SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
และสังคมแห่งปัญญา
โลกยุคหน้าจะมีความท้าทายมากขึ้น เพราะเต็มไปด้วย
การแข่งขันที่สูงยิ่งโดยเฉพาะการแข่งขันที่มีความรู้
(knowledge) ที่ครอบคลุมทั้งการแสวงหาความรู้ การแปร
ความหมาย ความเข้าใจกับความรู้นั้นมีความแม่นยำาในทฤษฎี
และประยุกต์ความรู้ใหม่ ต้องคิดใหม่สร้างนวัตกรรมใหม่
สามารถสร้างวิกฤตเป็นโอกาส โรงเรียนเป็นสถาบันที่ทำา
หน้าที่พัฒนาคนให้เกิดความรู้ทักษะพัฒนาชีวิต โรงเรียนจึง
ต้องสร้างบรรยากาศในโรงเรียนให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
และสังคมแห่งปัญญาตามที่สังคมคาดหวังไว้ให้ได้
ยุทธศาสตร์ในการเสริมสร้างการเรียนรู้
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมทีให้ผู้เรียนปฏิบัติจริงและค้น
พบสิ่งใหม่ ๆ เรียนรู้วิธีเรียนรู้ได้ทำางานกลุ่มผ่านกระบวนการ
ประชาธิปไตยทำาให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียนและผู้
สอน
2. การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ให้ทุกสถาบันในชุมชน
มีส่วนร่วมในการถ่ายทอดภูมิปัญญาแลกเปลี่ยนความรู้เกิดการ
เรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างความเข็มเเข็งแห่งปัญญา
3. การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ของชุมชนเป็นการสร้าง
ชีวิตสาธารณะ ทุกคนมีส่วนร่วมกำาหนดประเด็นปัญหาและ
ร่วมหาทางเลือกโดยผ่านการพิจารณาของทุกส่วนและกำาหนด
กิจกรรมที่จะต้องปฏิบัติและการเรียนรู้ร่วมกันโดยมีการ
ประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
เทคนิคการเสริมสร้างการเรียนรู้สู่ผู้เรียน
ประเวศ วะสี ได้เสนอกระบวนการทางปัญญาในการ
พัฒนาและเสริมสร้างการเรียนรู้ดังนี้
1. ฝึกสังเกตในสิ่งที่เห็นหรือสิ่งแวดล้อม
2. ฝึกบันทึกโดยการวาดภาพ บันทึกข้อความภาพถ่าย
ตามสถานการณ์เพื่อพัฒนาปัญญา
3. ฝึกนำาเสนอเพื่อให้ผู้อื่นได้รับรู้ว่าเราได้บันทึกสิ่งใด
4. ฝึกการฟัง การฟังทำาให้คนฉลาดขึ้นสิ่งที่คนเราทำาได้
ยากยิ่งนั้นคือการเป็นผู้ฟังที่ดี
5. ฝึกปุจฉา – วิสัชนา หรือ ฝึกถามตอบซึ่งเป็นการฝึก
ใช้เหตุผลทำาให้เกิดความแจ่มแจ้งในเรื่องนั้น
6. ฝึกตั้งสมมุติฐานหรือตั้งคำาถามเพื่อที่จะหาคำาตอบจาก
แหล่งเรียนรู้
7. ฝึกการค้นหาคำาตอบเมื่อคำาถามจะต้องสืบค้นเพื่อที่จะ
หาคำาตอบสืบค้นหาคำาตอบจากแหล่งเรียนรู้
8. การวิจัยเพื่อหาคำาตอบและสร้างความรู้ใหม่
9. เชื่อมโยงบูรณาการเป็นการเรียนรู้ไม่แยกส่วน
10. การเขียนเรียบเรียงทางวิชาการเพื่อรับรองการเรียนรู้
ที่ผ่านกระบวนการเรียนรู้ทำาให้เกิดความแม่นยำาในเรื่องที่เรียน
คุณลักษณะของบุคคลแห่งการเรียนรู้
โรงเรียนควรพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
ซึ่ง วิชัย ราษฎร์ศิริ ได้กล่าวถึงลักษณะบุคคลแห่งการเรียนรู้
3 ประการ คือ
1. รักการเรียนรู้ การที่จะรักการเรียนรู้ไม่ได้ขึ้นอยู่กับ
จิตใจเป็นสำาคัญ การจูงใจของผู้ใหญ่จัดสิ่งแวดล้อมตลอดจน
การเลี้ยงดูจะปลูกฝัง ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กเห็นคุณค่าของ
การเรียนรู้ สิ่งสำาคัญที่แสดงว่าเด็กรักการเรียนรู้ คือ มีความ
อยากรู้อยากเห็น ชองซักถาม มีความกระตือรือร้น มี
จินตนาการพยายามที่จะเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา
2. มีวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย ซึ่งสอดคล้องกับการเรียน
รู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ ได้แก่
2.1 การเรียนรู้โดยใช้อวัยวะสัมผัสคือ การเรียนรู้ที่
ผ่านการใช้ ตา หู จมูก ลิ้น และการสัมผัสข้อมูลและเหตุการณ์
ซึ่งจะให้ทำาให้สามารถแยกแยะลงความเห็นทำาให้เกิดการเรียน
รู้
องค์กา
รแห่ง
การ
2.2 เรียนรู้โดยใช้ทักษะทางภาษา โดยทักษะการ
อ่านจะเป็นเครื่องมือของบุคคลแห่งการเรียนรู้
2.3 การเรียนรู้โดยใช้ สุ จิ ปุ ลิ (ฟัง คิด ถาม เขียน )
ซึ่งเป็นหัวใจของ
นักปราญช์
2.4 การแสวงหาความรู้โดยวิธีสืบค้น (Inquiry
Method) ซึ่งประกอบด้วยการสังเกตการอธิบาย การทำานาย
และการประยุกต์ใช้
2.5 การใช้อริยสัจสี่ ในการแสวงหาความรู้ ทุกข์
สมุทัย นิโรธ มรรค คือเริ่มต้นที่ปัญหาแล้วหาสามเหตุเลือกทาง
เลือกแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง
2.6 การใช้วิธีทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Process)
คือการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เช่น การทดลองการ
วิจัย
3. ได้ความรู้ที่เป็นองค์รวม (Holistic) เมื่อนำาเอาความรู้
สาขาต่าง ๆ ประยุกต์ในชีวิตจริง และการประกอบอาชีพผสม
ผสานระหว่างความรู้ ความคิดและสติปัญญา (Cognitive
Domain) ทักษะการะบวนการ (Psychormotor Domain) และ
จิตพิสัยความรู้สึกนึกคิด คุณธรรม ค่านิยม (Affective
