SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
1
2

ขอบเขตเนื้อหา
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับธนาคารออมสิน
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับธนาคารออมสิน
ประวัติธนาคารออมสิน
การเปดเผยขอมูลสารสนเทศและความโปรงใส
จรรยาบรรณ
ระเบียบธนาคารออมสินวาดวยประมวลจริยธรรมะนาคารออมสิน
พรบ.ธนาคารออมสิน
แนวขอสอบ พรบ.ธนาคารออมสิน

5
5
9
10
18
23
31

อนุกรมหรือเลขเรียงลําดับ
วิธีบวก
วิธีลบ
วิธีคูณ
วิธียกกําลัง
วิธีหาร
เงื่อนไขภาษา
อุปมาอุปไมย
ความสัมพันธในลักษณะเปนสวนหนึ่งของสิ่งหนึ่ง
ความสัมพันธในลักษณะมีความหมายเหมือนกัน / ตรงขาม
ความสัมพันธในลักษณะหนาที่
ความสัมพันธในลักษณะสิ่งของประเภทเดียวกัน
ความสัมพันธในลักษณะสถานที่
ความสัมพันธในเรื่องของลักษณะนาม
เงื่อนไขสัญลักษณ
แนวขอสอบ เงื่อนไขสัญลักษณ
แนวขอสอบ เรื่องอนุกรม
แนวขอสอบ เรื่องอุปมาอุปไมย
คณิตศาสตรทั่วไป
การหาผลบวกของเลขหลายจํานวนเรียงกัน
การหาอัตราสวนและรอยละ
ดอกเบี้ย
การคํานวณระยะหางระหวางเสา
การแจกบัตรอวยพรและการสัมผัสมือ
การแปรผันตรงและการแปรผกผัน
การแกสมการ
การคํานวณเกี่ยวกับขาและหัวของสัตว
คาเฉลี่ย
การหา ครน. และหรม.
ความสามารถทางดานเหตุผล
การคํานวณหาพื้นที่และปริมาตร
การวิเคราะหสรุปเหตุผลทางโอเปอรเรต
ตาราง กราฟและแผนภูมิ
แบบทดสอบการอานขอมูลจากตาราง

37
37
42
46
50
58
65
83
83
84
86
87
88
89
91
96
208
227
238
238
240
242
244
246
250
255
255
262
265
267
271
274
275
281

ความสามารถเชิงคณิตศาสตร
3

ความสามารถทางดานภาษา
การใชคํา
การใชคําราชาศัพท
การสรุปใจความ
สํานวน สุภาษิต คําพังเพย
การเขียนสะกดการันต
ประโยค
ลักษณะภาษา
การใชภาษา
คําเปนคําตาย
คําเชื่อม
การสะกดคํา
กการเขียนภาษาใหถูกตอง
การเรียงประโยค
บทความสั้น
บทความยาว
แนวขอสอบภาษาไทย

287
290
300
306
311
312
314
315
338
341
346
351
375
381
387
392

ภาษาอังกฤษ (English Language Test)
ความรูพื้นฐาน
ลักษณะของคํานาม
Determinier
คําสรรพนาม
คําคุณศัพท
กริยาชวย
แนวขอสอบ Grammar and Vocabulary
แนวขอสอบ Vocubulary
แนวขอสอบ Reading Comprehension
แนวขอสอบ กริยารูป Tense
แนวขอสอบ การใช Gerund & Infinitive
แนวขอสอบ การใชกริยาชวย
แนวขอสอบ Adjective Clauses
แนวขอสอบ Reduced Adjective Clauses
แนวขอสอบ Subjunctive
แนวขอสอบ If - clause

