SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 25
Baixar para ler offline
1 
 
2 
 

ขอบเขตเนื้อหา
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับ กรมบังคับคดี
ความรูเกี่ยวกับกรมบังคับคดี
ประวัติกรมบังคับคดี
วิสัยทัศน
พันธกิจและอํานาจหนาที่
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
อํานาจหนาที่ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
ประเภทของการบังคับคดี
การยึดทรัพย
การอายัดทรัพย
การบังคับคดีในการฟองขับไลรื้อถอน
การจําหนายทรัพย
การบังคับคดีลมละลาย
กระบวนการลมละลาย
การฟนฟูกิจการ
เงื่อนไขการฟนฟูกิจการ
การวางทรัพย
เหตุของการวางทรัพย
ทรัพยที่วางได
วิธีปฏิบัติและหนาที่ของผูวางทรัพย
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการบังคับคดีแพง
แผนผังขั้นตอนการอายัดเงินในคดีแพง
แผนขั้นตอนการบังคับคดีขับไล-รื้อถอน
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการบังคับคดีลมละลาย
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการบังคับคดีแพง
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการฟนฟูกจการของลูกหนี้
ิ
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการวางทรัพย

5
5
5
6
6
7
7
8
9
9
10
10
10
11
13
13
14
15
15
16
18
20
21
22
23
25
27
3 
 

พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน 2551
ระเบียบฯ วาดวยพนักงานราชการ
ความรูความเขาใจเกี่ยวกับงานธุรการ
ระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548
สรุประเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548
ความรูเกี่ยวกับคอมพิวเตอร
ระบบเครือขาย
อินเตอรเน็ต
โปรแกรมประยุกตใชงานประเภทตางๆ
การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟแวร
ไวรัสคอมพิวเตอร
Microsoft Word
Microsoft Excel
Microsoft Powerpoint
แนวขอสอบ Microsoft Word
แนวขอสอบ Microsoft Excel
แนวขอสอบ Microsoft Powerpoint
แนวขอสอบ ระเบียบงานสารบรรณ
แนวขอสอบ พนักงานราชการ
แนวขอสอบ ระเบียบขาราชการพลเรือน
แนวขอสอบ คอมพิวเตอร
แนวขอสอบ ธุรการ

27
73
84
108
137
146
161
164
166
170
171
173
176
177
179
183
188
190
206
218
239
270
4 
 

ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกรมบังคับคดี
ประวัติกรมบังคับคดี
เดิ ม งานของกรมบั ง คั บ คดี มี ที่ ม าจากหน ว ยงานราชการระดั บ กองในสํ า นั ก
ปลัดกระทรวงยุติธรรม 2 กอง คือ กองบังคับคดีแพง และ กองบังคับคดีลมละลาย จนกระทั่ง
ป พ.ศ.2517 สมัยรัฐบาล ฯพณฯ ศาสตราจารยสัญญา ธรรมศักดิ์ เปนนายกรัฐมนตรี ทาน
กิ ต ติ สี ห นนท เปน รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงยุติธ รรมไดเห็น ความสํ าคั ญ ของทั้ ง สองกอง
ดังกลาว ประกอบกับงานบังคับคดีแพงและงานบังคับคดีลมละลายเพิ่มขึ้นมาก หนวยงานที่
จัดไวแตเดิม ไมเหมาะสมกับงานที่นับวันแตจะทวีปริมาณมากขึ้นทุกๆ ป
ดังนั้นเพื่อใหการดําเนินงานเกี่ยวกับการบังคับคดีแพง คดีลมละลาย งานเกี่ยวกับการ
วางทรัพยไดขยายอํานาจหนาที่ทั่วราชอาณาจักร รวมทั้งงานชําระบัญชีหางหุนสวนบริษัท
หรือ นิติบุคคลตามคําสั่งศาล ไดดําเนินการโดยเจาหนาที่ที่มีความรูความสามารถชํานาญ
งานในหนาที่ไดเปนไปอยางถูกตอง มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
รัฐบาลจึงไดออกพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 216
ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.2515 (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2517 ใหยกฐานะกองบังคับคดีแพงและกอง
บังคับคดีลมละลาย รวมจัดตั้งขึ้นเปนกรมบังคับคดีอยูในสังกัดกระทรวงยุติธรรม แลวไดตรา
พระราชบั ญ ญั ติ โ อนกิ จ การบริ ห ารงานบางส ว นของสํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม
พ.ศ.2517 โดยใหโอนบรรดาอํานาจหนาที่ในสวนเกี่ยวกับกองบังคับคดีแพงและกองบังคับ
คดี ล ม ละลาย รวมทั้ ง ให โ อนบรรดากิ จ การ ทรั พ ย สิ น หนี้ ข า ราชการ ลู ก จ า ง และเงิ น
งบประมาณของสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เฉพาะสวนที่เกี่ยวกับกองบังคับคดีแพง
และกองบังคับคดีลมละลายไปเปนของกรมบังคับคดี และนอกจากนี้ ยังไดจัดตั้งหนวยงาน
ใหมไ ด แก สํา นั ก งานวางทรั พ ย ก ลางและงานอนุ ญ าโตตุ ล าการ เพื่ อ ชี้ข าดถึ ง ข อ พิพ าท
เกี่ยวกับการวางทรัพยภูมิภาคขึ้น รวม 9 ภาค กรมบังคับคดีจึงมีอํานาจหนาที่บังคับคดีแพง
และคดีลมละลาย ตลอดจนวางทรัพยทั่วประเทศ แลวเริ่มดําเนินการในฐานะเปนกรมบังคับ
คดีนับแตนั้นเปนตนมา
5 
 

วิสัยทัศน
มุงมั่นพัฒนาการบังคับคดีอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เสมอภาค เปนธรรม ดวย
จิตมุงบริการ เพื่อใหประชาชนเขาถึง เชื่อมั่น ยอมรับ ไดรับประโยชนสูงสุด

พันธกิจและอํานาจหนาที่
ใหบริการดานการบังคับคดีแพง คดีลมละลาย การฟนฟูกิจการของลูกหนี้ การชําระ
บัญชี และการวางทรัพยอยางมีประสิทธิภาพ เสมอภาค เปนธรรม
ศึก ษา วิเคราะห วิ จั ย เพื่ อ พัฒ นาระบบการปฏิ บัติ ง านของการบั ง คั บ คดี แพ ง คดี
ลมละลาย การฟนฟูกิจการของลูกหนี้ การชําระบัญชี การวางทรัพยในแตละระบบใหเปน
มาตรฐานเดียวกัน สอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งเสริมสรางศักยภาพการ
เปนผูนําในดานการบังคับคดีใหสามารถแขงขันกับองคกรตาง ๆ
พั ฒ นากฏหมายที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การบั ง คั บ คดี ใ ห ทั น สมั ย และเป น มาตรฐานสากล
รองรับตอการเปลี่ยนแปลงตามสภาวการณ เพื่อเอื้ออํานวยตอการปฏิบัติงานและบริการ
ประชาชน โดยคํานึงถึงความสะดวก รวดเร็ว เปนธรรมในสังคมและสิทธิมนุษยชน
พัฒนาองคกร และระบบการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ คลองตัว โดยประสาน
สงเสริม รวมถึงสรางเครือขายความรวมมือการบังคับคดีทั้งในและตางประเทศ สามารถ
ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงตามภาวการณโดยยึดหลักธรรมาภิบาล
พัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีความรูความสามารถ และความเชี่ยวชาญดานการบังคับ
คดีและมีจิตสํานึกในการบริการ อยางมีคุณธรรมและจริยธรรม
เผยแพรความรูทางกฎหมายเกี่ยวกับการบังคับคดใหประชาชนไดเขาใจอยางทั่วถึง
ตลอดจนไกลเกลี่ยขอพิพาทในการบังคับคดี และสงเสริมความรวมมือการมีสวนรวมในการ
บังคับคดีของภาครัฐและภาคเอกชน
6 
 

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
การบังคับคดีแพง
ในการบังคับคดีแพง ศาลตองออกหมายบังคับคดีตั้งเจาพนักงาน กรมบังคับคดีหรือ
พนักงานอื่นใด เปนเจาพนักงานบังคับคดี เพื่อจัดการบังคับคดีใหเปนไปตามคําพิพากษา
หรือคําสั่ง ทั้งนี้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 1(14) เจาพนักงาน
บังคับคดีหมายถึงเจาพนักงานในสังกัดกรมบังคับคดีหรือเจาพนักงานอื่นผูมีอํานาจตาม
บทบัญญัติแหงกฎหมายที่ใชอยูในอันที่จะปฏิบัติตามวิธีการที่บัญญัติไวในภาค 4 แหง
ประมวลกฎหมายนี้ เพื่อคุมครองสิทธิของคูความในระหวางพิจารณาหรือเพื่อบังคับคดีตาม
คําพิพากษาหรือคําสั่ง ในสวนกลาง เจาพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี มีอํานาจบังคับคดี
ในเขตอํานาจของศาล ซึ่งตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร ยกเวนศาลจังหวัดมีนบุรี ในสวน
ภูมิภาค เจาพนักงานบังคับคดีของสํานักงานงานบังคับคดีจังหวัด สํานักงานบังคับคดีจังหวัด
สาขา เปนเจาพนักงานบังคับคดีของสํานักงานบังคับคดีจังหวัด นั้น
เดิม เจา พนักงานบัง คับ คดีเปนเจ า พนักงานของศาล เมื่อศาลมีคําสั่ งเกี่ยวกับการ
บังคับคดีอยางใดแลวเจาพนักงานบังคับคดีตองปฏิบัติตามจะอุทธรณฎีกาคัดคานคําสั่งศาล
ไมได แตปจจุบันเจาพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี สังกัดกระทรวงยุติธรรมจึงไมใชเจา
พนักงานศาล (ทั้งนี้ตามมาตรา 275 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2540 ราชกิจจานุเบกษา 11 ตุลาคม 2540 ประกอบกับกฎหมายวาดวยระเบียบบริหาร
ราชการศาลยุติธรรม กําหนดใหสํานักงานศาลยุติธรรม เปนหนวยงานธุรการอิสระของศาล
ยุติธรรม แตมิไดกําหนดใหกรมบังคดีเปนหนวยงานธุรการของศาลยุติธรรม ตามราชกิจจา
นุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม 117 ตอนที่ 103 ก วันที่ 13 พฤศจิกายน 2543) จึงจะใชสิทธิ
คัดคานหรืออุทธรณฎีกาคําสั่งศาลไดหรือไม ควรศึกษาตอไป
อํานาจหนาที่ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
1. อํานาจหนาที่เกี่ยวกับวิธีการชั่วคราวกอนมีคําพิพากษา ตามประมวลวิธีพิจารณา
ความแพงมาตรา 254 ซึ่งศาลมีคําสั่งใหยึดหรืออายัดทรัพยสินหรือกักเรือของจําเลยไว
ชั่วคราวกอนศาลจะมีคําพิพากษา เชนนี้ศาลจะออกหมายยึดทรัพยชั่วคราว หมายกักเรือ ตั้ง
เจาพนักงานบังคับคดีจัดการยึดทรัพยสินหรือเรือของจําเลยไว เพื่อไมใหจําเลยยักยายถาย
ทรัพยสิน
7 
 

การอายัดทรัพย
ตามลักษณะการปฏิบัติงานของเจาพนักงานบังคับคดีมี 2 กรณี คือ
1. การอายัดสิทธิรองขอใหชําระเงิน จํานวนหนึ่งหรือเรียกวาการอายัดเงิน
2. การขอใหงดหรือหามจําหนาย จายโอน หรือ ทํานิติกรรมเกี่ยวกับทรัพยสินหรือ
เรียกวา การอายัดหามโอน

การบังคับคดีในการฟองขับไล รื้อถอน
เมือศาลมีคําสั่งใหตั้งเจาพนักงานบังคับคดี จัดการใหเจาหนี้ตามคําพิพากษาได
่
ครอบครองทรัพย ดังกลาว
1. กรณีที่ลูกหนี้ตามคําพิพากษาถูกศาลพิพากษาใหขับไล หรือตองออกไปจากที่
อยูอาศัย หรือทรัพยที่ครอบครอง
2. กรณีที่ลูกหนี้ตามคําพิพากษาตองรื้อถอนสิ่งปลูกสรางออกไปจาก
อสังหาริมทรัพย ที่อยูอาศัย หรือทรัพยที่ครอบครอง