Domain) ซึ่งเป็นการพัฒนาให้ผู้เรียนรู้สึกรู้กว้างต่อไป
โรงเรียนองค์แห่งการเรียนรู้
โรงเรียนมีโอกาสที่จะแข่งขันสูงขึ้นมากในอนาคต
โรงเรียนที่พร้อมทุกด้านจึงจะอยู่รอด เพราะโรงเรียนจะเป็น
สถาบันบริการด้านความรู้ ผู้บริหารสถานศึกษาต้องบริหาร
กิจการให้เกิดความเป็นเลิศเป็นที่ยอมรับของลูกค้า คือผู้
ปกครอง หรือชุมชน โรงเรียนจึงต้องสร้างบรรยากาศให้เป็น
องค์การแห่งการเรียนรู้ 5 มิติดังรูปที่ 1 ซึ่งแต่ละมิติมีราย
ละเอียดดังนี้
บุคคลที่
รอบรู้
(Personal
โมเดลของ
ความคิด
(Mentel
วิสัยทัศน์
ร่วม
(Shared
ทีมแห่งการ
เรียนรู้
(Team
การคิดเชิง
ระบบ
(System
1. บุคคลที่รอบรู้ (Personal Mastery) ผู้บริหาร
สถานศึกษาและครู ต้องเป็นแบบอย่างในการแสวงหาความรู้
เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้โดยการเผยแพร่ความรู้ที่ตนได้
ศึกษาให้แก่กัน เครื่องมือที่สำาคัญในการพัฒนาตนเองให้เป็น
บุคคลแห่งการเรียนรู้คือการอ่าน เพราะการอ่านเป็นการรับ
ข้อมูลสารสนเทศที่เป็นความรู้ความคิดที่หลากหลาย ที่ครูจะ
กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจที่จะแสวงหาสิ่งใหม่ ๆ ต่อไป
2. โมเดลของความคิด (Mental Model) ทุกคนใน
โรงเรียนต้องเปิดใจให้กว้าง ไว้ใจซึ่งกันและกัน ร่วมกัน
วางแผนสร้างฝังความคิดในการปฏิบัติงาน แนวทางการ
ทำางานจะต้องอยู่บนพื้นฐานแห่งเหตุผล ใช้กระบวนการแก้
ปัญหาและดำาเนินการอย่างมีชีวิตชีวา บรรยากาศภายใน
โรงเรียนซึ่งต้องเป็นไปตามข้อตกลงของการกำาหนดวิสัยทัศน์
และเป้าหมายที่ตั้งไว้
3. วิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision) ทุกคนในโรงเรียน
ต้องมีส่วนร่วมในการกำาหนดวิสัยทัศน์ ซึ่งเป็นภาพในอนาคต
ที่ควรจะเป็นของโรงเรียนที่ทุกคนใช้หลักเหตุผลบนพื้นฐาน
ของการเป็นหุ้นส่วนหรือพันธมิตร วิสัยทัศน์ของโรงเรียนจะ
ต้องคำานึงถึงความเป็นไปได้ ไม่ใช่ความฝันที่สูญเปล่า
4. ทีมแห่งการเรียนรู้ (Team Learning) โรงเรียน
ต้องมีเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ ใช้สารสนเทศเชื่อมต่อระหว่างผู้
บริหารกับบุคลากร การเรียนรู้ควรเกิดขึ้นที่ฝ่ายปฏิบัติการเป็น
ส่วนใหญ่ ไม่ใช่เฉพาะฝ่ายบริหารเท่านั้น ใช้การปฏิบัติงาน
เป็นเครื่องมือหรือเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การปฏิบัติงาน
ร่วมกัน แก้ปัญหาร่วมกัน คือ การสร้างทีมงานแห่งการเรียนรู้
5. การคิดเชิงระบบ (System Thinking) โรงเรียน
ต้องให้บุคคลและทีมงานเกิดกระบวนการเคลื่อนไหวและ
เติบโตบนลักษณะปฏิสัมพันธ์และข้อมูลย้อนกลับ ทุกคนต้อง
เข้าใจถึงจุดสำาคัญของการคิดเชิงระบบ ก็คือ ใช้ข้อมูลย้อม
กลับ จากปัจจัยป้อนกระบวนการและผลผลิตส่งเสริมให้ทุกคน
คิดอย่างสร้างสรรค์และความคิดเชิงสังเคราะห์
การสร้างบรรยากาศภายในโรงเรียนที่สนับสนุนให้ผู้
เรียนเกิดการเรียนรู้
การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางมุ่งส่ง
เสริมบทบาทผู้เรียนได้เรียนรู้ค้นพบความรู้ด้วยตนเอง โดย
การปฏิบัติจริงเป็นความรู้ที่เกิดจากความรู้ที่ได้ลงมือค้นหา แม้
ครูจะลดบทบาทการบอกลงแต่ครูกลับต้องทำางานหนักขึ้น
ต้องเตรียมการสอน ใช้ความสามารถและความพยามยาม
อย่างมากในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่จะสามารถช่วย
ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสร้างความรู้ด้วยตนเอง ต้องเตรียมข้อมูล
ติดต่อแหล่งข้อมูลและจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้เพียงพอ
ขณะสอนต้องคอยให้ความช่วยเหลือแนะนำาให้เป็นประโยชน์
ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน บรรยากาศในโรงเรียนควรจะมี
ลักษณะตามที่พิชัย เสงี่ยมจิตต์ (2542:199) เสนอแนะไว้ดังนี้
1. บรรยากาศที่ท้าทาย เป็นการกระตุ้นให้เกิดกำาลังใจ
เพื่อให้ผู้เรียนประสบผลสำาเร็จในการเรียน
2. บรรยากาศที่เป็นอิสระ การช่วยให้ผู้เรียนมีการยอมรับ
หนับถือตนเอง
(Self Esteem) ผู้เรียนมีโอกาสที่จะเลือกตัดสินใจต่อสิ่งที่มี
คุณค่า มีความหมาย รวมทั้งโอกาสที่จะทำาผิดพลาดด้วยตนเอง
3. บรรยากาศที่มีการยอมรับนับถือซึ่งกันและกัน ครูผู้
สอนเห็นคุณค่าในตัวผู้เรียนเป็นบุคคลสำาคัญมากกว่าการเรียน
การสอน เชื่อว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้
4. บรรยากาศที่มีความอบอุ่น ความอบอุ่นทางจิตใจมีผล
ต่อความสำาเร็จในการเรียน การที่ครูผู้สอนเข้าใจ มีความเป็น
มิตรจะทำาให้ผู้เรียนมีความรู้สึกอยากเรียน รักการเรียน รัก
วิชาที่เรียน
5. บรรยากาศแห่งความมีวินัยแห่งตน ผู้เรียนที่อยู่ใน
บรรยากาศที่เป็นกันเองจะมีความมั่นใจในตนเองได้ดีกว่าผู้
เรียนที่อยู่ในบรรยากาศที่มีการควบคุม
6. บรรยากาศแห่งความสำาเร็จ คนเราจะเรียนรู้ว่าตนเอง
มีความสามารถนั้นไม่ใช่จากความล้มเหลวแต่มาจากความ
