นเลขฐานแปด
     a. (ABCE)16      b. (97F)16
     c. (A0)16
  2.6 จงแปลงเลขฐานแปดต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสิบหก
     a. (375)8        b. (054)8
     c. (3517)8

อ้างอิงโปรแกรม
http://kmitlboard.packetlove.com/webserv/bnctool/#b10tob2

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบฝึกทักษะชุดที่ 1-ค่าประจำหลักของทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 1-ค่าประจำหลักของทศนิยมแบบฝึกทักษะชุดที่ 1-ค่าประจำหลักของทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 1-ค่าประจำหลักของทศนิยมKamolthip Boonpo
 
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งเฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองRitthinarongron School
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001Thidarat Termphon
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยAun Wny
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1guychaipk
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ8752584
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนพิทักษ์ ทวี
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละนายเค ครูกาย
 

Mais procurados (20)

แบบฝึกทักษะชุดที่ 1-ค่าประจำหลักของทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 1-ค่าประจำหลักของทศนิยมแบบฝึกทักษะชุดที่ 1-ค่าประจำหลักของทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 1-ค่าประจำหลักของทศนิยม
 
Math5
Math5Math5
Math5
 
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งเฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
 
Square Root
Square RootSquare Root
Square Root
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
แบบฝึกหัดที่ 1 การแปลงเลขฐาน
แบบฝึกหัดที่ 1 การแปลงเลขฐานแบบฝึกหัดที่ 1 การแปลงเลขฐาน
แบบฝึกหัดที่ 1 การแปลงเลขฐาน
 
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
 

Semelhante a การแปลงเลขฐานต่างๆ

การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานNakamaru Yuichi
 
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดjibjoy_butsaya
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานPreecha Yeednoi
 
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองjibjoy_butsaya
 
bit byte
bit bytebit byte
bit bytepaween
 
Base
BaseBase
Basesa
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานพัน พัน
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองpharthid
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงRitthinarongron School
 
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐานเลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐานAE Mct
 
Multiplier Analysis
Multiplier AnalysisMultiplier Analysis
Multiplier Analysispilnce
 

Semelhante a การแปลงเลขฐานต่างๆ (17)

การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐาน
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสองการแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
bit byte
bit bytebit byte
bit byte
 
Base
BaseBase
Base
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐาน
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐาน
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสอง
 
สอนเลขฐาน
สอนเลขฐานสอนเลขฐาน
สอนเลขฐาน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
 
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐานเลขฐานและการแปลงเลขฐาน
เลขฐานและการแปลงเลขฐาน
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
Multiplier Analysis
Multiplier AnalysisMultiplier Analysis
Multiplier Analysis
 