การจําหนายทรัพย
การขายทอดตลาดทรัพย เจาพนักงานบังคับคดี ตองตรวจสํานวนกอนวามีการปฏิบติ
ั
ตามขั้นตอน ที่ ป.วิ.พ. มาตรา 303 และมาตรา 304
1. ไดมีการแจงการยึดทรัพยใหลูกหนี้ตามคําพิพากษา และผูที่มีสวนไดเสียอื่น ๆ
ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 287
2. ถาเปนอสังหาริมทรัพย หรือทรัพยที่ตองมีการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียน ไดมีการ
แจงใหนายทะเบียนทราบ
ในการบังคับคดีนั้น เจาพนักงานบังคับคดีมอํานาจตามหมายบังคับคดีของศาลที่มี
ี
เขตอํานาจทีสํานักงานบังคับคดีตั้งอยูเทานั้น อยางไรก็ตาม หากมีการรองขอ เจาพนักงาน
่
บังคับคดียอมมีอํานาจในการบังคับคดีแทนตามหมายบังคับคดีที่ออกโดยศาลอื่นไดเชนกัน

การบังคับคดีลมละลาย
การล มละลายเกิดจากการมีหนี้สิน ลนพนตัวคื อมีหนี้สินมากกวาทรัพยสิน จึ งเกิด
กฎหมายลมละลายขึ้นมาเพื่อจัดระบบใหเกิดความเปนธรรม แกบรรดาเจาหนี้ทุกราย เพื่อให
ไดรับชําระหนี้เต็มจํานวนหรือโดยสวนเฉลี่ยที่เทาเทียมกัน ตามสัดสวนแหงหนี้จากหนี้ที่
8 
 

กระบวนการลมละลาย มีดังนี้
1. การรวบรวมทรัพยสินเปนการรวบรวมทรัพยสินของเจาพนักงานพิทักษทรัพยซึ่ง
ไดมาจากการสอบสวน การรวบรวมเอกสารทางบัญชี และสืบหาทรัพยของบรรดาเจาหนี้เปน
หลักใหญ
2. การรวบรวมเจาหนี้ เมื่อศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดแลว บรรดาเจาหนี้ตอง
มายื่นคําขอรับชําระหนี้ตอเจาพนักงานพิทักษทรัพยภายใน 2 เดือนนับแตมีการประกาศ
คําสั่ ง พิ ทัก ษทรั พ ย เด็ดขาด ดั ง นั้ น เจ าหนี้ ทุกรายแม จ ะเป นเจาหนี้ ต ามคํ าพิ พากษาหรื อ
เจ า หนี้ ผู เ ป น โจทก ก็ ต อ งมายื่ น คํ า ขอรั บ ชํ า ระหนี้ ด ว ย เพื่ อ มาพิ สู จ น ห นี้ กั น ใหม ใ นคดี
ลมละลาย และเพื่อใหลูกหนี้ทราบวาตนมีหนี้สินเทาใด หากจะมีการประนอมหนี้ เมื่อเจาหนี้
มายื่นคําขอรับชําระหนี้แลว เจาพนักงานพิทักษทรัพยจะนัดพรอมเพื่อตรวจคําขอรับชําระหนี้
เพื่อใหเจาหนี้มีโอกาสโตแยงคําขอรับชําระหนี้ของเจาหนี้รายอื่น หากเห็นวาไมไดเปนหนี้กัน
จริง หรือหนี้ที่ขอมาสูงกวาที่ควรจะไดรับชําระหนี้ ตอจากนั้นเจาพนักงานพิทักษทรัพยจะทํา
การสอบสวนพยานเจาหนี้ทุกรายและทําความเห็นเสนอศาล วาเจาหนี้มีสิทธิไดรับชําระหนี้
หรือไมเทาใด เมื่อศาลพิจารณาจากความเห็นของเจาพนักงานพิทักษทรัพยแลว จะมีคําสั่ง
ตาม หรือแกไข หรือยกขอรับชําระหนี้นั้น เจาพนักงานพิทัก ษทรัพยจะแจงคําสั่งศาลให
เจาหนี้ทราบ เจาหนี้ ลูกหนี้และผูโตแยง (ถามี) มีสิทธิอุทธรณคําสั่งศาลไดภายใน 1 เดือน
นับแตทราบคําสั่ง
3.
การพิจารณาหลังศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด เปนกระบวนการที่ตอง
ดําเนินการในชั้นเจาพนักงานพิทักษทรัพย ตามที่กฎหมายบัญญัติไวใหดําเนินการโดยเจา
พนักงานพิทักษทรัพยและคดีลมละลายทุกคดีจะตองทําอะไรบาง
การประชุมเจาหนี้ครั้งแรก กฎหมายกําหนดใหตองมีการประชุมเจาหนี้ครั้งแรกโดย
ดวน และกําหนดวาตองมีหัวขอประชุมวาตองมีการพิจารณาคําขอประนอมหนี้กอนลมละลาย
หรือควรขอใหศาลพิพากษาใหลมละลาย ในการลงมติวาจะรับคําขอประนอมหนี้หรือไมนั้น
กฎหมายกําหนดวาตองมีมติพิเศษ คือตองมีจํานวนหนี้ไมนอยกวา 3 ใน 4 และมีจํานวน
เจาหนี้ฝายขางมากของเจาหนี้ที่เขาประชุมและออกเสียง
การไต ส วนลู ก หนี้ โ ดยเป ด เผย หลั ง จากมี ก ารประชุ ม เจ า หนี้ ค รั้ ง แรกแล ว เจ า
พนักงานพิทักษทรัพยจะรายงานผลการประชุมตอศาล และศาลจะนัดไตสวนลูกหนี้โดย
เปดเผยเพื่อทราบความเปนมาและกิจการทรัพยสินของลูกหนี้ เพื่อเปนขอมูลในการพิจารณา
9 
 
10 
 

ความรูความเขาใจเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติดานงานธุรการ

งานธุรการ
งานธุรการจะเปนงานที่เกี่ยวของกับทางดานเอกสาร เชน การรับ – สงเอกสาร การจัด
ระบบงาน เอกสาร การเก็บขอมูลที่สําคัญขององคกร งานพิมพตางๆ และหนังสือโตตอบทาง
ราชการ เปนตน รวมถึงประสานงานทั้งภายในและภายนอกองคกร ทุกหนวยงานจะมีงานธุรการ
เพื่อทําหนาที่ดําเนินงานดานเอกสารภายในหนวยงาน นั้นๆ รวมไปถึงการประสานงานกับ
หนวยงานอื่นๆ ทั้งภายในองคกรและภายนอกองคกรก็ได ดังนั้น จะเห็นไดวาองคกรสวนใหญให
ความสําคัญกับงานธุรการเพราะงานธุรการเปนหัวใจหลักของการประสานงานตางๆ การเก็บ
ขอมูลเอกสารที่สําคัญๆ ของสวนงานภายในองคกรนั่นเอง
งานธุรการ คือ งานที่เกี่ยวกับเอกสารหลักฐานในราชการ รวมทั้งการควบคุมตรวจสอบ
อํ า นวยความสะดวกในการติ ด ต อ ประสานงาน เพื่ อ ให ก ารปฏิ บั ติ ง านของทุ ก ฝ า ยดํ า เนิ น ไปสู
เปาหมายที่วางไวไดดีที่สุด
ขอบขายของงานธุรการ
1. รับ-สงหนังสือ
2. รางหนังสือ
3. พิมพหนังสือ
4. ผลิตสําเนาเอกสาร
5. จัดเก็บเอกสาร/แฟมเสนอ 6. บันทึกเสนอหนังสือ
7. ตรวจทานหนังสือ
8. การทําลายหนังสือ
9. ดูแลสํานักงาน
10. อื่นๆ เชน การเงิน บัญชี งบประมาณ พัสดุ
ความสําคัญของงานธุรการ
1. เปนดานหนาของหนวยงาน
2. เปนหนวยสนับสนุน
3. เปนหนวยบริการ
บทบาทของเจาหนาที่ธุรการ
1. ตองรูระเบียบที่เกี่ยวของ
2. ตองมีมนุษยสัมพันธ
3. ตองมีน้ําใจ เอื้ออาทร
4. ตองมีความรอบคอบ
5. ตองมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง
11 
 

งานเอกสารนั้นเปนงานเกี่ยวของกับความทรงจําของมนุษย และอาจถือไดวา เอกสารทํา
หนาที่แทนสมองของมนุษย ทั้งนี้ก็เพราะวาเอกสารตาง ๆ นั้นถูกบันทึกไวดวยขอมูลอันเปน
ประโยชนตอการตัดสินใจของผูบริหารทั้งในดานวางแผนและควบคุมงาน
บันทึกหรือเอกสาร (Records) หมายถึง กระดาษที่ใชในธุรกิจ หนังสือ แบบฟอรม แผนที่
และวัตถุอื่นๆ ที่บรรจุขอความซึ่งแสดงถึงโครงสรางองคการ นโยบาย วิธีปฏิบัติและการดําเนินงาน
ของธุรกิจหรือสวนราชการ
การจัดเก็บเอกสาร (Filing) หมายถึง ระบบการจําแนก การจัดลําดับ และการเก็บหนังสือ
โตตอบ บัตร กระดาษและวัตถุอื่น ๆ อยางมีระเบียบเพื่อใหคนหามาใชไดทันทวงทีที่ตองการ
สวนการบริหารงานเอกสาร (Records – Management) นั้น หมายถึง การควบคุมบังคับ
บัญชา การผลิตเอกสารการปองกันรักษา การจัดเก็บ และการทําลายเอกสาร หรืออาจอธิบายวา
การบริหารงานเอกสารนี้ หมายถึง กิจกรรมที่กําหนดขึ้นเพื่อควบคุมวงจรชีวิตของเอกสารตั้งแต
การผลิตขึ้นมาไปจนถึงการทําลาย
วงจรของเอกสาร (The Records Cycle)
บันทึกหรือเอกสารตาง ๆ มีวงจรชีวิตอยู 5 ขั้นตอน คือ
1. ผลิต (Creation)
2. ใช (Utilization)
3. เก็บ (Storage)
4. นํากลับมาใชอีกหรือสืบคน (Retrieval)
5. ทําลาย (Disposition)
แผนการบริหารงานเอกสาร
แผนการบริหารงานเอกสารนั้น ควรประกอบดวย
1. การกําหนดนโยบายหรือจุดมุงหมาย และจัดใหมีหนวยควบคุมกลาง
2. จัดทําคูมือและฝกอบรมพนักงานเกี่ยวกับการจัดเก็บเอกสาร
3. กําหนดวิธีการจัดหา การใช และการบํารุงรักษาอุปกรณในการจัดเก็บเอกสาร
4. กําหนดมาตรฐาน ศึกษางาน และกําหนดระยะเวลาการเก็บรอเอกสารไว (Retention)
และการทําลายเอกสาร (Disposition)
5. ประเมินผลแผนการ
การออกแบบระบบการจัดเก็บเอกสาร
องคประกอบสําคัญของการออกแบบระบบการจัดเก็บเอกสาร หมายรวมถึง
12 
 

สรุประเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม
ความหมาย
“งานสารบรรณ” หมายความวา งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแตการ
จัดทําการรับ การสง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทําลาย
“หนังสือ” หมายความวา หนังสือราชการ
“สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สํานักงาน หรือหนวยงานอื่นใดของ
รัฐทั้งในราชการบริหารสวนกลาง ราชการบริหารสวนภูมิภาค ราชการบริหารสวนทองถิ่น หรือใน
ตางประเทศและใหหมายความรวมถึงคณะกรรมการดวย
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากทางราชการให
ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และใหหมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือคณะบุคคล
อื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน
ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้

ชนิดของหนังสือ
หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก
1. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ
2. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่มีไปถึง
บุคคลภายนอก
3. หนังสือที่หนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงสวนราชการ
4. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นเพื่อเปนหลักฐานในราชการ
5. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับ
หนังสือ มี 6 ชนิด คือ
1. หนังสือภายนอก
2. หนังสือภายใน
3. หนังสือประทับตรา
4. หนังสือสั่งการ
5. หนังสือประชาสัมพันธ
6. หนังสือที่เจาหนาที่ทําขึ้น หรือรับไวเปนหลักฐานในราชการ
13 
 

หนังสือภายนอก
หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีโดยใชกระดาษตราครุฑเปน
หนังสือติดตอระหวางสวนราชการ หรือสวนราชการมีถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่
มีถึงบุคคลภายนอก

หนังสือภายใน
หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอกเปน
หนังสือติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใชกระดาษบันทึกขอความ

หนังสือประทับตรา
หนังสือประทับตรา คือ หนังสือที่ใชประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหนาสวนราชการ
ระดับกรมขึ้นไป โดยใหหัวหนาสวนราชการระดับกอง หรือผูที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนาสวน
ราชการระดั บ กรมขึ้ น ไป เป น ผู รั บ ผิ ด ชอบลงชื่ อ ย อ กํ า กั บ ตรา หนั ง สื อ ประทั บ ตราให ใ ช ไ ด ทั้ ง
ระหวางสวนราชการกับสวนราชการ และระหวางสวนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่
ไมใชเรื่องสําคัญ ไดแก
1. การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
2. การสงสําเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร
3. การตอบรับทราบที่ไมเกี่ยวกับราชการสําคัญ หรือการเงิน
4. การแจงผลงานที่ไดดําเนินการไปแลวใหสวนราชการที่เกี่ยวของทราบ
5. การเตือนเรื่องที่คาง
6. เรื่องซึ่งหัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไปกําหนดโดยทําเปนคําสั่ง ใหใชหนังสือ
ประทับตรา
หนังสือประทับตรา ใชกระดาษตราครุฑ

หนังสือสั่งการ
หนังสือสั่งการ ใหใชตามแบบที่กําหนดไวในระเบียบนี้ เวนแตจะมีกฎหมายกําหนดแบบ
ไวโดยเฉพาะหนังสือสั่งการมี 3 ชนิด ไดแก คําสั่ง ระเบียบ และขอบังคับ
คํ า สั่ ง คื อ บรรดาข อ ความที่ ผู บั ง คั บ บั ญ ชาสั่ ง การให ป ฏิ บั ติ โ ดยชอบด ว ยกฎหมายใช
กระดาษตราครุฑ
ระเบียบ คือ บรรดาขอความที่ผูมีอํานาจหนาที่ไดวางไว โดยจะอาศัยอํานาจของกฎหมาย
หรือไมก็ได เพื่อถือเปนหลักปฏิบัติงานเปนการประจํา ใชกระดาษตราครุฑ
14 
 

ข อ บั ง คั บ คื อ บรรดาข อ ความที่ ผู มี อํ า นาจหน า ที่ กํ า หนดให ใ ช โ ดยอาศั ย อํ า นาจของ
กฎหมายที่บัญญัติใหกระทําได ใชกระดาษตราครุฑ

หนังสือประชาสัมพันธ
หนังสือประชาสัมพันธ ใหใชตามแบบที่กําหนดไวในระเบียบนี้ เวนแตจะมีกฎหมาย
กําหนดแบบไวโดยเฉพาะ หนังสือประชาสัมพันธมี 3 ชนิด ไดแก ประกาศ แถลงการณ และขาว
ประกาศ คือ บรรดาขอความที่ทางราชการประกาศหรือชี้แจงใหทราบ หรือแนะแนวทาง
ปฏิบัติ ใชกระดาษตราครุฑ
แถลงการณ คือ บรรดาขอความที่ทางราชการแถลงเพื่อทําความเขาใจในกิจการของทาง
ราชการ หรือเหตุการณหรือกรณีใด ๆ ใหทราบชัดเจนโดยทั่วกัน ใชกระดาษตราครุฑ

การเก็บรักษา ยืม และทําลายหนังสือ
การเก็บรักษา
การเก็บหนังสือแบงออกเปน การเก็บระหวางปฏิบัติ การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแลวและการ
เก็บไวเพื่อใชในการตรวจสอบ
การเก็บระหวางปฏิบัติ คือ การเก็บหนังสือที่ปฏิบัติยังไมเสร็จใหอยูในความรับผิดชอบ
ของเจาของเรื่องโดยใหกําหนดวิธีการเก็บใหเหมาะสมตามขั้นตอนของการปฏิบัติงาน
การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแลว คือ การเก็บหนังสือที่ปฏิบัติเสร็จเรียบรอยแลว และไมมี
อะไรที่จะตองปฏิบัติตอไปอีก ใหเจาหนาที่ของเจาของเรื่องปฏิบัติดังนี้
1. จัดทําบัญชีหนังสือสงเก็บ อยางนอยใหมีตนฉบับและสําเนาคูฉบับสําหรับ
เจาของเรื่องและหนวยเก็บ เก็บไวอยางละฉบับ
2. สงหนังสือและเรื่องปฏิบัติทั้งปวงที่เกี่ยวของกับหนังสือนั้น พรอมทั้งบัญชี
หนังสือสงเก็บไปใหหนวยเก็บที่สวนราชการนั้น ๆ กําหนด
เมื่อไดรับเรื่องจากเจาของเรื่องแลว ใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบในการเก็บหนังสือปฏิบัติดังนี้
1. ประทับตรากําหนดเก็บหนังสือ ไวที่มุมลางดานขวาของกระดาษแผนแรกของ
หนังสือฉบับนั้น และลงลายมือชื่อยอกํากับตรา
- หนังสือที่ตองเก็บไวตลอดไป ใหประทับตราคําวา หามทําลายดวยหมึกสี
แดง
- หนังสือที่เก็บโดยมีกําหนดเวลา ใหประทับตราคําวา เก็บถึงพ.ศ. .... ดวย
หมึกสีน้ําเงิน และลงเลขของปพุทธศักราชที่ใหเก็บถึง
2.ลงทะเบียนหนังสือเก็บไวเปนหลักฐาน โดยกรอกรายละเอียดดังนี้
- ลําดับที่ ใหลงเลขลําดับเรื่องของหนังสือที่เก็บ
15 
 

แนวขอสอบ ระเบียบฯ งานสารบรรณ พ.ศ. 2526
แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548
1.ระเบียบฯ วาดวยงานสารบรรณ ฉบับปจจุบันที่ใชอยูเปนฉบับแกไขเพิ่มเติม พ.ศ.ใด
ก. พ.ศ.2526
ข. ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2535
ค. ฉบับที่ 2 พ.ศ.2548
ง. ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2550
2.ระเบียบฯ วาดวยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 2) ประกาศใชเมื่อใด
ก. ตั้งแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ค. 7 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง. 30 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
3.ระเบียบฯ วาดวยงานสารบรรณ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) มีผลบังคับใชเมื่อใด
ก. 1 มิถุนายน พ.ศ. 2526
ข. 21 มิถุนายน พ.ศ. 2548
ค. 22 มิถุนายน พ.ศ. 2548
ง. 28 มิถุนายน พ.ศ. 2548
4. ขอใด หมายถึง งานสารบรรณ
ก. การรับ-สง
ค. การเก็บรักษา

ข. การยืม
ง. ถูกทุกขอ

5. ในระเบียบฯ วาดวยงานสารบรรณ คําวา "หนังสือ" หมายถึงขอใด
ก. หนังสือภายใน
ข. หนังสือภายนอก
ค. หนังสือราชการ
ง. ถูกทุกขอ
6. ผูรักษาการในระเบียบฯ วาดวยงานสารบรรณ ฉบับปจจุบันคือใคร
ก. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
ข. นายกรัฐมนตรี
ค. ปลัดกระทรวงการคลัง
ง. คณะรัฐมนตรี
7.ขอใดมิใชความหมายของหนังสือราชการ
ก. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ
ข. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นที่มิใชสวนราชการ
16 
 

ค. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นเพื่อใชเปนหลักฐานในราชการ
ง. หนังสือที่มีขึ้นเพื่อใชในการติดตอบุคคลภายนอก
8."หนังสือภายนอก" หมายถึงขอใด
ก. หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธี, ใชกระดาษบันทึก
ข. หนังสือติดตอราชการทําเปนแบบพิธี, ใชกระดาษตราครุฑ
ค. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม , ใชกระดาษบันทึก
ง. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม, ใชกระดาษตราครุฑ
9."หนังสือภายใน" หมายถึงขอใด
ก. หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธี, ใชกระดาษบันทึก
ข. หนังสือติดตอราชการทําเปนแบบพิธี, ใชกระดาษตราครุฑ
ค. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม , ใชกระดาษบันทึก
ง. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม, ใชกระดาษตราครุฑ
10.ผูรับผิดชอบลงชื่อยอกํากับตราในหนังสือประทับตราคือใคร
ก. หัวหนาหนวย
ข. หัวหนาสวนราชการระดับกอง
ค. เจาหนาที่ภายในหนวยงาน
ง. หัวหนาฝาย
11.ขอใดไมควรใชหนังสือประทับตรา
ก. การสงสําเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร
ค. การเตือนเรื่องที่คาง

ข. การตอบรับทราบที่ไมเกี่ยวกับรายการสําคัญ
ง. หนังสือสําคัญเกี่ยวกับการเงิน

12.ขอใดไมไดใชกระดาษตราครุฑ
ก. หนังสือประทับตรา
ค. หนังสือภายนอก

ข. หนังสือภายใน
ง. หนังสือสั่งการ

13."หนังสือสั่งการ" มีกี่ชนิด มีอะไรบาง
ก. 2 ชนิด, คําสั่ง ระเบียบ
ค. 3 ชนิด, คําสั่ง ระเบียบและขอบังคับ

ข. 2 ชนิด, คําสั่ง ขอบังคับ
ง. 3 ชนิด, คําสั่ง ระเบียบ และกฎ
17 
 

41.หนังสือที่เปนเรื่องธรรมดาสามัญที่ไมมีความสําคัญ และเปนเรื่องที่เกิดขึ้นเปนประจําเมื่อ
ดําเนินการเสร็จแลวใหเก็บรักษาไวไมนอยกวากี่ป
ก. 1 ป
ข. 2 ป
ค. 3 ป
ง. 4 ป
42.หนังสือที่เกี่ยวกับการเงิน ซึ่งมิใชเอกสารสิทธิ หากเห็นวาไมมีความจําเปนตองเก็บไวถึง 10 ป
ใหทําความตกลงกับหนวยงานใดเพื่อขอทําลาย
ก. กระทรวงมหาดไทย
ข. กระทรวงกลาโหม
ค. กระทรวงยุติธรรม
ง. กระทรวงการคลัง
43.ทุกปปฏิทิน ใหสวนราชการจัดสงหนังสือที่มีอายุครบกี่ป ใหกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรม
ศิลปากร
ก. 10 ป
ข. 15 ป
ค. 20 ป
ง. 25 ป
44.จากขอขางตน กําหนดสงภายในวันที่เทาใด
ก. 1 มกราคม ของปถัดไป
ค. 1 มีนาคมของปถัดไป

ข. 31 มกราคม ของปถัดไป
ง. 31 มีนาคมของปถัดไป

45.เมื่อครบกําหนดเวลาที่กําหนดจะทําการจัดสงหนังสือใหกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรม
ศิลปากรยกเวนหนังสือใด
ก. หนังสือที่ตองสงวนเปนความลับใหปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบวาดวยการรักษา
ความปลอดภัยแหงชาติ
ข. หนังสือที่มีกฎหมาย ขอบังคับหรือระเบียบที่ออกใชเปนการทั่วไป กําหนดไวเปนอยางอื่น
ค. หนังสือที่สวนราชการจําเปนตองเก็บไวที่สวนราชการนั้น
ง. ถูกทุกขอ
46.การที่จะใหบุคคลภายนอกยืมหนังสือจะกระทํามิได เวนแตจะใหดูหรือคัดลอกหนังสือ โดย
จะตองไดรับอนุญาตจากผูใดกอน
ก. หัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไป
ข. หัวหนาสวนราชการระดับกองขึ้นไป
ค. หัวหนาหนวย
ง. เจาหนาที่บรรณรักษ
47.คณะกรรมการทําลายหนังสือ ประกอบดวยใครบาง
ก. ประธานกรรมการ, กรรมการอยางนอย 2 คน
ข. ประธานกรรมการ, กรรมการอยางนอย 3 คน
18 
 

แนวขอสอบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพนักงาน
ราชการ พ.ศ.2547
7.พนักงานราชการมีกี่ประเภท
ก. 1 ประเภท
ข. 2 ประเภท
ค. 3 ประเภท
ง. 4 ประเภท
ตอบ ข. 2 ประเภท
พนักงานราชการมีสองประเภท (ระเบียบฯ ขอ 6)
8.พนักงานราชการที่ปฏิบัติงานในลักษณะที่ตองใชความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปน

พิเศษหมายถึงผูใด
ก. พนักงานราชการ
ข. พนักงานราชการทั่วไป
ค. พนักงานราชการพิเศษ
ง. พนักงานราชการเชี่ยวชาญ
ตอบ ค. พนักงานราชการพิเศษ
พนักงานราชการพิเศษ ไดแก พนักงานราชการซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะที่ตองใช
ความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปนพิเศษเพือปฏิบัติงานในเรื่องที่มีความสําคัญและจําเปน
่
เฉพาะเรื่องของสวนราชการ หรือมีความจําเปนตองใชบุคคลในลักษณะดังกลาว (ระเบียบฯ
ขอ 6 (2))
9.ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการจะจําแนกเปนกลุมงานโดยพิจารณาจากสิ่งใด
ก. ลักษณะงานและผลผลิตของงาน
ข. ลักษณะงานและคุณภาพของงาน
ค. ประเภทและผลผลิตของงาน
ง. ประเภทและคุณภาพของงาน
ตอบ ก. ลักษณะงานและผลผลิตของงาน
ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการ ใหกําหนดตําแหนงโดยจําแนกเปนกลุม
งานตามลักษณะงานและผลผลิตของงาน (ระเบียบฯ ขอ 7)
(1) กลุมงานบริการ
(2) กลุมงานเทคนิค
(3) กลุมงานบริหารทั่วไป
(4) กลุมงานวิชาชีพเฉพาะ
19 
 

(5) กลุมงานเชี่ยวชาญเฉพาะ
(6) กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ
10.ตําแหนงของพนักงานราชการมีกี่กลุม
ก. 4 กลุม
ค. 6 กลุม
ตอบ ค. 6 กลุม
คําอธิบายดังขอขางตน
11.ขอใดไมใชกลุมงานของพนักงานราชการ
ก. กลุมงานบริการ
ค. กลุมงานบริหาร
ตอบ ค. กลุมงานบริหาร
คําอธิบายดังขอขางตน

ข. 5 กลุม
ง. 7 กลุม

ข. กลุมงานเทคนิค
ง. กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ

12.ในการกําหนดตําแหนงของกลุมงานและกําหนดลักษณะงานใหเปนไปตามประเภทของ
ใคร
ก. อธิบดี
ข. ปลัดทบวง
ค. ปลัดกระทรวง
ง. คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ
ตอบ ง. คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ
การกําหนดใหพนักงานราชการประเภทใดมีตําแหนงในกลุมงานใด และการกําหนด
ลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุมงาน ใหเปนไปตามประกาศของคณะกรรมการ
(ระเบียบฯ ขอ 7)
13.กรอบอัตรากําลังพนักงานราชการมีระยะเวลากี่ป
ก. 2 ป
ข. 3 ป
ค. 4 ป
ง. 5 ป
ตอบ ค. 4 ป
สวนราชการจัดทํากรอบอัตรากําลังพนักงานราชการเปนระยะเวลาสี่ป โดยให
สอดคลองกับเปาหมายการปฏิบัติราชการของสวนราชการและแผนงบประมาณเชิงกล
20 
 

แนวขอสอบ ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
5.ผูใดเปนประธานในคณะกรรมการขาราชการพลเรือน
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. คณะรัฐมนตรี
ค. ปลัดกระทรวงการคลัง
ง. ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ
ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี
“ก.พ.”ประกอบดวยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
เปนประธานปลัดกระทรวงการคลัง (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา
6)
6.ขอใดไมใชกรรมการโดยตําแหนงในคณะกรรมการขาราชการพลเรือน
ก. ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ
ข. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ค. ปลัดกระทรวงการคลัง
ง. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
ตอบ ง. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
“ก.พ.”ประกอบดวยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
เปนประธานปลัดกระทรวงการคลัง ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ และเลขาธิการ
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ เปนกรรมการโดยตําแหนง (พรบ.
ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 6)
7.กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลาแตงตั้งจากผูทรงคุณวุฒินั้น จะตองเปนบุคคลที่มี
ความสามารถในดานใด
ก. ดานการบริหารทรัพยากรบุคคล
ข. ดานการบริหารและการจัดการ
ค. ดานกฎหมาย
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตัง จากผูทรงคุณวุฒิดานการบริหาร
้
ทรัพยากรบุคคล ดานการบริหารและการจัดการ และดานกฎหมาย ซึ่งมีผลงานเปนที่
ประจักษในความสามารถมาแลว และเปนผูที่ไดรับการสรรหาตามหลักเกณฑ วิธีการ และ
21 
 

เงื่อนไขที่กําหนดในกฎ ก.พ. จํานวนไมนอยกวาหาคน แตไมเกินเจ็ดคน และใหเลขาธิการ
ก.พ. เปนกรรมการและเลขานุการ (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 6)
8.คณะกรรมการจากขอขางตนนั้น จะมีตําแหนงอยูในวาระคราวละกี่ป
ก. 2 ป
ข. 3 ป
ค. 4 ป
ง. 5 ป
ตอบ ข. 3 ป
กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตังใหอยูในตําแหนงไดคราวละสามป
้
ถาตําแหนงกรรมการวางลงกอนกําหนดและยังมีกรรมการดังกลาวเหลืออยูอีกไมนอยกวา

สามคน ใหกรรมการที่เหลือปฏิบัติหนาที่ตอไปได (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.
2551 มาตรา 7)
9.เมื่อตําแหนงกรรมการวางลงนั้น อาจจะไมแตงตั้งกรรมการแทนก็ได ในกรณีที่วาระของ
กรรมการเหลือไมถึงกี่วน
ั
ก. 30 วัน
ข. 60 วัน
ค. 90 วัน
ง. 180 วัน
ตอบ ง. 180 วัน
เมื่อตําแหนงกรรมการวางลงกอนกําหนดใหดําเนินการแตงตั้งกรรมการแทนภายใน
กําหนด สามสิบวัน เวนแตวาระของกรรมการเหลือไมถึงหนึ่งรอยแปดสิบวันจะไมแตงตั้ง
กรรมการแทนก็ได ผูซึ่งไดรับแตงตังเปนกรรมการแทนนั้นใหอยูในตําแหนงไดเพียงเทา
้
กําหนดเวลาของผูซึ่งตนแทน (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 7)
10.ขอใดมิใชอํานาจหนาที่ของ กพ.
ก. ใหความเห็นชอบ กรอบอําตรากําลังของสวนราชการ
ข. ออกกฎ ก.พ.
ค. กําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
ง. พิจารณาการเกลี่ยอัตรากําลังระหวางสวนราชการตางๆ ภายในกระทรวง
ตอบ ง. พิจารณาการเกลี่ยอัตรากําลังระหวางสวนราชการตางๆ ภายใน
กระทรวง
22 
 

การพิจารณาการเกลี่ยอัตรากําลังระหวางสวนราชการตางๆ ภายในกระทรวงเปน
อํานาจหนาที่ของ อ.ก.พ.กระทรวง (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551มาตรา 16)
11.อ.ก.พ. กระทรวง มีบคคลใดดํารงตําแหนงเปนประธาน
ุ
ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด
ข. ปลัดกระทรวง
ค. ผูวาราชการจังหวัด
ง. อธิบดี
ตอบ ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด
อ.ก.พ. กระทรวง ประกอบดวยรัฐมนตรีเจาสังกัด เปนประธาน ปลัดกระทรวง เปน
รองประธาน และผูแทน ก.พ. ซึ่งตั้งจากขาราชการพลเรือนในสํานักงาน ก.พ. หนึ่งคน เปน
อนุกรรมการโดยตําแหนง และอนุกรรมการ (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551
มาตรา 15)
12.อ.ก.พ. กรม มีบุคคลใดดํารงตําแหนงเปนประธาน
ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด
ข. ปลัดกระทรวง
ค. ผูวาราชการจังหวัด
ง. อธิบดี
ตอบ ง. อธิบดี
อ.ก.พ. กรม ประกอบดวยอธิบดี เปนประธาน รองอธิบดีทอธิบดีมอบหมายหนึ่งคน
ี่
เปนรองประธาน และอนุกรรมการซึ่งประธาน อ.ก.พ. (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.
2551 มาตรา 17)
13.อ.ก.พ. จังหวัด มีบุคคลใดดํารงตําแหนงเปนประธาน
ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด
ข. ปลัดกระทรวง
ค. ผูวาราชการจังหวัด
ง. อธิบดี
ตอบ ค. ผูวาราชการจังหวัด
อ.ก.พ. จังหวัด ประกอบดวยผูวาราชการจังหวัด เปนประธาน รองผูวาราชการ
จังหวัด ที่ผูวาราชการจังหวัดมอบหมายหนึ่งคน เปนรองประธาน และอนุกรรมการ ซึ่ง
ประธาน อ.ก.พ. (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 19)
14."ก.พ.ค." มีชอเต็มวาอะไร
ื่
ก. กรรมการพิทักษคุณธรรม

ข. คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรม
23 
 

แนวขอสอบ คอมพิวเตอร
68.การแกไขขอความของจดหมายที่ผูพิมพพิมพผิด กระบวนการดังกลาว เรียกวา
(1) Formatting
(2) Search and Replace
(3) Editing
(4) Cut and Move
ตอบ 3. Editing
คุณลักษณะพื้นฐานของโปรแกรม Word Processing มี 5 ประการ ดังนี้
1. การปอนขอความ (Text Entry)
2. การแกไขขอความ(Editing) เชน การลบ(Delete), การตัด (Cut), การวาง
(Paste)
3. การจัดรูปแบบเอกสาร(Print Formatting) เชน การจัดหัวขอใหอยูในตําแหนง
กึ่งกลางหนา (Line Centering), การจัดชิดขอบ (Margins), การเวนระยะหางระหวาง
บรรทัดเปน 2 เทา (Double Spacing), การกําหนดรูปแบบตัวอักขระ(Font), การเห็น
รูปแบบของเอกสารที่อยูบนจอ ซึ่งจะปรากฏบนกระดาษพิมพ (What You See Is What
You Get : WYSIWYG)
4. การพิมพ (Printing)
5. การบันทึกเอกสารลงในสื่อเพื่อเรียกใชภายหลัง
69.ขนาดของเครือขายที่ใชภายในบริเวณมหาวิทยาลัยเปนเครือขายในขนาดที่เรียก
(1) WAN
(2) MAN
(3) LAN
(4) VAN
ตอบ 3. LAN
70.Intranet หมายถึง
(1) เครือขายที่ตอเชื่อมอุปกรณคอมพิวเตอรภายในองคการ

(2) เครือขายที่เชื่อมตอระหวางกิจการที่เปนคูคาระหวางกันเทานั้น
(3) เปนการใช Internet Technology สรางเปนเครือขายใชภายในองคการ
(4) เปนการใช Internet Technology สรางเครือขายใหเฉพาะคูคาของกิจการใชงานได
ตอบ 3. เปนการใช Internet Technology สรางเปนเครือขายใชภายในองคการ
24 
 

ระบบเครือขายอินทราเน็ต (Intranet) คือ ระบบเครือขายภายในองคกรที่นํา
เทคโนโลยีแบบอินเตอรเน็ตมาประยุกตใช เพื่อชวยในการทํางานรวมกัน (Workgroup)การ
แลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร ตลอดจนการทํางานตาง ๆ ของระบบคอมพิวเตอรในองคกร
71.การจัดกระดาษใหหางจากขอบกระดาษดานซายมือและขวามือวาเปนเทาใด เปนขั้นตอน
ใดในการใชโปรแกรมประมวลผลคํา
(1) Text Entry
(2) Editing
(3) Print Formatting
(4) Printing
ตอบ 3. Print Formatting
72.การสรางแฟมจดหมาย 1 ฉบับ และสรางแฟมฐานขอมูลลูกคาซึ่งมีลูกคาหลาย ๆ คน
โปรแกรมจะทําการพิมพจดหมายโดยการนํารายชื่อลูกคาและรายละเอียดอยางอื่นของลูกคา
มาผนวกกับ แฟม จดหมาย ผลที่ ไดจ ะไดจดหมายให ลูก ค า ของบริ ษัท ทั้งหมดโดยไม ตอ ง
เสี ยเวลาการพิม พจดหมายใหลูก คาแตละรายการเป นการทํ างานของโปรแกรมในข อ ใด
ตอไปนี้
(1) Thesaurus
(2) Mail Merge
(2) Spelling Checker
(4) Outliner
ตอบ 2.Mail Merge
โปรแกรมประมวลผลคํา (Word Processing) มีความสามารถพิเศษในการทํางานดาน
Mail Merge ซึ่งหมายถึง การสรางแฟมจดหมาย 1 ฉบับ และสรางแฟมฐานขอมูลของ
ลูกคาเพื่อพิมพจดหมายใหลูกคาของบริษัททั้งหมด ทําใหไมตองเสียเวลาจัดพิมพจดหมายให
ลูกคาแตละราย
73.ถาผูจัดการบริษัทตองการคํานวณหาปริมาณสั่งซื้อสินคาที่เหมาะสมที่สุดที่ทําใหระบบ
สินคาคงคลังมีคาใชจายที่ต่ําที่สุด ทานคิดวาโปรแกรมในขอใดตอไปนี้เหมาะสมที่สุด
(1) Microsoft Word
(2) Microsoft Excel
(3) Microsoft PowerPoint
(4) Microsoft Access
ตอบ 2. Microsoft Excel
ประโยชนของโปรแกรม Spreadsheet มีดังนี้
1. เตรียมการและจัดการวิเคราะหขอมูลการเงินตาง ๆ
25 
 

สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740

แจงการโอนเงิน พรอมชือ และอีเมลลที่
่
LINE ID : sheetram
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,
085-9993722,085-9993740

Mais conteúdo relacionado

Mais de บ.ชีทราม จก.

ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

Mais de บ.ชีทราม จก. (7)

ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

คู่มือสอบ ข้อสอบกรมบังคับคดี ธุรการ ปี 2557 หนังสือ E-BOOK

  • 2. 2    ขอบเขตเนื้อหา ความรูทั่วไปเกี่ยวกับ กรมบังคับคดี ความรูเกี่ยวกับกรมบังคับคดี ประวัติกรมบังคับคดี วิสัยทัศน พันธกิจและอํานาจหนาที่ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน อํานาจหนาที่ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ประเภทของการบังคับคดี การยึดทรัพย การอายัดทรัพย การบังคับคดีในการฟองขับไลรื้อถอน การจําหนายทรัพย การบังคับคดีลมละลาย กระบวนการลมละลาย การฟนฟูกิจการ เงื่อนไขการฟนฟูกิจการ การวางทรัพย เหตุของการวางทรัพย ทรัพยที่วางได วิธีปฏิบัติและหนาที่ของผูวางทรัพย แผนภูมิแสดงขั้นตอนการบังคับคดีแพง แผนผังขั้นตอนการอายัดเงินในคดีแพง แผนขั้นตอนการบังคับคดีขับไล-รื้อถอน แผนภูมิแสดงขั้นตอนการบังคับคดีลมละลาย แผนภูมิแสดงขั้นตอนการบังคับคดีแพง แผนภูมิแสดงขั้นตอนการฟนฟูกจการของลูกหนี้ ิ แผนภูมิแสดงขั้นตอนการวางทรัพย 5 5 5 6 6 7 7 8 9 9 10 10 10 11 13 13 14 15 15 16 18 20 21 22 23 25 27
  • 3. 3    พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน 2551 ระเบียบฯ วาดวยพนักงานราชการ ความรูความเขาใจเกี่ยวกับงานธุรการ ระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 สรุประเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 ความรูเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ระบบเครือขาย อินเตอรเน็ต โปรแกรมประยุกตใชงานประเภทตางๆ การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟแวร ไวรัสคอมพิวเตอร Microsoft Word Microsoft Excel Microsoft Powerpoint แนวขอสอบ Microsoft Word แนวขอสอบ Microsoft Excel แนวขอสอบ Microsoft Powerpoint แนวขอสอบ ระเบียบงานสารบรรณ แนวขอสอบ พนักงานราชการ แนวขอสอบ ระเบียบขาราชการพลเรือน แนวขอสอบ คอมพิวเตอร แนวขอสอบ ธุรการ 27 73 84 108 137 146 161 164 166 170 171 173 176 177 179 183 188 190 206 218 239 270
  • 4. 4    ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกรมบังคับคดี ประวัติกรมบังคับคดี เดิ ม งานของกรมบั ง คั บ คดี มี ที่ ม าจากหน ว ยงานราชการระดั บ กองในสํ า นั ก ปลัดกระทรวงยุติธรรม 2 กอง คือ กองบังคับคดีแพง และ กองบังคับคดีลมละลาย จนกระทั่ง ป พ.ศ.2517 สมัยรัฐบาล ฯพณฯ ศาสตราจารยสัญญา ธรรมศักดิ์ เปนนายกรัฐมนตรี ทาน กิ ต ติ สี ห นนท เปน รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงยุติธ รรมไดเห็น ความสํ าคั ญ ของทั้ ง สองกอง ดังกลาว ประกอบกับงานบังคับคดีแพงและงานบังคับคดีลมละลายเพิ่มขึ้นมาก หนวยงานที่ จัดไวแตเดิม ไมเหมาะสมกับงานที่นับวันแตจะทวีปริมาณมากขึ้นทุกๆ ป ดังนั้นเพื่อใหการดําเนินงานเกี่ยวกับการบังคับคดีแพง คดีลมละลาย งานเกี่ยวกับการ วางทรัพยไดขยายอํานาจหนาที่ทั่วราชอาณาจักร รวมทั้งงานชําระบัญชีหางหุนสวนบริษัท หรือ นิติบุคคลตามคําสั่งศาล ไดดําเนินการโดยเจาหนาที่ที่มีความรูความสามารถชํานาญ งานในหนาที่ไดเปนไปอยางถูกตอง มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รัฐบาลจึงไดออกพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 216 ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.2515 (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2517 ใหยกฐานะกองบังคับคดีแพงและกอง บังคับคดีลมละลาย รวมจัดตั้งขึ้นเปนกรมบังคับคดีอยูในสังกัดกระทรวงยุติธรรม แลวไดตรา พระราชบั ญ ญั ติ โ อนกิ จ การบริ ห ารงานบางส ว นของสํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม พ.ศ.2517 โดยใหโอนบรรดาอํานาจหนาที่ในสวนเกี่ยวกับกองบังคับคดีแพงและกองบังคับ คดี ล ม ละลาย รวมทั้ ง ให โ อนบรรดากิ จ การ ทรั พ ย สิ น หนี้ ข า ราชการ ลู ก จ า ง และเงิ น งบประมาณของสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เฉพาะสวนที่เกี่ยวกับกองบังคับคดีแพง และกองบังคับคดีลมละลายไปเปนของกรมบังคับคดี และนอกจากนี้ ยังไดจัดตั้งหนวยงาน ใหมไ ด แก สํา นั ก งานวางทรั พ ย ก ลางและงานอนุ ญ าโตตุ ล าการ เพื่ อ ชี้ข าดถึ ง ข อ พิพ าท เกี่ยวกับการวางทรัพยภูมิภาคขึ้น รวม 9 ภาค กรมบังคับคดีจึงมีอํานาจหนาที่บังคับคดีแพง และคดีลมละลาย ตลอดจนวางทรัพยทั่วประเทศ แลวเริ่มดําเนินการในฐานะเปนกรมบังคับ คดีนับแตนั้นเปนตนมา
  • 5. 5    วิสัยทัศน มุงมั่นพัฒนาการบังคับคดีอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เสมอภาค เปนธรรม ดวย จิตมุงบริการ เพื่อใหประชาชนเขาถึง เชื่อมั่น ยอมรับ ไดรับประโยชนสูงสุด พันธกิจและอํานาจหนาที่ ใหบริการดานการบังคับคดีแพง คดีลมละลาย การฟนฟูกิจการของลูกหนี้ การชําระ บัญชี และการวางทรัพยอยางมีประสิทธิภาพ เสมอภาค เปนธรรม ศึก ษา วิเคราะห วิ จั ย เพื่ อ พัฒ นาระบบการปฏิ บัติ ง านของการบั ง คั บ คดี แพ ง คดี ลมละลาย การฟนฟูกิจการของลูกหนี้ การชําระบัญชี การวางทรัพยในแตละระบบใหเปน มาตรฐานเดียวกัน สอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งเสริมสรางศักยภาพการ เปนผูนําในดานการบังคับคดีใหสามารถแขงขันกับองคกรตาง ๆ พั ฒ นากฏหมายที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การบั ง คั บ คดี ใ ห ทั น สมั ย และเป น มาตรฐานสากล รองรับตอการเปลี่ยนแปลงตามสภาวการณ เพื่อเอื้ออํานวยตอการปฏิบัติงานและบริการ ประชาชน โดยคํานึงถึงความสะดวก รวดเร็ว เปนธรรมในสังคมและสิทธิมนุษยชน พัฒนาองคกร และระบบการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ คลองตัว โดยประสาน สงเสริม รวมถึงสรางเครือขายความรวมมือการบังคับคดีทั้งในและตางประเทศ สามารถ ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงตามภาวการณโดยยึดหลักธรรมาภิบาล พัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีความรูความสามารถ และความเชี่ยวชาญดานการบังคับ คดีและมีจิตสํานึกในการบริการ อยางมีคุณธรรมและจริยธรรม เผยแพรความรูทางกฎหมายเกี่ยวกับการบังคับคดใหประชาชนไดเขาใจอยางทั่วถึง ตลอดจนไกลเกลี่ยขอพิพาทในการบังคับคดี และสงเสริมความรวมมือการมีสวนรวมในการ บังคับคดีของภาครัฐและภาคเอกชน
  • 6. 6    ขั้นตอนการปฏิบัติงาน การบังคับคดีแพง ในการบังคับคดีแพง ศาลตองออกหมายบังคับคดีตั้งเจาพนักงาน กรมบังคับคดีหรือ พนักงานอื่นใด เปนเจาพนักงานบังคับคดี เพื่อจัดการบังคับคดีใหเปนไปตามคําพิพากษา หรือคําสั่ง ทั้งนี้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 1(14) เจาพนักงาน บังคับคดีหมายถึงเจาพนักงานในสังกัดกรมบังคับคดีหรือเจาพนักงานอื่นผูมีอํานาจตาม บทบัญญัติแหงกฎหมายที่ใชอยูในอันที่จะปฏิบัติตามวิธีการที่บัญญัติไวในภาค 4 แหง ประมวลกฎหมายนี้ เพื่อคุมครองสิทธิของคูความในระหวางพิจารณาหรือเพื่อบังคับคดีตาม คําพิพากษาหรือคําสั่ง ในสวนกลาง เจาพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี มีอํานาจบังคับคดี ในเขตอํานาจของศาล ซึ่งตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร ยกเวนศาลจังหวัดมีนบุรี ในสวน ภูมิภาค เจาพนักงานบังคับคดีของสํานักงานงานบังคับคดีจังหวัด สํานักงานบังคับคดีจังหวัด สาขา เปนเจาพนักงานบังคับคดีของสํานักงานบังคับคดีจังหวัด นั้น เดิม เจา พนักงานบัง คับ คดีเปนเจ า พนักงานของศาล เมื่อศาลมีคําสั่ งเกี่ยวกับการ บังคับคดีอยางใดแลวเจาพนักงานบังคับคดีตองปฏิบัติตามจะอุทธรณฎีกาคัดคานคําสั่งศาล ไมได แตปจจุบันเจาพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี สังกัดกระทรวงยุติธรรมจึงไมใชเจา พนักงานศาล (ทั้งนี้ตามมาตรา 275 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ราชกิจจานุเบกษา 11 ตุลาคม 2540 ประกอบกับกฎหมายวาดวยระเบียบบริหาร ราชการศาลยุติธรรม กําหนดใหสํานักงานศาลยุติธรรม เปนหนวยงานธุรการอิสระของศาล ยุติธรรม แตมิไดกําหนดใหกรมบังคดีเปนหนวยงานธุรการของศาลยุติธรรม ตามราชกิจจา นุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม 117 ตอนที่ 103 ก วันที่ 13 พฤศจิกายน 2543) จึงจะใชสิทธิ คัดคานหรืออุทธรณฎีกาคําสั่งศาลไดหรือไม ควรศึกษาตอไป อํานาจหนาที่ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง 1. อํานาจหนาที่เกี่ยวกับวิธีการชั่วคราวกอนมีคําพิพากษา ตามประมวลวิธีพิจารณา ความแพงมาตรา 254 ซึ่งศาลมีคําสั่งใหยึดหรืออายัดทรัพยสินหรือกักเรือของจําเลยไว ชั่วคราวกอนศาลจะมีคําพิพากษา เชนนี้ศาลจะออกหมายยึดทรัพยชั่วคราว หมายกักเรือ ตั้ง เจาพนักงานบังคับคดีจัดการยึดทรัพยสินหรือเรือของจําเลยไว เพื่อไมใหจําเลยยักยายถาย ทรัพยสิน