406
406
412
417
422
426
428
434
438
438
446
448
462
468
473
476

บุคลิกภาพกับการเลือกอาชีพ
แบบทดสอบลักษณะนิสัย

486
476

แบบทดสอบลักษณะนิสัย (Personality Test)
4

ความรูทั่วไปเกียวกับธนาคารอ น

กี่
ธ
ออมสิ
ติ
ออมสิ
ประวัติธนาคารอ น
“แบงคลฟ ย” ตน
ฟอเที นแบบการอ
ี
ออม
พระบาทสม จพระมง ฎเกลาเจาอยู หัว รัชกาลที่ 6 ทรงเห็นคุณ
มเด็
งกุ
จ
ณประโยชนของการ
ออมทรัพย เพื่อใหป
ประชาชนรูจกการประหยัด การเก็บออม มีสถานที่เก็บรักษา
จั
ก็
ทรัพยสินเงินทองของป
งิ
ประชาชน ใ ปลอดภัยจากโจรผูราย จึงทรง ริเริ่มจัดตั้งคลังออม
ให
ย
ค
สินทดลองขึ้น โดยทร
ขึ
รงพระราชท
ทานนามแบ วา “ลีฟอเทีย” ในป พ.ศ 2450
บงค
ลี
ศ.
เพื่อ ทรงใ ศึกษาและสํารวจนิสัยคนไทยใน
ใช
สั
นการออมเบื้องตน พร ทรงเ าใจใน
บื
ระองค เข
ราษฎรของ
งพระองคและทรงทรา วาควรใ
าบดี
ใช กุศโลบายใดอัน งใจคน
นจะจู นไทยให
มองเห็นคว าคัญของการออมวามสํ

กําเนิด ธนาคารอ น
ออมสิ
คลังออมสิน สังกัดกรม
มพระคลังมห
หาสมบัติ
กระทรวงพ งมหา ติ พ.ศ 2456 – 2471
พระคลั าสมบั ศ.
2
เพื่อใหคลังออมสินไดเ นประโยช เกื้อกูลเผื่อแผไปถึงร
เป
ชน
ผื
ราษฎรโดยท่วกัน
ทั
พระองคจึงไดทรงพระกรุณาโปรด าฯ ใหดําเนินการจัดตัง “คลัง
ดเกล
ด
จั ้
งออมสิน”
ขึ้นในสังกัด กรมพระค งมหาสมบติ กระทรว
คลั
บั
วงพระคลังม
มหาสมบัติ และพระราช
ชทาน
พระบรมรา ญาตประกาศใช “
าชานุ
“พระราชบััญญัติคลังอ น
ออมสิ
พ.ศ. 2456” ประกาศใ ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2456
ใช
พ
5

เติบโต อยางรุดห า
หน
กองคลังออ น สังกัด
อมสิ
ดกรมไปรษณยโทรเลข กระทรวงพ ชยและ
ณี
พาณิ
ะคมนาคม
พ.ศ. 2472 - 2489
ตอมาในป พ.ศ. 2472 พระบาทส จพระปกเกลาเจาอ หัว รัชกา ่ 7 ทรงมี
สมเด็
อยู
าลที
มี
พระราชดําริิเห็นควรโอ จการคลังออมสินใหไปอยูในค บผิดชอบของกร
อนกิ
ใ
ความรั
รม
ไปรษณียโท
ทรเลข กิจก เริ่มแพ หลายแล เปนที่นิย
การได พร
ละ
ยมของประช
ชาชนอยาง
กวางขวาง ซึ่งนับไดวา จการคลังออมสินใน วงระยะนี้เติบโตขึ้นม จึงเรียกไดวา
ากิ
ั
นช
มาก
ก
เปน
น
รคลั
สิ
"
"ยุคแหงความกาวหนาของการ งออมสินแหงประเทศไทย"

รากฐานความ มั่นคง
ั
ธนาคารออ น สังกัด
อมสิ
ดกระทรวงก ง พ.ศ 2490 – ปจจุบัน
การคลั ศ.
ป
ตอมาภายห งเมื่อสงค
หลั
ครามโลกครังที่ 2 ยุติลง รัฐบาลไดเห็นถึงคุณ
รั้
ด
ณประโยชน ของการ
ข
ออมทรัพยและความสํ ญของ ค งออมสินทีมตอการพัฒนาประเท จึงไดยกฐานะ
สาคั
คลั
่ ี
พั
ทศ
ก
ของคลังออ นขึ้นเปน การของรัฐ มีฐาน นนิติบุคคล ดําเนิน รกิจภายใต
อมสิ
นองค
นะเป
นธุ
“พระราชบัญญัติธนา
บั
าคารออมสิน พ.ศ. 24
สิ
489”
มี การบริหารงานโดยอิสระ ภายใ การควบคมของคณะ
อิ
ใต
คุ
ะกรรมการ ซ่งไดรับการ
ซึ
แตงตั้งจาก รัฐมนตรีวา
ก
าการกระทร