การแปลงเลขฐานต่างๆ

  • 1. ระบบเลขฐาน เลขฐาน ระบบจำานวนที่ใช้กันอยู่ในชีวิตประจำาวันเป็นระบบเลขฐานสิบ ซึ่งมีสัญลักษณ์ที่เป็นตัวเลข 10 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, …, 9 ในการใช้งานคอมพิวเตอร์ทำาให้เกิดระบบเลขฐานอื่นๆ คือ ระบบเลขฐานสอง มีสัญลักษณ์เป็นตัวเลข 2 ตัว คือ 0 และ 1 ระบบเลขฐานแปด มีสัญลักษณ์เป็นตัวเลข 8 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, และ 7 และ ระบบเลขฐานสิบหก มีสัญลักษณ์ที่เป็นตัวเลขและตัวอักษร 16 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, A, B, C, D, E และ F เพื่อให้ทราบว่าจำานวนใดเป็นจำานวนในระบบเลขฐานใด ทำาโดย เขียนตัวเลขฐานกำากับไว้ที่ท้ายของจำานวนนั้น ยกเว้นเลขฐานสิบ ตัวอย่างเช่น 102 หมายถึง 10 ในระบบเลขฐานสอง 768 หมายถึง 76 ในระบบเลขฐานแปด และ 10216 หมายถึง 102 ในระบบเลขฐานสิบหก เลขฐานต่างๆสามารถโยงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันได้ เช่น สามารถแปลงจากเลขฐานหนึ่งไปยังอีกฐานหนึ่งได้ และเปลี่ยนจาก เลขฐานต่างๆ ไปยังเลขฐานสิบที่ใช้กันทั่วไป ฐานสอง ฐานแปด ฐานสิบ ฐานสิบหก 10 2 2 2 100 4 4 4 1000 10 8 8 1110 16 14 E 10000 20 16 10 100000 40 32 20
  • 2. ตัวอย่างการแปลงเลขฐานของระบบตัวเลข การแปลงฐานสองเป็นเลขฐานสิบ : หลักการ : คือการเอาค่า Weight ของทุกบิตที่มีค่าเป็น 1 มาบ วกกัน ดังตัวอย่าง ตัวอย่าง : จงแปลง (11011101)2 ให้เป็นเลขฐานสิบ (11011101)2 = (1X27) + (1X26) + (0X25) + (1X24) + (1X23)+ (1X22) + (0X21) + (1X20) = 128 + 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 1 = (221)10 ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (1011.101)2 เป็นเลขฐานสิบ 1 0 1 1 . 1 0 1 ผลลัพธ์ 2-3 0.125 2 -2 0.0 2-1 0.5 - 20 1. 21 2. 22 0. 23 8. (11.625) 10 ∴ (1011.101)2 = (11.625)10 การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง หลักการ 1. ให้นำาเลขฐานสิบเป็นตัวตั้งและนำา 2 มาหาร ได้เศษเท่าไรจะ เป็นค่าบิตที่มีนยสำาคัญน้อยที่สุด (LSB) ั 2. นำา ผลลัพธ์ที่ได้จากข้อที่ 1 มาตั้งหารด้วย 2 อีกเศษที่จัดจะ เป็นบิตถัดไปของเลขฐานสอง 3. ทำาเหมือนข้อ 2 ไปเรื่อยๆ จนได้ผลลัพธ์เป็นศูนย์ เศษที่ได้จะ เป็นบิตเลขฐานสองที่มีนัยสำาคัญมากที่สุด (MSB)
  • 3. ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (221)10 เป็นเลขฐานสอง 2 221 เศษ 1 (LSB) 2 110 เศษ 0 2 55 เศษ 1 2 27 เศษ 1 2 13 เศษ 1 2 6 เศษ 0 2 3 เศษ 1 2 1 เศษ 1 (MSB) 0 ∴ (221)10 = (11011101)2 หมายเหตุ 1. บิ ต ที่ มี นั ย สำา คั ญ สู ง สุ ด (Most Significant Bit : MSB) คื อ บิตที่อยู่ซ้ายมือสุด เป็นบิตที่มีค่าประจำาหลักมากที่สุด 2. บิตที่มีนัยสำาคัญตำ่าสุด (Least Significant Bit : LSB) คือ บิต ที่อยู่ขวามือสุด เป็นบิตที่มีค่าประจำาหลักน้อยที่สุด วิธีคิดโดยใช้นำ้าหนัก (Weight) ของแต่ละบิต ตัวอย่าง จงเปลี่ยน (221)10 = (……)2 1. นำาค่านำ้าหนัก (Weight) มาตั้ง โดย Weight ที่มีค่ามากที่สุด ต้องไม่เกินจำานวนที่จะเปลี่ยนดังนี้ 356 128 64 32 16 8 4 2 1 2. เลื อกค่า Weight ที่มีค่ามากที่ สุด และค่ า Weight ตัว อื่น ๆ เมื่อนำามารวมกันแล้วให้ได้เท่ากับจำานวนที่ต้องการ ค่า Weight 128 64 32 16 8 4 2 1 เลือก 128 + 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 1 = 221 ฐานสอง 1 1 0 1 1 1 0 1 ∴ (221)10 = (11011101)2 การเปลี่ยนเลขฐานสิบที่มีจุดทศนิยมเป็นเลขฐานสอง หลักการ 1. ให้เปลี่ยนเลขจำา นวนเต็มหน้าจุดทศนิยมด้วยวิธี ที่กล่าวมา แล้ว 2. ให้นำาเลขจุดทศนิยมมาตั้งแล้วคูณด้วย 2 ผลคูณมีค่าน้อยกว่า 1 จะได้ค่าเลขฐานสองเป็น 0 แต่ถ้าผลคูณมีค่ามากกว่า 1 หรือ เท่ากับ 1 จะได้ค่าเลขฐานสองเป็น 1