  • 7. 7    การอายัดทรัพย ตามลักษณะการปฏิบัติงานของเจาพนักงานบังคับคดีมี 2 กรณี คือ 1. การอายัดสิทธิรองขอใหชําระเงิน จํานวนหนึ่งหรือเรียกวาการอายัดเงิน 2. การขอใหงดหรือหามจําหนาย จายโอน หรือ ทํานิติกรรมเกี่ยวกับทรัพยสินหรือ เรียกวา การอายัดหามโอน การบังคับคดีในการฟองขับไล รื้อถอน เมือศาลมีคําสั่งใหตั้งเจาพนักงานบังคับคดี จัดการใหเจาหนี้ตามคําพิพากษาได ่ ครอบครองทรัพย ดังกลาว 1. กรณีที่ลูกหนี้ตามคําพิพากษาถูกศาลพิพากษาใหขับไล หรือตองออกไปจากที่ อยูอาศัย หรือทรัพยที่ครอบครอง 2. กรณีที่ลูกหนี้ตามคําพิพากษาตองรื้อถอนสิ่งปลูกสรางออกไปจาก อสังหาริมทรัพย ที่อยูอาศัย หรือทรัพยที่ครอบครอง การจําหนายทรัพย การขายทอดตลาดทรัพย เจาพนักงานบังคับคดี ตองตรวจสํานวนกอนวามีการปฏิบติ ั ตามขั้นตอน ที่ ป.วิ.พ. มาตรา 303 และมาตรา 304 1. ไดมีการแจงการยึดทรัพยใหลูกหนี้ตามคําพิพากษา และผูที่มีสวนไดเสียอื่น ๆ ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 287 2. ถาเปนอสังหาริมทรัพย หรือทรัพยที่ตองมีการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียน ไดมีการ แจงใหนายทะเบียนทราบ ในการบังคับคดีนั้น เจาพนักงานบังคับคดีมอํานาจตามหมายบังคับคดีของศาลที่มี ี เขตอํานาจทีสํานักงานบังคับคดีตั้งอยูเทานั้น อยางไรก็ตาม หากมีการรองขอ เจาพนักงาน ่ บังคับคดียอมมีอํานาจในการบังคับคดีแทนตามหมายบังคับคดีที่ออกโดยศาลอื่นไดเชนกัน การบังคับคดีลมละลาย การล มละลายเกิดจากการมีหนี้สิน ลนพนตัวคื อมีหนี้สินมากกวาทรัพยสิน จึ งเกิด กฎหมายลมละลายขึ้นมาเพื่อจัดระบบใหเกิดความเปนธรรม แกบรรดาเจาหนี้ทุกราย เพื่อให ไดรับชําระหนี้เต็มจํานวนหรือโดยสวนเฉลี่ยที่เทาเทียมกัน ตามสัดสวนแหงหนี้จากหนี้ที่
  • 8. 8    กระบวนการลมละลาย มีดังนี้ 1. การรวบรวมทรัพยสินเปนการรวบรวมทรัพยสินของเจาพนักงานพิทักษทรัพยซึ่ง ไดมาจากการสอบสวน การรวบรวมเอกสารทางบัญชี และสืบหาทรัพยของบรรดาเจาหนี้เปน หลักใหญ 2. การรวบรวมเจาหนี้ เมื่อศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดแลว บรรดาเจาหนี้ตอง มายื่นคําขอรับชําระหนี้ตอเจาพนักงานพิทักษทรัพยภายใน 2 เดือนนับแตมีการประกาศ คําสั่ ง พิ ทัก ษทรั พ ย เด็ดขาด ดั ง นั้ น เจ าหนี้ ทุกรายแม จ ะเป นเจาหนี้ ต ามคํ าพิ พากษาหรื อ เจ า หนี้ ผู เ ป น โจทก ก็ ต อ งมายื่ น คํ า ขอรั บ ชํ า ระหนี้ ด ว ย เพื่ อ มาพิ สู จ น ห นี้ กั น ใหม ใ นคดี ลมละลาย และเพื่อใหลูกหนี้ทราบวาตนมีหนี้สินเทาใด หากจะมีการประนอมหนี้ เมื่อเจาหนี้ มายื่นคําขอรับชําระหนี้แลว เจาพนักงานพิทักษทรัพยจะนัดพรอมเพื่อตรวจคําขอรับชําระหนี้ เพื่อใหเจาหนี้มีโอกาสโตแยงคําขอรับชําระหนี้ของเจาหนี้รายอื่น หากเห็นวาไมไดเปนหนี้กัน จริง หรือหนี้ที่ขอมาสูงกวาที่ควรจะไดรับชําระหนี้ ตอจากนั้นเจาพนักงานพิทักษทรัพยจะทํา การสอบสวนพยานเจาหนี้ทุกรายและทําความเห็นเสนอศาล วาเจาหนี้มีสิทธิไดรับชําระหนี้ หรือไมเทาใด เมื่อศาลพิจารณาจากความเห็นของเจาพนักงานพิทักษทรัพยแลว จะมีคําสั่ง ตาม หรือแกไข หรือยกขอรับชําระหนี้นั้น เจาพนักงานพิทัก ษทรัพยจะแจงคําสั่งศาลให เจาหนี้ทราบ เจาหนี้ ลูกหนี้และผูโตแยง (ถามี) มีสิทธิอุทธรณคําสั่งศาลไดภายใน 1 เดือน นับแตทราบคําสั่ง 3. การพิจารณาหลังศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด เปนกระบวนการที่ตอง ดําเนินการในชั้นเจาพนักงานพิทักษทรัพย ตามที่กฎหมายบัญญัติไวใหดําเนินการโดยเจา พนักงานพิทักษทรัพยและคดีลมละลายทุกคดีจะตองทําอะไรบาง การประชุมเจาหนี้ครั้งแรก กฎหมายกําหนดใหตองมีการประชุมเจาหนี้ครั้งแรกโดย ดวน และกําหนดวาตองมีหัวขอประชุมวาตองมีการพิจารณาคําขอประนอมหนี้กอนลมละลาย หรือควรขอใหศาลพิพากษาใหลมละลาย ในการลงมติวาจะรับคําขอประนอมหนี้หรือไมนั้น กฎหมายกําหนดวาตองมีมติพิเศษ คือตองมีจํานวนหนี้ไมนอยกวา 3 ใน 4 และมีจํานวน เจาหนี้ฝายขางมากของเจาหนี้ที่เขาประชุมและออกเสียง การไต ส วนลู ก หนี้ โ ดยเป ด เผย หลั ง จากมี ก ารประชุ ม เจ า หนี้ ค รั้ ง แรกแล ว เจ า พนักงานพิทักษทรัพยจะรายงานผลการประชุมตอศาล และศาลจะนัดไตสวนลูกหนี้โดย เปดเผยเพื่อทราบความเปนมาและกิจการทรัพยสินของลูกหนี้ เพื่อเปนขอมูลในการพิจารณา
  • 10. 10    ความรูความเขาใจเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติดานงานธุรการ  งานธุรการ งานธุรการจะเปนงานที่เกี่ยวของกับทางดานเอกสาร เชน การรับ – สงเอกสาร การจัด ระบบงาน เอกสาร การเก็บขอมูลที่สําคัญขององคกร งานพิมพตางๆ และหนังสือโตตอบทาง ราชการ เปนตน รวมถึงประสานงานทั้งภายในและภายนอกองคกร ทุกหนวยงานจะมีงานธุรการ เพื่อทําหนาที่ดําเนินงานดานเอกสารภายในหนวยงาน นั้นๆ รวมไปถึงการประสานงานกับ หนวยงานอื่นๆ ทั้งภายในองคกรและภายนอกองคกรก็ได ดังนั้น จะเห็นไดวาองคกรสวนใหญให ความสําคัญกับงานธุรการเพราะงานธุรการเปนหัวใจหลักของการประสานงานตางๆ การเก็บ ขอมูลเอกสารที่สําคัญๆ ของสวนงานภายในองคกรนั่นเอง งานธุรการ คือ งานที่เกี่ยวกับเอกสารหลักฐานในราชการ รวมทั้งการควบคุมตรวจสอบ อํ า นวยความสะดวกในการติ ด ต อ ประสานงาน เพื่ อ ให ก ารปฏิ บั ติ ง านของทุ ก ฝ า ยดํ า เนิ น ไปสู เปาหมายที่วางไวไดดีที่สุด ขอบขายของงานธุรการ 1. รับ-สงหนังสือ 2. รางหนังสือ 3. พิมพหนังสือ 4. ผลิตสําเนาเอกสาร 5. จัดเก็บเอกสาร/แฟมเสนอ 6. บันทึกเสนอหนังสือ 7. ตรวจทานหนังสือ 8. การทําลายหนังสือ 9. ดูแลสํานักงาน 10. อื่นๆ เชน การเงิน บัญชี งบประมาณ พัสดุ ความสําคัญของงานธุรการ 1. เปนดานหนาของหนวยงาน 2. เปนหนวยสนับสนุน 3. เปนหนวยบริการ บทบาทของเจาหนาที่ธุรการ 1. ตองรูระเบียบที่เกี่ยวของ 2. ตองมีมนุษยสัมพันธ 3. ตองมีน้ําใจ เอื้ออาทร 4. ตองมีความรอบคอบ 5. ตองมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง
  • 11. 11    งานเอกสารนั้นเปนงานเกี่ยวของกับความทรงจําของมนุษย และอาจถือไดวา เอกสารทํา หนาที่แทนสมองของมนุษย ทั้งนี้ก็เพราะวาเอกสารตาง ๆ นั้นถูกบันทึกไวดวยขอมูลอันเปน ประโยชนตอการตัดสินใจของผูบริหารทั้งในดานวางแผนและควบคุมงาน บันทึกหรือเอกสาร (Records) หมายถึง กระดาษที่ใชในธุรกิจ หนังสือ แบบฟอรม แผนที่ และวัตถุอื่นๆ ที่บรรจุขอความซึ่งแสดงถึงโครงสรางองคการ นโยบาย วิธีปฏิบัติและการดําเนินงาน ของธุรกิจหรือสวนราชการ การจัดเก็บเอกสาร (Filing) หมายถึง ระบบการจําแนก การจัดลําดับ และการเก็บหนังสือ โตตอบ บัตร กระดาษและวัตถุอื่น ๆ อยางมีระเบียบเพื่อใหคนหามาใชไดทันทวงทีที่ตองการ สวนการบริหารงานเอกสาร (Records – Management) นั้น หมายถึง การควบคุมบังคับ บัญชา การผลิตเอกสารการปองกันรักษา การจัดเก็บ และการทําลายเอกสาร หรืออาจอธิบายวา การบริหารงานเอกสารนี้ หมายถึง กิจกรรมที่กําหนดขึ้นเพื่อควบคุมวงจรชีวิตของเอกสารตั้งแต การผลิตขึ้นมาไปจนถึงการทําลาย วงจรของเอกสาร (The Records Cycle) บันทึกหรือเอกสารตาง ๆ มีวงจรชีวิตอยู 5 ขั้นตอน คือ 1. ผลิต (Creation) 2. ใช (Utilization) 3. เก็บ (Storage) 4. นํากลับมาใชอีกหรือสืบคน (Retrieval) 5. ทําลาย (Disposition) แผนการบริหารงานเอกสาร แผนการบริหารงานเอกสารนั้น ควรประกอบดวย 1. การกําหนดนโยบายหรือจุดมุงหมาย และจัดใหมีหนวยควบคุมกลาง 2. จัดทําคูมือและฝกอบรมพนักงานเกี่ยวกับการจัดเก็บเอกสาร 3. กําหนดวิธีการจัดหา การใช และการบํารุงรักษาอุปกรณในการจัดเก็บเอกสาร 4. กําหนดมาตรฐาน ศึกษางาน และกําหนดระยะเวลาการเก็บรอเอกสารไว (Retention) และการทําลายเอกสาร (Disposition) 5. ประเมินผลแผนการ การออกแบบระบบการจัดเก็บเอกสาร องคประกอบสําคัญของการออกแบบระบบการจัดเก็บเอกสาร หมายรวมถึง
  • 12. 12    สรุประเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม ความหมาย “งานสารบรรณ” หมายความวา งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแตการ จัดทําการรับ การสง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทําลาย “หนังสือ” หมายความวา หนังสือราชการ “สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สํานักงาน หรือหนวยงานอื่นใดของ รัฐทั้งในราชการบริหารสวนกลาง ราชการบริหารสวนภูมิภาค ราชการบริหารสวนทองถิ่น หรือใน ตางประเทศและใหหมายความรวมถึงคณะกรรมการดวย “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากทางราชการให ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และใหหมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือคณะบุคคล อื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้ ชนิดของหนังสือ หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก 1. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ 2. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่มีไปถึง บุคคลภายนอก 3. หนังสือที่หนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงสวนราชการ 4. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นเพื่อเปนหลักฐานในราชการ 5. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับ หนังสือ มี 6 ชนิด คือ 1. หนังสือภายนอก 2. หนังสือภายใน 3. หนังสือประทับตรา 4. หนังสือสั่งการ 5. หนังสือประชาสัมพันธ 6. หนังสือที่เจาหนาที่ทําขึ้น หรือรับไวเปนหลักฐานในราชการ
  • 13. 13    หนังสือภายนอก หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีโดยใชกระดาษตราครุฑเปน หนังสือติดตอระหวางสวนราชการ หรือสวนราชการมีถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่ มีถึงบุคคลภายนอก หนังสือภายใน หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอกเปน หนังสือติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใชกระดาษบันทึกขอความ หนังสือประทับตรา หนังสือประทับตรา คือ หนังสือที่ใชประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหนาสวนราชการ ระดับกรมขึ้นไป โดยใหหัวหนาสวนราชการระดับกอง หรือผูที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนาสวน ราชการระดั บ กรมขึ้ น ไป เป น ผู รั บ ผิ ด ชอบลงชื่ อ ย อ กํ า กั บ ตรา หนั ง สื อ ประทั บ ตราให ใ ช ไ ด ทั้ ง ระหวางสวนราชการกับสวนราชการ และระหวางสวนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ ไมใชเรื่องสําคัญ ไดแก 1. การขอรายละเอียดเพิ่มเติม 2. การสงสําเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร 3. การตอบรับทราบที่ไมเกี่ยวกับราชการสําคัญ หรือการเงิน 4. การแจงผลงานที่ไดดําเนินการไปแลวใหสวนราชการที่เกี่ยวของทราบ 5. การเตือนเรื่องที่คาง 6. เรื่องซึ่งหัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไปกําหนดโดยทําเปนคําสั่ง ใหใชหนังสือ ประทับตรา หนังสือประทับตรา ใชกระดาษตราครุฑ หนังสือสั่งการ หนังสือสั่งการ ใหใชตามแบบที่กําหนดไวในระเบียบนี้ เวนแตจะมีกฎหมายกําหนดแบบ ไวโดยเฉพาะหนังสือสั่งการมี 3 ชนิด ไดแก คําสั่ง ระเบียบ และขอบังคับ คํ า สั่ ง คื อ บรรดาข อ ความที่ ผู บั ง คั บ บั ญ ชาสั่ ง การให ป ฏิ บั ติ โ ดยชอบด ว ยกฎหมายใช กระดาษตราครุฑ ระเบียบ คือ บรรดาขอความที่ผูมีอํานาจหนาที่ไดวางไว โดยจะอาศัยอํานาจของกฎหมาย หรือไมก็ได เพื่อถือเปนหลักปฏิบัติงานเปนการประจํา ใชกระดาษตราครุฑ