สำาเร็จ ครูจะต้องพยายามสร้างสิ่งนี้ให้เกิดขึ้นให้ผู้เรียน
7. บรรยากาศแห่งความใกล้ชิด ผู้เรียนทุกคนมีความ
ต้องการที่จะได้รับการสัมผัส แตะต้องและความเอาใจใส่จากผู้
สอนและผู้เรียนคนอื่น ๆ
การจัดชั้นเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้
สภาพห้องเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ครูต้องยั่วยุให้ผู้
เรียนมีส่วนร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ ร่วมแก้ปัญหากระตุ้นให้ผู้เรียน
คิดอย่างสร้างสรรค์ กรมวิชาการ (2539:4-8) ได้เสนอ
แนวทางในการจัดชั้นเรียนดังนี้
1. จัดแสงสว่างให้เพียงพอ
2. จัดห้องเรียนให้สะอาดและมีระเบียบ
3. ห้องเรียนปราศจากเสียงรบกวนจากภายนอกพอ
สมควร
4. มีการจัดอุปกรณ์การสอนให้พอเหมาะ
5. โต๊ะเรียนและเก้าอี้ โต๊ะเรียนและเก้าอี้ควรเป็นโต๊ะ
เดี่ยว ไม่หนักจนเกินไป และขนาดพอเหมาะ เพราะจะสะดวก
ต่อการเคลื่อนย้าย การจัดควรเปลี่ยนไปเป็นรูปแบบต่าง ๆ
ตามกิจกรรมการเรียนการสอน และที่สำาคัญต้องเหมาะสมกับ
วัยของนักเรียน
6. กระดานชอล์ก การะดานชอล์กควรมีขนาดกว้างยาว
พอสมควร สีที่ทาควรใช้สีเขียว
7. ตู้หรือชั้นสำาหรับวางของ ตู้หรือชั้นสำาหรับวางของควร
วางไว้รอบ ๆ ชั้นเรียน เพื่อเก็บเครื่องใช้ที่จำาเป็น เช่น อุปกรณ์
การเรียน หนังสือต่าง ๆ สมุดแปบฝึกหัด อุปกรณ์ทำาความ
สะอาดหรือเครื่องใช้ของนักเรียนได้แก่ ยาสีฟัน แปรงสีฟัน
แก้วนำ้า และอื่น ๆ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ ควรเก็บเป็นหมวดหมู่และ
วางไว้ให้เรียบร้อยสวยงาม เป็นการฝึกนิสัยให้นักเรียนมี
ระเบียบวินัย
8. ป้ายนิเทศ ป้ายนิเทศมักติดไว้ที่ฝาผนังห้องเรียนด้าน
หลังหรือสองข้างของกระดานมีไว้เพื่อติดข่าวสารและผลงาน
ของนักเรียน การจัดป้ายนิเทศหากเป็นไปได้ ครูและนักเรียน
ควรร่วมมือกันจัดโดยให้สอดคล้องกับบทเรียนและเหตุการณ์
ปัจจุบัน เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันเด็ก วันเข้าพรรษา และควรมีการ
เปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมและทันต่อเหตุการณ์
9. บัตรคำา แผนภูมิ และแผนผัง บัตรคำาแผนภูมิและ
แผนผัง หลังจากใช้ในการเรียนการสอนแล้วควรนำามาติดไว้
ในห้องเรียนประมาณ 2 สัปดาห์
10. ภาพ ภาพที่นำามาติดในห้องเรียน ควรเป็นภาพถ่าย
ภาพพิมพ์ และภาพขยายที่เกี่ยวกับความรู้ในวิชาต่าง ๆ ภาพ
ต้องมีขนาดใหญ่พอควรชัดเจน มีสีสันสวยงาม เพื่อดึงดูดความ
สนใจ และที่สำาคัญภาพเหล่านี้ควรเปลี่ยนไปตามเนื้อหาของบท
เรียนแต่ละบท คำานึงถึงการจัดให้ได้สัดส่วนพอดีสวยงามน่า
มอง
11. การจัดให้มีการแสดงผลงาน ครูควรนำาผลงานดีเด่น
ของนักเรียนมาแสดง เพราะจะทำาให้นักเรียนเกิดความภูมิใจ
ในความสำาเร็จ และมีกำาลังใจในการเรียนและการผลิตผลงาน
ของตนเองต่อไปนักเรียนคนอื่น ๆ จะเกิดความคิดที่จะผลิตผล
งานของตนเองบ้าง
12. การจัดให้มีมุมเสริมความรู้ กลุ่มประสบการณ์ต่าง ๆ
ครูควรจัดมุมเสริมความรู้ กลุ่มประสบการณ์ต่าง ๆ ตามความ
จำาเป็นและความเหมาะสม เช่น มุมภาษาไทย มุมสร้างเสริม
ประสบการณ์ชีวิต มุมสร้างเสริมลักษณะนิสัย มุมการงานและ
พื้นฐานอาชีพและมุมหนังสือ เป็นต้น ซึ่งจากการจัดมุม
ประสบการณ์ต่าง ๆ เหล่านี้ หากเป็นไปได้ ควรให้นักเรียนมี
ส่วนร่วมในการจัดเพราะจะทำาให้นักเรียนรู้สึกเป็นเจ้าของและ
จะช่วยใช้และรักษาอย่างทะนุถนอม
ครูมือปราญช์ทางการสอนวิชาชีพครูได้รับการยกย่องให้
เป็นวิชาชีพชั้นสูง การจัดการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็น
สำาคัญที่สุด ครูควรเปลี่ยนบทบาทจากผู้บอกมาสู่การใช้คำา
แนะนำาส่งเสริม แม้จะเปลี่ยนบทบาทจากครูเป็นศูนย์กลาง แต่
ครูกลับต้องทำางานหนักมากขึ้น เพราะการให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม
ในการวางแผนจัดการเรียนรู้ ซึ่งผู้เรียนมีความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล ประกอบการลีลาการเรียนรู้ของแต่ละคนย่อมมี
ความชอบไม่เหมือนกัน ครูยุคใหม่จึงต้องทำางานท่ามกลาง
ความหลากหลายให้ประสบความสำาเร็จ ทำาอย่างไรผู้เรียนจึง
จะเรียนรู้ โยไม่รู้สึกว่าถูกครูสอน ผู้เรียนเรียนรู้วิธีการเรียนรู้
ซึ่งตนเองถนัดและชื่นชอบ ครูเท่านั้นที่จะหาคำาตอบเหล่านี้
เมื่อวันใดที่ครูเราเป็นเบ้าหลอมดวงใจเด็กให้เกิดความสนใจ
ใฝ่รู้ วันนั้นคือวันแห่งความฝันของผู้เรียนที่ครูรอคอยมานาน
ที่ทุกฝ่ายต้องการที่จะเห็นโรงเรียนในอุดมคติดังบทกลอนที่ว่า
โรงเรียนคือสถานบ้านความรู้
โรงเรียนที่อยู่แสนหรรษา
โรงเรียนคือแหล่งอบรมจริยา
โรงเรียนสร้างคุณค่าชีวิตคน
เมื่อใดที่ครูจัดบรรยากาศในการเรียนรู้ให้ผู้เรียนอยู่อย่าง
มีความสุข เด็กก็จะรักการเรียน หากการเรียนรู้ไม่น่าสนใจ
ไม่มีความหมายกับตัวผู้เรียนและมีความรู้สุกว่าการเรียนน่าเบื่อ
หน่ายเด็กจะปฏิเสธโรงเรียน