  • 4. 3. ให้นำาเลขจุดทศนิยมที่ได้จากผลการคูณใน ‚ มาตั้งและคูณ ด้วย 2 และพิจารณาผลลัพธ์เช่นเดียวกับข้อ ‚ และกระบวนการ นี้จะทำาต่อไปเรื่อย ๆ จนกว่าผลคูณจะมีค่าเท่ากับ 1 หรือได้ค่าที่ แม่นยำาเพียงพอแล้ว ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (0.375)10 เป็นเลขฐานสอง ผลการคูณ ผลของจำานวนเต็ม 0.375 X 2 = 0.75 0 0.75 X 2 = 1.5 1 0.5 X 2 = 1.0 1 ดังนั้น (0.375)10 = (0.011)2 ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (12.35)10 เป็นฐานสอง 1. 1. เปลียน (12)10 ให้เป็นเลขฐานสอง ่ (12)10 = (1100)2 2. เปลียน (0.35)10 เป็นเลขฐานสอง ่ ผลการคูณ ผลของจำานวนเต็ม 0.35 X 2 = 0.7 0 0.7 X 2 = 1.4 1 0.4 X 2 = 0.8 0 0.8 X 2 = 1.6 1 0.6 X 2 = 1.2 1 0.2 X 2 = 0.4 0 0.4 X 2 = 0.8 0 0.8 X 2 = 1.6 1 การเปลี่ยนจะซำ้ากันไปเรื่อย ๆ จะนำามาใช้เพียง 6 บิต ดังนั้น (12.35)10 = (1100.010110)2 การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นฐานสิบและเลขฐานสิบเป็นฐานแปด การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ หลั ก เกณฑ์ : นำา ค่ า นำ้า หนั ก (Weight)และเลขฐานแปด คูณด้วยเลข ประจำาหลักแล้วนำาผลทีได้ทุกหลักมารวมกัน ่ นำ้า หนั ก : Weight ได้ แ ก่ … 8 83 82 81 80 8-1 8-2 4 8-3… ตัวอย่าง : (134)8 = (…)10 (134)8 = (1X82) + (3X81) + (4X80) = 64 + 24 + 4 = (92) 10
  • 5. ดังนั้น (134)8 = (92)10 จุดทศนิยม การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานแปด หลักเกณฑ์ : นำาเลขฐานสิบเป็นตัวตั้งแล้วหารด้วย 8 เศษ ที่ได้จากการ หารจะเป็ น ค่ า ของเลขฐานแปด ทำา เช่ น เดี ย ว กับการเปลี่ยน เลขฐานสิบเป็นฐานสอง ตัวอย่าง : (92)10 = (…)8 8 92 เศษ 4 8 11 เศษ 3 8 1 เศษ 1 0 1 3 4 ดังนั้น (92)10 = (134)8 การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นสองและเลขฐานสองเป็นฐาน แปด การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง หลักการ : จะต้องใช้เลขฐานสิบเป็นตัวกลางในการเปลี่ยน ตัวอย่าง : (134)8 = (…)2 1. เปลียนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ ่ (134)8 = (1X88) + (3X81) + (4X80) = (92)10 2. เปลียนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง ่ (92)10 = (…)2 Weight = 64 32 16 8 4 2 1 = 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 0 เลขฐาน 2 = 1 0 1 1 1 0 0 ดังนั้น (134)8 = (1011100)2 การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด หลักการ : จะต้องใช้เลขฐานสิบเป็นตัวกลางในการเปลี่ยน ตัวอย่าง : (1011100)2 = (…)8 1. 1. เปลียนเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ ่ (1011100)2 = 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 0 = (92)10 2. 2. เปลียนฐานสิบเป็นเลขฐานแปด ่ 8 92 เศษ 4
  • 6. 8 11 เศษ 3 8 1 เศษ 1 0 1 3 4 ดังนั้น (1011100)2 = (134)8 การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปดและฐานแปดเป็นเลขฐานสอง วิธี ลัด เลขฐานแปด เลขฐานสอง 0 000 1 001 2 010 3 011 4 100 5 101 6 110 7 111 ตารางเปรียบเทียบเลขฐานแปดและเลขฐานสอง จากตารางจะเห็นว่าเลขฐานแปดหนึ่งหลักสามารถแทนด้วยเลข ฐานสองจำานวน 3 บิต ตัวอย่าง : จงแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด (1011100) 2 = (…)8 วิธทำา : ี 001 011 100 1 3 4 ดังนั้น (1011100) 2 = (134)8 ตัวอย่าง เปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง (6143)8 = (…)2 วิธทำา ี 6 1 4 3 110 001 100 011 ดังนั้น (6143)8 = (110001100011)2 การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเป็นฐานสิบและเลขฐานสิบเป็นฐานสิบหก การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสิบ หลักการ : นำา ค่านำ้า หนัก (Weight) ของเลขฐานสิบหก คูณด้วยเลขประจำา