  • 14. 14    ข อ บั ง คั บ คื อ บรรดาข อ ความที่ ผู มี อํ า นาจหน า ที่ กํ า หนดให ใ ช โ ดยอาศั ย อํ า นาจของ กฎหมายที่บัญญัติใหกระทําได ใชกระดาษตราครุฑ หนังสือประชาสัมพันธ หนังสือประชาสัมพันธ ใหใชตามแบบที่กําหนดไวในระเบียบนี้ เวนแตจะมีกฎหมาย กําหนดแบบไวโดยเฉพาะ หนังสือประชาสัมพันธมี 3 ชนิด ไดแก ประกาศ แถลงการณ และขาว ประกาศ คือ บรรดาขอความที่ทางราชการประกาศหรือชี้แจงใหทราบ หรือแนะแนวทาง ปฏิบัติ ใชกระดาษตราครุฑ แถลงการณ คือ บรรดาขอความที่ทางราชการแถลงเพื่อทําความเขาใจในกิจการของทาง ราชการ หรือเหตุการณหรือกรณีใด ๆ ใหทราบชัดเจนโดยทั่วกัน ใชกระดาษตราครุฑ การเก็บรักษา ยืม และทําลายหนังสือ การเก็บรักษา การเก็บหนังสือแบงออกเปน การเก็บระหวางปฏิบัติ การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแลวและการ เก็บไวเพื่อใชในการตรวจสอบ การเก็บระหวางปฏิบัติ คือ การเก็บหนังสือที่ปฏิบัติยังไมเสร็จใหอยูในความรับผิดชอบ ของเจาของเรื่องโดยใหกําหนดวิธีการเก็บใหเหมาะสมตามขั้นตอนของการปฏิบัติงาน การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแลว คือ การเก็บหนังสือที่ปฏิบัติเสร็จเรียบรอยแลว และไมมี อะไรที่จะตองปฏิบัติตอไปอีก ใหเจาหนาที่ของเจาของเรื่องปฏิบัติดังนี้ 1. จัดทําบัญชีหนังสือสงเก็บ อยางนอยใหมีตนฉบับและสําเนาคูฉบับสําหรับ เจาของเรื่องและหนวยเก็บ เก็บไวอยางละฉบับ 2. สงหนังสือและเรื่องปฏิบัติทั้งปวงที่เกี่ยวของกับหนังสือนั้น พรอมทั้งบัญชี หนังสือสงเก็บไปใหหนวยเก็บที่สวนราชการนั้น ๆ กําหนด เมื่อไดรับเรื่องจากเจาของเรื่องแลว ใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบในการเก็บหนังสือปฏิบัติดังนี้ 1. ประทับตรากําหนดเก็บหนังสือ ไวที่มุมลางดานขวาของกระดาษแผนแรกของ หนังสือฉบับนั้น และลงลายมือชื่อยอกํากับตรา - หนังสือที่ตองเก็บไวตลอดไป ใหประทับตราคําวา หามทําลายดวยหมึกสี แดง - หนังสือที่เก็บโดยมีกําหนดเวลา ใหประทับตราคําวา เก็บถึงพ.ศ. .... ดวย หมึกสีน้ําเงิน และลงเลขของปพุทธศักราชที่ใหเก็บถึง 2.ลงทะเบียนหนังสือเก็บไวเปนหลักฐาน โดยกรอกรายละเอียดดังนี้ - ลําดับที่ ใหลงเลขลําดับเรื่องของหนังสือที่เก็บ
  • 15. 15    แนวขอสอบ ระเบียบฯ งานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 1.ระเบียบฯ วาดวยงานสารบรรณ ฉบับปจจุบันที่ใชอยูเปนฉบับแกไขเพิ่มเติม พ.ศ.ใด ก. พ.ศ.2526 ข. ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2535 ค. ฉบับที่ 2 พ.ศ.2548 ง. ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2550 2.ระเบียบฯ วาดวยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 2) ประกาศใชเมื่อใด ก. ตั้งแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ค. 7 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา ง. 30 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา 3.ระเบียบฯ วาดวยงานสารบรรณ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) มีผลบังคับใชเมื่อใด ก. 1 มิถุนายน พ.ศ. 2526 ข. 21 มิถุนายน พ.ศ. 2548 ค. 22 มิถุนายน พ.ศ. 2548 ง. 28 มิถุนายน พ.ศ. 2548 4. ขอใด หมายถึง งานสารบรรณ ก. การรับ-สง ค. การเก็บรักษา ข. การยืม ง. ถูกทุกขอ 5. ในระเบียบฯ วาดวยงานสารบรรณ คําวา "หนังสือ" หมายถึงขอใด ก. หนังสือภายใน ข. หนังสือภายนอก ค. หนังสือราชการ ง. ถูกทุกขอ 6. ผูรักษาการในระเบียบฯ วาดวยงานสารบรรณ ฉบับปจจุบันคือใคร ก. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ข. นายกรัฐมนตรี ค. ปลัดกระทรวงการคลัง ง. คณะรัฐมนตรี 7.ขอใดมิใชความหมายของหนังสือราชการ ก. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ ข. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นที่มิใชสวนราชการ
  • 16. 16    ค. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นเพื่อใชเปนหลักฐานในราชการ ง. หนังสือที่มีขึ้นเพื่อใชในการติดตอบุคคลภายนอก 8."หนังสือภายนอก" หมายถึงขอใด ก. หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธี, ใชกระดาษบันทึก ข. หนังสือติดตอราชการทําเปนแบบพิธี, ใชกระดาษตราครุฑ ค. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม , ใชกระดาษบันทึก ง. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม, ใชกระดาษตราครุฑ 9."หนังสือภายใน" หมายถึงขอใด ก. หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธี, ใชกระดาษบันทึก ข. หนังสือติดตอราชการทําเปนแบบพิธี, ใชกระดาษตราครุฑ ค. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม , ใชกระดาษบันทึก ง. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม, ใชกระดาษตราครุฑ 10.ผูรับผิดชอบลงชื่อยอกํากับตราในหนังสือประทับตราคือใคร ก. หัวหนาหนวย ข. หัวหนาสวนราชการระดับกอง ค. เจาหนาที่ภายในหนวยงาน ง. หัวหนาฝาย 11.ขอใดไมควรใชหนังสือประทับตรา ก. การสงสําเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร ค. การเตือนเรื่องที่คาง ข. การตอบรับทราบที่ไมเกี่ยวกับรายการสําคัญ ง. หนังสือสําคัญเกี่ยวกับการเงิน 12.ขอใดไมไดใชกระดาษตราครุฑ ก. หนังสือประทับตรา ค. หนังสือภายนอก ข. หนังสือภายใน ง. หนังสือสั่งการ 13."หนังสือสั่งการ" มีกี่ชนิด มีอะไรบาง ก. 2 ชนิด, คําสั่ง ระเบียบ ค. 3 ชนิด, คําสั่ง ระเบียบและขอบังคับ ข. 2 ชนิด, คําสั่ง ขอบังคับ ง. 3 ชนิด, คําสั่ง ระเบียบ และกฎ
  • 17. 17    41.หนังสือที่เปนเรื่องธรรมดาสามัญที่ไมมีความสําคัญ และเปนเรื่องที่เกิดขึ้นเปนประจําเมื่อ ดําเนินการเสร็จแลวใหเก็บรักษาไวไมนอยกวากี่ป ก. 1 ป ข. 2 ป ค. 3 ป ง. 4 ป 42.หนังสือที่เกี่ยวกับการเงิน ซึ่งมิใชเอกสารสิทธิ หากเห็นวาไมมีความจําเปนตองเก็บไวถึง 10 ป ใหทําความตกลงกับหนวยงานใดเพื่อขอทําลาย ก. กระทรวงมหาดไทย ข. กระทรวงกลาโหม ค. กระทรวงยุติธรรม ง. กระทรวงการคลัง 43.ทุกปปฏิทิน ใหสวนราชการจัดสงหนังสือที่มีอายุครบกี่ป ใหกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรม ศิลปากร ก. 10 ป ข. 15 ป ค. 20 ป ง. 25 ป 44.จากขอขางตน กําหนดสงภายในวันที่เทาใด ก. 1 มกราคม ของปถัดไป ค. 1 มีนาคมของปถัดไป ข. 31 มกราคม ของปถัดไป ง. 31 มีนาคมของปถัดไป 45.เมื่อครบกําหนดเวลาที่กําหนดจะทําการจัดสงหนังสือใหกองจดหมายเหตุแหงชาติ กรม ศิลปากรยกเวนหนังสือใด ก. หนังสือที่ตองสงวนเปนความลับใหปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบวาดวยการรักษา ความปลอดภัยแหงชาติ ข. หนังสือที่มีกฎหมาย ขอบังคับหรือระเบียบที่ออกใชเปนการทั่วไป กําหนดไวเปนอยางอื่น ค. หนังสือที่สวนราชการจําเปนตองเก็บไวที่สวนราชการนั้น ง. ถูกทุกขอ 46.การที่จะใหบุคคลภายนอกยืมหนังสือจะกระทํามิได เวนแตจะใหดูหรือคัดลอกหนังสือ โดย จะตองไดรับอนุญาตจากผูใดกอน ก. หัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไป ข. หัวหนาสวนราชการระดับกองขึ้นไป ค. หัวหนาหนวย ง. เจาหนาที่บรรณรักษ 47.คณะกรรมการทําลายหนังสือ ประกอบดวยใครบาง ก. ประธานกรรมการ, กรรมการอยางนอย 2 คน ข. ประธานกรรมการ, กรรมการอยางนอย 3 คน
  • 18. 18    แนวขอสอบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพนักงาน ราชการ พ.ศ.2547 7.พนักงานราชการมีกี่ประเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท ตอบ ข. 2 ประเภท พนักงานราชการมีสองประเภท (ระเบียบฯ ขอ 6) 8.พนักงานราชการที่ปฏิบัติงานในลักษณะที่ตองใชความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปน  พิเศษหมายถึงผูใด ก. พนักงานราชการ ข. พนักงานราชการทั่วไป ค. พนักงานราชการพิเศษ ง. พนักงานราชการเชี่ยวชาญ ตอบ ค. พนักงานราชการพิเศษ พนักงานราชการพิเศษ ไดแก พนักงานราชการซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะที่ตองใช ความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปนพิเศษเพือปฏิบัติงานในเรื่องที่มีความสําคัญและจําเปน ่ เฉพาะเรื่องของสวนราชการ หรือมีความจําเปนตองใชบุคคลในลักษณะดังกลาว (ระเบียบฯ ขอ 6 (2)) 9.ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการจะจําแนกเปนกลุมงานโดยพิจารณาจากสิ่งใด ก. ลักษณะงานและผลผลิตของงาน ข. ลักษณะงานและคุณภาพของงาน ค. ประเภทและผลผลิตของงาน ง. ประเภทและคุณภาพของงาน ตอบ ก. ลักษณะงานและผลผลิตของงาน ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการ ใหกําหนดตําแหนงโดยจําแนกเปนกลุม งานตามลักษณะงานและผลผลิตของงาน (ระเบียบฯ ขอ 7) (1) กลุมงานบริการ (2) กลุมงานเทคนิค (3) กลุมงานบริหารทั่วไป (4) กลุมงานวิชาชีพเฉพาะ