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาChowwalit Chookhampaeng
 
โครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยโครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยPapatchaya Jakchaisin
 
คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3Noppakhun Suebloei
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันPaew Tongpanya
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรBigbic Thanyarat
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลมdnavaroj
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมดคน ขี้เล่า
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนSukanya Polratanamonkol
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์Fon Edu Com-sci
 
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdfแบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdfSophinyaDara
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีSophinyaDara
 
Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...
Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...
Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...laoon
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 
โครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยโครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทย
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียน
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdfแบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
 
Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...
Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...
Best Practice ด้านสื่อ/นวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิการเรียนร่...
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 

Viewers also liked

แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กแนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กKittisak Amthow
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม Sireetorn Buanak
 
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้bungon
 
Lifelong Learning : Thai Law - Draft
Lifelong Learning : Thai Law - DraftLifelong Learning : Thai Law - Draft
Lifelong Learning : Thai Law - DraftBoonlert Aroonpiboon
 
แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( PLC)
แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( PLC)แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( PLC)
แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( PLC)ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
การจัดโครงสร้างสถานศึกษา
การจัดโครงสร้างสถานศึกษาการจัดโครงสร้างสถานศึกษา
การจัดโครงสร้างสถานศึกษาUdomchai Boonrod
 
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธDrDanai Thienphut
 
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาPhuritchanart Thongmee
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2seven_mu7
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดguestf57acc
 