  • 7. หลัก และนำาผลที่ได้ทุกหลักมารวมกัน นำ้าหนัก (Weight) : … 164 163 162 161 160 16-1 16-2 16-3… ตัวอย่าง (6C)16 = (…)10 (6C)16 = (5X161) + (12X160) = 80 + 12 = (92)10 ดังนั้น (6C)16 = (92)10 ตัวอย่าง (0.3)16 = (…)10 (0.3.16(0.3)16 = 3X10-1 = 3X0.0625 = (0.1875)10 ดังนั้น (0.3)16 = (0.1878)10 การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสิบหก หลักการ : นำาเลขฐานสิบมาเป็นตัวตั้งแล้วนำา 16 มาหาร เศษที่ได้จาก การหาร จะเป็นค่า เลขฐานสิบหก ทำาเช่นเดียวกับการเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลข ฐานสอง ตัวอย่าง : (92)10 = (…)16 วิธทำา : ี 16 92 เศษ 12 =C 16 5 เศษ 5 5 C ดังนั้น (92)10 = (5C)16 ตัวอย่าง (0.7875)10 = (….)16 วิธทำา ี ผลการคูณ ผลของจำานวนเต็ม 0.7875 X 16 = 12 = C 12.6 9 0.6 X 16 = 9.6 0.6 X 16 = 9 9.6 9 0.6 X 16 = 9.6 ดังนั้น (0.7875)10 = (0.C9)16
  • 8. การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นฐานสิบหก และฐานสิบหกเป็นฐานสอง การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง หลักการ : จะต้องใช้เลขฐานสิบเป็นตัวกลาง ตัวอย่าง : (5C)16 = (…)2 1. เปลียนเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสิบ ่ (5C)16 = (5X161) + (12X160) = 80 + 12 = (92)10 2. เปลียนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง ่ (92)10 = (…)2 Weight = 64 32 16 8 4 2 1 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 0 เลขฐานสอง = 1 0 1 1 1 0 0 ดังนั้น (5C)16 = (1011100)2 การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก หลักการ : ต้องใช้เลขฐานสิบเป็นตัวกลาง ตัวอย่าง : (1011100)2 = (…)16 1. เปลียน (1011100)2 เป็นเลขฐานสิบ ่ (1011100)2 = (92)10 2. เปลียนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสิบหก ่ 16 92 เศษ 12 =C 16 5 เศษ 5 0 5 C ดังนั้น (1011100)2 = (5C)16 การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเป็นฐานสองและเลขฐานสองเป็นฐานสิบหก วิธีลัด เลขฐานสิบหก เลขฐานสอง 0 0000 1 0001 2 0010 3 0011 4 0100 5 0101
  • 9. 6 0110 7 0111 8 1000 9 1001 A 1010 B 1011 C 1100 D 1101 E 1110 F 1111 ตารางเปรียบเทียบเลขฐานสิบหกกับเลขฐานสอง จากตารางจะเห็นว่า เลขฐานสิบหกหนึ่งหลักสามารถจะแทนด้วยเลข ฐานสองจำานวน 4 บิต ตัวอย่าง จงเปลียน (1011100)2 เป็นเลขฐานสิบหก ่ วิธทำา01011100 ี 5 12 5 C ดังนั้น (1011100)2 = (5C)16 ตัวอย่าง จงเปลียน (1011110111011)2 เป็นเลขฐานสิบหก ่ วิธทำา0001011110111011 ี 1 7 11 11 1 7 B B ดังนั้น (1011110111011)2 = (17BB)16 ตัวอย่าง จงเปลียน (A95)16 เป็นเลขฐานสอง ่ วิธทำา ี A 9 5 101010010101 ดังนั้น (A95)16 = (101010010101)2 แบบฝึกหัด
  • 10. 2.1 จงแปลงเลขฐานสิบต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสี่ (base-4) และเลขฐานห้า (base-5) a. 10 b. 21 c. 50 d. 67 e. 100 2.2 จงแปลงเลขฐานต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสิบ a. (24)5 b. (3F7)16 c. (148)8 d. (ABC)15 2.3 จงแปลงเลขฐานสองต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสิบและให้มีทศนิยมเพียง 4 ตำาแหน่ง a. (0.1111)2 b. (0.11010011)2 c. (001110.111111111)2 2.4 จงแปลงเลขฐานสิบต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสองและให้มีทศนิยมเพียง 4 ตำาแหน่ง a. (0.1111)10 b. (947.613)10 c. (4287.6543)10 2.5 จงแปลงเลขฐานสิบหกต่อไปนี้ เป็นเลขฐานแปด a. (ABCE)16 b. (97F)16 c. (A0)16 2.6 จงแปลงเลขฐานแปดต่อไปนี้ เป็นเลขฐานสิบหก a. (375)8 b. (054)8 c. (3517)8 อ้างอิงโปรแกรม http://kmitlboard.packetlove.com/webserv/bnctool/#b10tob2