  • 19. 19    (5) กลุมงานเชี่ยวชาญเฉพาะ (6) กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ 10.ตําแหนงของพนักงานราชการมีกี่กลุม ก. 4 กลุม ค. 6 กลุม ตอบ ค. 6 กลุม คําอธิบายดังขอขางตน 11.ขอใดไมใชกลุมงานของพนักงานราชการ ก. กลุมงานบริการ ค. กลุมงานบริหาร ตอบ ค. กลุมงานบริหาร คําอธิบายดังขอขางตน ข. 5 กลุม ง. 7 กลุม ข. กลุมงานเทคนิค ง. กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ 12.ในการกําหนดตําแหนงของกลุมงานและกําหนดลักษณะงานใหเปนไปตามประเภทของ ใคร ก. อธิบดี ข. ปลัดทบวง ค. ปลัดกระทรวง ง. คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ ตอบ ง. คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ การกําหนดใหพนักงานราชการประเภทใดมีตําแหนงในกลุมงานใด และการกําหนด ลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุมงาน ใหเปนไปตามประกาศของคณะกรรมการ (ระเบียบฯ ขอ 7) 13.กรอบอัตรากําลังพนักงานราชการมีระยะเวลากี่ป ก. 2 ป ข. 3 ป ค. 4 ป ง. 5 ป ตอบ ค. 4 ป สวนราชการจัดทํากรอบอัตรากําลังพนักงานราชการเปนระยะเวลาสี่ป โดยให สอดคลองกับเปาหมายการปฏิบัติราชการของสวนราชการและแผนงบประมาณเชิงกล
  • 20. 20    แนวขอสอบ ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 5.ผูใดเปนประธานในคณะกรรมการขาราชการพลเรือน ก. นายกรัฐมนตรี ข. คณะรัฐมนตรี ค. ปลัดกระทรวงการคลัง ง. ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี “ก.พ.”ประกอบดวยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เปนประธานปลัดกระทรวงการคลัง (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 6) 6.ขอใดไมใชกรรมการโดยตําแหนงในคณะกรรมการขาราชการพลเรือน ก. ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ ข. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ค. ปลัดกระทรวงการคลัง ง. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ตอบ ง. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี “ก.พ.”ประกอบดวยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เปนประธานปลัดกระทรวงการคลัง ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ และเลขาธิการ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ เปนกรรมการโดยตําแหนง (พรบ. ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 6) 7.กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลาแตงตั้งจากผูทรงคุณวุฒินั้น จะตองเปนบุคคลที่มี ความสามารถในดานใด ก. ดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ข. ดานการบริหารและการจัดการ ค. ดานกฎหมาย ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตัง จากผูทรงคุณวุฒิดานการบริหาร ้ ทรัพยากรบุคคล ดานการบริหารและการจัดการ และดานกฎหมาย ซึ่งมีผลงานเปนที่ ประจักษในความสามารถมาแลว และเปนผูที่ไดรับการสรรหาตามหลักเกณฑ วิธีการ และ
  • 21. 21    เงื่อนไขที่กําหนดในกฎ ก.พ. จํานวนไมนอยกวาหาคน แตไมเกินเจ็ดคน และใหเลขาธิการ ก.พ. เปนกรรมการและเลขานุการ (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 6) 8.คณะกรรมการจากขอขางตนนั้น จะมีตําแหนงอยูในวาระคราวละกี่ป ก. 2 ป ข. 3 ป ค. 4 ป ง. 5 ป ตอบ ข. 3 ป กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตังใหอยูในตําแหนงไดคราวละสามป ้ ถาตําแหนงกรรมการวางลงกอนกําหนดและยังมีกรรมการดังกลาวเหลืออยูอีกไมนอยกวา  สามคน ใหกรรมการที่เหลือปฏิบัติหนาที่ตอไปได (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 7) 9.เมื่อตําแหนงกรรมการวางลงนั้น อาจจะไมแตงตั้งกรรมการแทนก็ได ในกรณีที่วาระของ กรรมการเหลือไมถึงกี่วน ั ก. 30 วัน ข. 60 วัน ค. 90 วัน ง. 180 วัน ตอบ ง. 180 วัน เมื่อตําแหนงกรรมการวางลงกอนกําหนดใหดําเนินการแตงตั้งกรรมการแทนภายใน กําหนด สามสิบวัน เวนแตวาระของกรรมการเหลือไมถึงหนึ่งรอยแปดสิบวันจะไมแตงตั้ง กรรมการแทนก็ได ผูซึ่งไดรับแตงตังเปนกรรมการแทนนั้นใหอยูในตําแหนงไดเพียงเทา ้ กําหนดเวลาของผูซึ่งตนแทน (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 7) 10.ขอใดมิใชอํานาจหนาที่ของ กพ. ก. ใหความเห็นชอบ กรอบอําตรากําลังของสวนราชการ ข. ออกกฎ ก.พ. ค. กําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล ง. พิจารณาการเกลี่ยอัตรากําลังระหวางสวนราชการตางๆ ภายในกระทรวง ตอบ ง. พิจารณาการเกลี่ยอัตรากําลังระหวางสวนราชการตางๆ ภายใน กระทรวง
  • 22. 22    การพิจารณาการเกลี่ยอัตรากําลังระหวางสวนราชการตางๆ ภายในกระทรวงเปน อํานาจหนาที่ของ อ.ก.พ.กระทรวง (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551มาตรา 16) 11.อ.ก.พ. กระทรวง มีบคคลใดดํารงตําแหนงเปนประธาน ุ ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด ข. ปลัดกระทรวง ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. อธิบดี ตอบ ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด อ.ก.พ. กระทรวง ประกอบดวยรัฐมนตรีเจาสังกัด เปนประธาน ปลัดกระทรวง เปน รองประธาน และผูแทน ก.พ. ซึ่งตั้งจากขาราชการพลเรือนในสํานักงาน ก.พ. หนึ่งคน เปน อนุกรรมการโดยตําแหนง และอนุกรรมการ (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 15) 12.อ.ก.พ. กรม มีบุคคลใดดํารงตําแหนงเปนประธาน ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด ข. ปลัดกระทรวง ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. อธิบดี ตอบ ง. อธิบดี อ.ก.พ. กรม ประกอบดวยอธิบดี เปนประธาน รองอธิบดีทอธิบดีมอบหมายหนึ่งคน ี่ เปนรองประธาน และอนุกรรมการซึ่งประธาน อ.ก.พ. (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 17) 13.อ.ก.พ. จังหวัด มีบุคคลใดดํารงตําแหนงเปนประธาน ก. รัฐมนตรีเจาสังกัด ข. ปลัดกระทรวง ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. อธิบดี ตอบ ค. ผูวาราชการจังหวัด อ.ก.พ. จังหวัด ประกอบดวยผูวาราชการจังหวัด เปนประธาน รองผูวาราชการ จังหวัด ที่ผูวาราชการจังหวัดมอบหมายหนึ่งคน เปนรองประธาน และอนุกรรมการ ซึ่ง ประธาน อ.ก.พ. (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 19) 14."ก.พ.ค." มีชอเต็มวาอะไร ื่ ก. กรรมการพิทักษคุณธรรม ข. คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรม
  • 23. 23    แนวขอสอบ คอมพิวเตอร 68.การแกไขขอความของจดหมายที่ผูพิมพพิมพผิด กระบวนการดังกลาว เรียกวา (1) Formatting (2) Search and Replace (3) Editing (4) Cut and Move ตอบ 3. Editing คุณลักษณะพื้นฐานของโปรแกรม Word Processing มี 5 ประการ ดังนี้ 1. การปอนขอความ (Text Entry) 2. การแกไขขอความ(Editing) เชน การลบ(Delete), การตัด (Cut), การวาง (Paste) 3. การจัดรูปแบบเอกสาร(Print Formatting) เชน การจัดหัวขอใหอยูในตําแหนง กึ่งกลางหนา (Line Centering), การจัดชิดขอบ (Margins), การเวนระยะหางระหวาง บรรทัดเปน 2 เทา (Double Spacing), การกําหนดรูปแบบตัวอักขระ(Font), การเห็น รูปแบบของเอกสารที่อยูบนจอ ซึ่งจะปรากฏบนกระดาษพิมพ (What You See Is What You Get : WYSIWYG) 4. การพิมพ (Printing) 5. การบันทึกเอกสารลงในสื่อเพื่อเรียกใชภายหลัง 69.ขนาดของเครือขายที่ใชภายในบริเวณมหาวิทยาลัยเปนเครือขายในขนาดที่เรียก (1) WAN (2) MAN (3) LAN (4) VAN ตอบ 3. LAN 70.Intranet หมายถึง (1) เครือขายที่ตอเชื่อมอุปกรณคอมพิวเตอรภายในองคการ  (2) เครือขายที่เชื่อมตอระหวางกิจการที่เปนคูคาระหวางกันเทานั้น (3) เปนการใช Internet Technology สรางเปนเครือขายใชภายในองคการ (4) เปนการใช Internet Technology สรางเครือขายใหเฉพาะคูคาของกิจการใชงานได ตอบ 3. เปนการใช Internet Technology สรางเปนเครือขายใชภายในองคการ
  • 24. 24    ระบบเครือขายอินทราเน็ต (Intranet) คือ ระบบเครือขายภายในองคกรที่นํา เทคโนโลยีแบบอินเตอรเน็ตมาประยุกตใช เพื่อชวยในการทํางานรวมกัน (Workgroup)การ แลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร ตลอดจนการทํางานตาง ๆ ของระบบคอมพิวเตอรในองคกร 71.การจัดกระดาษใหหางจากขอบกระดาษดานซายมือและขวามือวาเปนเทาใด เปนขั้นตอน ใดในการใชโปรแกรมประมวลผลคํา (1) Text Entry (2) Editing (3) Print Formatting (4) Printing ตอบ 3. Print Formatting 72.การสรางแฟมจดหมาย 1 ฉบับ และสรางแฟมฐานขอมูลลูกคาซึ่งมีลูกคาหลาย ๆ คน โปรแกรมจะทําการพิมพจดหมายโดยการนํารายชื่อลูกคาและรายละเอียดอยางอื่นของลูกคา มาผนวกกับ แฟม จดหมาย ผลที่ ไดจ ะไดจดหมายให ลูก ค า ของบริ ษัท ทั้งหมดโดยไม ตอ ง เสี ยเวลาการพิม พจดหมายใหลูก คาแตละรายการเป นการทํ างานของโปรแกรมในข อ ใด ตอไปนี้ (1) Thesaurus (2) Mail Merge (2) Spelling Checker (4) Outliner ตอบ 2.Mail Merge โปรแกรมประมวลผลคํา (Word Processing) มีความสามารถพิเศษในการทํางานดาน Mail Merge ซึ่งหมายถึง การสรางแฟมจดหมาย 1 ฉบับ และสรางแฟมฐานขอมูลของ ลูกคาเพื่อพิมพจดหมายใหลูกคาของบริษัททั้งหมด ทําใหไมตองเสียเวลาจัดพิมพจดหมายให ลูกคาแตละราย 73.ถาผูจัดการบริษัทตองการคํานวณหาปริมาณสั่งซื้อสินคาที่เหมาะสมที่สุดที่ทําใหระบบ สินคาคงคลังมีคาใชจายที่ต่ําที่สุด ทานคิดวาโปรแกรมในขอใดตอไปนี้เหมาะสมที่สุด (1) Microsoft Word (2) Microsoft Excel (3) Microsoft PowerPoint (4) Microsoft Access ตอบ 2. Microsoft Excel ประโยชนของโปรแกรม Spreadsheet มีดังนี้ 1. เตรียมการและจัดการวิเคราะหขอมูลการเงินตาง ๆ
  • 25. 25    สั่งซื้อไดที่ www.SheetRam.com โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422, 085-9679080,085-9993722,085-9993740 แจงการโอนเงิน พรอมชือ และอีเมลลที่ ่ LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740