การศึกษาแบบเรียนรวม
การศึกษาแบบเรียนรวมการศึกษาแบบเรียนรวม
การศึกษาแบบเรียนรวมSupakdee Wannatong
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6Panomporn Chinchana
 
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยาการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยานภดล รุ่งจรูญ
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...Nattapon
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตProud N. Boonrak
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามSuppalak Lim
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการTwatchai Tangutairuang
 

Viewers also liked (20)

แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กแนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
 
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
 
Lifelong Learning : Thai Law - Draft
Lifelong Learning : Thai Law - DraftLifelong Learning : Thai Law - Draft
Lifelong Learning : Thai Law - Draft
 
แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( PLC)
แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( PLC)แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( PLC)
แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( PLC)
 
การจัดโครงสร้างสถานศึกษา
การจัดโครงสร้างสถานศึกษาการจัดโครงสร้างสถานศึกษา
การจัดโครงสร้างสถานศึกษา
 
Km
KmKm
Km
 
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
 
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
การศึกษาแบบเรียนรวม
การศึกษาแบบเรียนรวมการศึกษาแบบเรียนรวม
การศึกษาแบบเรียนรวม
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
 
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยาการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกุยบุรีวิทยา
 
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ป.2
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ป.2ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ป.2
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ป.2
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
 

Similar to การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา

บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้Weerachat Martluplao
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้Weerachat Martluplao
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..Areerat Robkob
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยFuangFah Tingmaha-in
 
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังเทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังPanwipa' Pornpirunroj
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...นิพ พิทา
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Noppasorn Boonsena
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 

Similar to การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา (20)

Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
Innovation...
Innovation...Innovation...
Innovation...
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังเทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 

การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา

  • 1. การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ และสังคมแห่งปัญญา โลกยุคหน้าจะมีความท้าทายมากขึ้น เพราะเต็มไปด้วย การแข่งขันที่สูงยิ่งโดยเฉพาะการแข่งขันที่มีความรู้ (knowledge) ที่ครอบคลุมทั้งการแสวงหาความรู้ การแปร ความหมาย ความเข้าใจกับความรู้นั้นมีความแม่นยำาในทฤษฎี และประยุกต์ความรู้ใหม่ ต้องคิดใหม่สร้างนวัตกรรมใหม่ สามารถสร้างวิกฤตเป็นโอกาส โรงเรียนเป็นสถาบันที่ทำา หน้าที่พัฒนาคนให้เกิดความรู้ทักษะพัฒนาชีวิต โรงเรียนจึง ต้องสร้างบรรยากาศในโรงเรียนให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ และสังคมแห่งปัญญาตามที่สังคมคาดหวังไว้ให้ได้ ยุทธศาสตร์ในการเสริมสร้างการเรียนรู้ 1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมทีให้ผู้เรียนปฏิบัติจริงและค้น พบสิ่งใหม่ ๆ เรียนรู้วิธีเรียนรู้ได้ทำางานกลุ่มผ่านกระบวนการ ประชาธิปไตยทำาให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียนและผู้ สอน 2. การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ให้ทุกสถาบันในชุมชน มีส่วนร่วมในการถ่ายทอดภูมิปัญญาแลกเปลี่ยนความรู้เกิดการ เรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างความเข็มเเข็งแห่งปัญญา 3. การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ของชุมชนเป็นการสร้าง ชีวิตสาธารณะ ทุกคนมีส่วนร่วมกำาหนดประเด็นปัญหาและ ร่วมหาทางเลือกโดยผ่านการพิจารณาของทุกส่วนและกำาหนด กิจกรรมที่จะต้องปฏิบัติและการเรียนรู้ร่วมกันโดยมีการ ประเมินผลอย่างต่อเนื่อง เทคนิคการเสริมสร้างการเรียนรู้สู่ผู้เรียน ประเวศ วะสี ได้เสนอกระบวนการทางปัญญาในการ พัฒนาและเสริมสร้างการเรียนรู้ดังนี้ 1. ฝึกสังเกตในสิ่งที่เห็นหรือสิ่งแวดล้อม 2. ฝึกบันทึกโดยการวาดภาพ บันทึกข้อความภาพถ่าย ตามสถานการณ์เพื่อพัฒนาปัญญา
  • 2. 3. ฝึกนำาเสนอเพื่อให้ผู้อื่นได้รับรู้ว่าเราได้บันทึกสิ่งใด 4. ฝึกการฟัง การฟังทำาให้คนฉลาดขึ้นสิ่งที่คนเราทำาได้ ยากยิ่งนั้นคือการเป็นผู้ฟังที่ดี 5. ฝึกปุจฉา – วิสัชนา หรือ ฝึกถามตอบซึ่งเป็นการฝึก ใช้เหตุผลทำาให้เกิดความแจ่มแจ้งในเรื่องนั้น 6. ฝึกตั้งสมมุติฐานหรือตั้งคำาถามเพื่อที่จะหาคำาตอบจาก แหล่งเรียนรู้ 7. ฝึกการค้นหาคำาตอบเมื่อคำาถามจะต้องสืบค้นเพื่อที่จะ หาคำาตอบสืบค้นหาคำาตอบจากแหล่งเรียนรู้ 8. การวิจัยเพื่อหาคำาตอบและสร้างความรู้ใหม่ 9. เชื่อมโยงบูรณาการเป็นการเรียนรู้ไม่แยกส่วน 10. การเขียนเรียบเรียงทางวิชาการเพื่อรับรองการเรียนรู้ ที่ผ่านกระบวนการเรียนรู้ทำาให้เกิดความแม่นยำาในเรื่องที่เรียน คุณลักษณะของบุคคลแห่งการเรียนรู้ โรงเรียนควรพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ซึ่ง วิชัย ราษฎร์ศิริ ได้กล่าวถึงลักษณะบุคคลแห่งการเรียนรู้ 3 ประการ คือ 1. รักการเรียนรู้ การที่จะรักการเรียนรู้ไม่ได้ขึ้นอยู่กับ จิตใจเป็นสำาคัญ การจูงใจของผู้ใหญ่จัดสิ่งแวดล้อมตลอดจน การเลี้ยงดูจะปลูกฝัง ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กเห็นคุณค่าของ การเรียนรู้ สิ่งสำาคัญที่แสดงว่าเด็กรักการเรียนรู้ คือ มีความ อยากรู้อยากเห็น ชองซักถาม มีความกระตือรือร้น มี จินตนาการพยายามที่จะเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา 2. มีวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย ซึ่งสอดคล้องกับการเรียน รู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ ได้แก่ 2.1 การเรียนรู้โดยใช้อวัยวะสัมผัสคือ การเรียนรู้ที่ ผ่านการใช้ ตา หู จมูก ลิ้น และการสัมผัสข้อมูลและเหตุการณ์ ซึ่งจะให้ทำาให้สามารถแยกแยะลงความเห็นทำาให้เกิดการเรียน รู้
  • 3. องค์กา รแห่ง การ 2.2 เรียนรู้โดยใช้ทักษะทางภาษา โดยทักษะการ อ่านจะเป็นเครื่องมือของบุคคลแห่งการเรียนรู้ 2.3 การเรียนรู้โดยใช้ สุ จิ ปุ ลิ (ฟัง คิด ถาม เขียน ) ซึ่งเป็นหัวใจของ นักปราญช์ 2.4 การแสวงหาความรู้โดยวิธีสืบค้น (Inquiry Method) ซึ่งประกอบด้วยการสังเกตการอธิบาย การทำานาย และการประยุกต์ใช้ 2.5 การใช้อริยสัจสี่ ในการแสวงหาความรู้ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค คือเริ่มต้นที่ปัญหาแล้วหาสามเหตุเลือกทาง เลือกแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง 2.6 การใช้วิธีทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Process) คือการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เช่น การทดลองการ วิจัย 3. ได้ความรู้ที่เป็นองค์รวม (Holistic) เมื่อนำาเอาความรู้ สาขาต่าง ๆ ประยุกต์ในชีวิตจริง และการประกอบอาชีพผสม ผสานระหว่างความรู้ ความคิดและสติปัญญา (Cognitive Domain) ทักษะการะบวนการ (Psychormotor Domain) และ จิตพิสัยความรู้สึกนึกคิด คุณธรรม ค่านิยม (Affective Domain) ซึ่งเป็นการพัฒนาให้ผู้เรียนรู้สึกรู้กว้างต่อไป โรงเรียนองค์แห่งการเรียนรู้ โรงเรียนมีโอกาสที่จะแข่งขันสูงขึ้นมากในอนาคต โรงเรียนที่พร้อมทุกด้านจึงจะอยู่รอด เพราะโรงเรียนจะเป็น สถาบันบริการด้านความรู้ ผู้บริหารสถานศึกษาต้องบริหาร กิจการให้เกิดความเป็นเลิศเป็นที่ยอมรับของลูกค้า คือผู้ ปกครอง หรือชุมชน โรงเรียนจึงต้องสร้างบรรยากาศให้เป็น องค์การแห่งการเรียนรู้ 5 มิติดังรูปที่ 1 ซึ่งแต่ละมิติมีราย ละเอียดดังนี้ บุคคลที่ รอบรู้ (Personal โมเดลของ ความคิด (Mentel วิสัยทัศน์ ร่วม (Shared ทีมแห่งการ เรียนรู้ (Team การคิดเชิง ระบบ (System
  • 4. 1. บุคคลที่รอบรู้ (Personal Mastery) ผู้บริหาร สถานศึกษาและครู ต้องเป็นแบบอย่างในการแสวงหาความรู้ เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้โดยการเผยแพร่ความรู้ที่ตนได้ ศึกษาให้แก่กัน เครื่องมือที่สำาคัญในการพัฒนาตนเองให้เป็น บุคคลแห่งการเรียนรู้คือการอ่าน เพราะการอ่านเป็นการรับ ข้อมูลสารสนเทศที่เป็นความรู้ความคิดที่หลากหลาย ที่ครูจะ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจที่จะแสวงหาสิ่งใหม่ ๆ ต่อไป 2. โมเดลของความคิด (Mental Model) ทุกคนใน โรงเรียนต้องเปิดใจให้กว้าง ไว้ใจซึ่งกันและกัน ร่วมกัน วางแผนสร้างฝังความคิดในการปฏิบัติงาน แนวทางการ ทำางานจะต้องอยู่บนพื้นฐานแห่งเหตุผล ใช้กระบวนการแก้ ปัญหาและดำาเนินการอย่างมีชีวิตชีวา บรรยากาศภายใน โรงเรียนซึ่งต้องเป็นไปตามข้อตกลงของการกำาหนดวิสัยทัศน์ และเป้าหมายที่ตั้งไว้ 3. วิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision) ทุกคนในโรงเรียน ต้องมีส่วนร่วมในการกำาหนดวิสัยทัศน์ ซึ่งเป็นภาพในอนาคต ที่ควรจะเป็นของโรงเรียนที่ทุกคนใช้หลักเหตุผลบนพื้นฐาน ของการเป็นหุ้นส่วนหรือพันธมิตร วิสัยทัศน์ของโรงเรียนจะ ต้องคำานึงถึงความเป็นไปได้ ไม่ใช่ความฝันที่สูญเปล่า 4. ทีมแห่งการเรียนรู้ (Team Learning) โรงเรียน ต้องมีเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ ใช้สารสนเทศเชื่อมต่อระหว่างผู้ บริหารกับบุคลากร การเรียนรู้ควรเกิดขึ้นที่ฝ่ายปฏิบัติการเป็น ส่วนใหญ่ ไม่ใช่เฉพาะฝ่ายบริหารเท่านั้น ใช้การปฏิบัติงาน เป็นเครื่องมือหรือเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การปฏิบัติงาน ร่วมกัน แก้ปัญหาร่วมกัน คือ การสร้างทีมงานแห่งการเรียนรู้
  • 5. 5. การคิดเชิงระบบ (System Thinking) โรงเรียน ต้องให้บุคคลและทีมงานเกิดกระบวนการเคลื่อนไหวและ เติบโตบนลักษณะปฏิสัมพันธ์และข้อมูลย้อนกลับ ทุกคนต้อง เข้าใจถึงจุดสำาคัญของการคิดเชิงระบบ ก็คือ ใช้ข้อมูลย้อม กลับ จากปัจจัยป้อนกระบวนการและผลผลิตส่งเสริมให้ทุกคน คิดอย่างสร้างสรรค์และความคิดเชิงสังเคราะห์ การสร้างบรรยากาศภายในโรงเรียนที่สนับสนุนให้ผู้ เรียนเกิดการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางมุ่งส่ง เสริมบทบาทผู้เรียนได้เรียนรู้ค้นพบความรู้ด้วยตนเอง โดย การปฏิบัติจริงเป็นความรู้ที่เกิดจากความรู้ที่ได้ลงมือค้นหา แม้ ครูจะลดบทบาทการบอกลงแต่ครูกลับต้องทำางานหนักขึ้น ต้องเตรียมการสอน ใช้ความสามารถและความพยามยาม อย่างมากในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่จะสามารถช่วย ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสร้างความรู้ด้วยตนเอง ต้องเตรียมข้อมูล ติดต่อแหล่งข้อมูลและจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้เพียงพอ ขณะสอนต้องคอยให้ความช่วยเหลือแนะนำาให้เป็นประโยชน์ ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน บรรยากาศในโรงเรียนควรจะมี ลักษณะตามที่พิชัย เสงี่ยมจิตต์ (2542:199) เสนอแนะไว้ดังนี้ 1. บรรยากาศที่ท้าทาย เป็นการกระตุ้นให้เกิดกำาลังใจ เพื่อให้ผู้เรียนประสบผลสำาเร็จในการเรียน 2. บรรยากาศที่เป็นอิสระ การช่วยให้ผู้เรียนมีการยอมรับ หนับถือตนเอง (Self Esteem) ผู้เรียนมีโอกาสที่จะเลือกตัดสินใจต่อสิ่งที่มี คุณค่า มีความหมาย รวมทั้งโอกาสที่จะทำาผิดพลาดด้วยตนเอง 3. บรรยากาศที่มีการยอมรับนับถือซึ่งกันและกัน ครูผู้ สอนเห็นคุณค่าในตัวผู้เรียนเป็นบุคคลสำาคัญมากกว่าการเรียน การสอน เชื่อว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้ 4. บรรยากาศที่มีความอบอุ่น ความอบอุ่นทางจิตใจมีผล ต่อความสำาเร็จในการเรียน การที่ครูผู้สอนเข้าใจ มีความเป็น มิตรจะทำาให้ผู้เรียนมีความรู้สึกอยากเรียน รักการเรียน รัก วิชาที่เรียน
  • 6. 5. บรรยากาศแห่งความมีวินัยแห่งตน ผู้เรียนที่อยู่ใน บรรยากาศที่เป็นกันเองจะมีความมั่นใจในตนเองได้ดีกว่าผู้ เรียนที่อยู่ในบรรยากาศที่มีการควบคุม 6. บรรยากาศแห่งความสำาเร็จ คนเราจะเรียนรู้ว่าตนเอง มีความสามารถนั้นไม่ใช่จากความล้มเหลวแต่มาจากความ สำาเร็จ ครูจะต้องพยายามสร้างสิ่งนี้ให้เกิดขึ้นให้ผู้เรียน 7. บรรยากาศแห่งความใกล้ชิด ผู้เรียนทุกคนมีความ ต้องการที่จะได้รับการสัมผัส แตะต้องและความเอาใจใส่จากผู้ สอนและผู้เรียนคนอื่น ๆ การจัดชั้นเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ สภาพห้องเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ครูต้องยั่วยุให้ผู้ เรียนมีส่วนร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ ร่วมแก้ปัญหากระตุ้นให้ผู้เรียน คิดอย่างสร้างสรรค์ กรมวิชาการ (2539:4-8) ได้เสนอ แนวทางในการจัดชั้นเรียนดังนี้ 1. จัดแสงสว่างให้เพียงพอ 2. จัดห้องเรียนให้สะอาดและมีระเบียบ 3. ห้องเรียนปราศจากเสียงรบกวนจากภายนอกพอ สมควร 4. มีการจัดอุปกรณ์การสอนให้พอเหมาะ 5. โต๊ะเรียนและเก้าอี้ โต๊ะเรียนและเก้าอี้ควรเป็นโต๊ะ เดี่ยว ไม่หนักจนเกินไป และขนาดพอเหมาะ เพราะจะสะดวก ต่อการเคลื่อนย้าย การจัดควรเปลี่ยนไปเป็นรูปแบบต่าง ๆ ตามกิจกรรมการเรียนการสอน และที่สำาคัญต้องเหมาะสมกับ วัยของนักเรียน 6. กระดานชอล์ก การะดานชอล์กควรมีขนาดกว้างยาว พอสมควร สีที่ทาควรใช้สีเขียว 7. ตู้หรือชั้นสำาหรับวางของ ตู้หรือชั้นสำาหรับวางของควร วางไว้รอบ ๆ ชั้นเรียน เพื่อเก็บเครื่องใช้ที่จำาเป็น เช่น อุปกรณ์ การเรียน หนังสือต่าง ๆ สมุดแปบฝึกหัด อุปกรณ์ทำาความ สะอาดหรือเครื่องใช้ของนักเรียนได้แก่ ยาสีฟัน แปรงสีฟัน แก้วนำ้า และอื่น ๆ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ ควรเก็บเป็นหมวดหมู่และ
  • 7. วางไว้ให้เรียบร้อยสวยงาม เป็นการฝึกนิสัยให้นักเรียนมี ระเบียบวินัย 8. ป้ายนิเทศ ป้ายนิเทศมักติดไว้ที่ฝาผนังห้องเรียนด้าน หลังหรือสองข้างของกระดานมีไว้เพื่อติดข่าวสารและผลงาน ของนักเรียน การจัดป้ายนิเทศหากเป็นไปได้ ครูและนักเรียน ควรร่วมมือกันจัดโดยให้สอดคล้องกับบทเรียนและเหตุการณ์ ปัจจุบัน เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันเด็ก วันเข้าพรรษา และควรมีการ เปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมและทันต่อเหตุการณ์ 9. บัตรคำา แผนภูมิ และแผนผัง บัตรคำาแผนภูมิและ แผนผัง หลังจากใช้ในการเรียนการสอนแล้วควรนำามาติดไว้ ในห้องเรียนประมาณ 2 สัปดาห์ 10. ภาพ ภาพที่นำามาติดในห้องเรียน ควรเป็นภาพถ่าย ภาพพิมพ์ และภาพขยายที่เกี่ยวกับความรู้ในวิชาต่าง ๆ ภาพ ต้องมีขนาดใหญ่พอควรชัดเจน มีสีสันสวยงาม เพื่อดึงดูดความ สนใจ และที่สำาคัญภาพเหล่านี้ควรเปลี่ยนไปตามเนื้อหาของบท เรียนแต่ละบท คำานึงถึงการจัดให้ได้สัดส่วนพอดีสวยงามน่า มอง 11. การจัดให้มีการแสดงผลงาน ครูควรนำาผลงานดีเด่น ของนักเรียนมาแสดง เพราะจะทำาให้นักเรียนเกิดความภูมิใจ ในความสำาเร็จ และมีกำาลังใจในการเรียนและการผลิตผลงาน ของตนเองต่อไปนักเรียนคนอื่น ๆ จะเกิดความคิดที่จะผลิตผล งานของตนเองบ้าง 12. การจัดให้มีมุมเสริมความรู้ กลุ่มประสบการณ์ต่าง ๆ ครูควรจัดมุมเสริมความรู้ กลุ่มประสบการณ์ต่าง ๆ ตามความ จำาเป็นและความเหมาะสม เช่น มุมภาษาไทย มุมสร้างเสริม ประสบการณ์ชีวิต มุมสร้างเสริมลักษณะนิสัย มุมการงานและ พื้นฐานอาชีพและมุมหนังสือ เป็นต้น ซึ่งจากการจัดมุม ประสบการณ์ต่าง ๆ เหล่านี้ หากเป็นไปได้ ควรให้นักเรียนมี ส่วนร่วมในการจัดเพราะจะทำาให้นักเรียนรู้สึกเป็นเจ้าของและ จะช่วยใช้และรักษาอย่างทะนุถนอม ครูมือปราญช์ทางการสอนวิชาชีพครูได้รับการยกย่องให้ เป็นวิชาชีพชั้นสูง การจัดการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็น สำาคัญที่สุด ครูควรเปลี่ยนบทบาทจากผู้บอกมาสู่การใช้คำา
  • 8. แนะนำาส่งเสริม แม้จะเปลี่ยนบทบาทจากครูเป็นศูนย์กลาง แต่ ครูกลับต้องทำางานหนักมากขึ้น เพราะการให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ในการวางแผนจัดการเรียนรู้ ซึ่งผู้เรียนมีความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ประกอบการลีลาการเรียนรู้ของแต่ละคนย่อมมี ความชอบไม่เหมือนกัน ครูยุคใหม่จึงต้องทำางานท่ามกลาง ความหลากหลายให้ประสบความสำาเร็จ ทำาอย่างไรผู้เรียนจึง จะเรียนรู้ โยไม่รู้สึกว่าถูกครูสอน ผู้เรียนเรียนรู้วิธีการเรียนรู้ ซึ่งตนเองถนัดและชื่นชอบ ครูเท่านั้นที่จะหาคำาตอบเหล่านี้ เมื่อวันใดที่ครูเราเป็นเบ้าหลอมดวงใจเด็กให้เกิดความสนใจ ใฝ่รู้ วันนั้นคือวันแห่งความฝันของผู้เรียนที่ครูรอคอยมานาน ที่ทุกฝ่ายต้องการที่จะเห็นโรงเรียนในอุดมคติดังบทกลอนที่ว่า โรงเรียนคือสถานบ้านความรู้ โรงเรียนที่อยู่แสนหรรษา โรงเรียนคือแหล่งอบรมจริยา โรงเรียนสร้างคุณค่าชีวิตคน เมื่อใดที่ครูจัดบรรยากาศในการเรียนรู้ให้ผู้เรียนอยู่อย่าง มีความสุข เด็กก็จะรักการเรียน หากการเรียนรู้ไม่น่าสนใจ ไม่มีความหมายกับตัวผู้เรียนและมีความรู้สุกว่าการเรียนน่าเบื่อ หน่ายเด็กจะปฏิเสธโรงเรียน