รวงการคลัง เริ่มดําเนิน รกิจในรูป
นธุ
ปธนาคาร ออมสิน
อ
ตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2490 และคําวา “คลัังออมสิน” ก็ไดเปลี่ยน เปนคําวา
น
“ธนาคารอ น” นับแตบัดนั้น นตนมา
ออมสิ
นเป
6

การเปดเผยขอมูลสารสนเทศและความโปรงใส
ธนาคารไดเปดเผยขอมูลที่สําคัญ ถูกตอง แมนยา เพื่อใหผูมีสวนไดเสียใช
ประกอบการตัดสินใจ การเปดเผยขอมูลเปนดัชนีชี้วัดความโปรงใสในการดาเนินการตัวหนึ่ง
ซึ่งเปนปจจัยสําคัญในการสรางความเชื่อมั่น แกผูมีสวนไดเสียทุกฝายของธนาคารถึงความ
ซื่อสัตยในการดาเนินงาน และเปนกลไกในการตรวจสอบ การดาเนินการ ธนาคารจึงให
ความสําคัญกับการเปดเผยขอมูลเปนอยางมาก และพยายามเพิ่มชองทางในการเผยแพร
ขอมูลตลอดเวลา
นอกจากนั้น ในฐานะที่ธนาคารออมสินเปนรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงการคลัง และ
เปนหนวยงานของรัฐตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ไดดาเนิน
การเกี่ยวกับขอมูลขาวสารของธนาคาร สูสาธารณะ เพื่อใหเกิดประโยชนแกประชาชนและผู
มีสวนไดเสียในการเขาถึงขอมูลขาวสารของธนาคาร
1. การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจาง
ธนาคารไดเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจางไวบนระบบอินเทอรเน็ท ซึ่ง
ประกอบดวยประกาศจัดซื้อ จัดจาง ประกาศราง TOR ประกาศผลการประกวดราคา
ประกาศขาย ประกาศขายทอดตลาด เพื่ออานวยความสะดวกใหแกสาธารณชนในการสืบคน
ขอมูลขาวสารการจัดซื้อจัดจางของธนาคาร
2. การเปดเผยขอมูลของธนาคารและขอมูลของลูกคาแกหนวยงานและ
บุคคลภายนอกที่รองขอ
ธนาคารไดใหความรวมมือกับหนวยงานที่มีอํานาจตามกฎหมายในการขอตรวจสอบ
ขอมูลหรือเรียกเอกสารหลักฐาน หรือขอใหพนักงานธนาคารไปใหปากคาในฐานะพยาน
บุคคล ไดแก สานักงานการตรวจเงินแผนดิน ธนาคารแหงประเทศไทย กระทรวงการคลัง สา
นักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย สานักงานคณะกรรมการปองกัน
และปราบปรามการทุจริตแหงชาติ สานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน ศาล กรม
บังคับคดี กรมสรรพากร กรมสอบสวนคดีพิเศษ สานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค
เปนตน โดยธนาคารจะใหขอมูลภายใตขอบังคับของกฎหมายและหลักการพิจารณาของ
ธนาคาร
7

จรรยาบรรณของคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน
จรรยาบรรณของคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน เพื่อใชเปนแนวทางในการ
ประพฤติปฏิบัติของคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานตอผูมีสวนไดสวนเสียทุกกลุมของ
ธนาคาร ไดแก ภาครัฐ ธนาคารผูบริหาร พนักงาน ผูรวมงาน ตนเอง ลูกคาและประชาชน คู
คา คูแขงตลอดจนสังคมสวนรวม
“จริยธรรม” หมายถึง ประมวลความประพฤติ หรือกิริยาที่ควรประพฤติที่สอดคลอง
กับความถูกตองดีงามตามวัฒนธรรมประเพณีอนดีงาม และหลักศาสนาสําหรับบุคลากรของ
ั
ธนาคารออมสิน
“จรรยาบรรณ” หมายถึง ประมวลความประพฤติอันเหมาะสมกับวิชาชีพ แสดงถึง
จริยธรรมในการปฏิบัติงานสําหรับใหพนักงานผูบริหาร และคณะกรรมการธนาคารออมสิน
พึงปฏิบัติเพือรักษาชือเสียงและสงเสริมเกียรติคณของธนาคารออมสิน อันจะสงผลให ผู
่
่
ุ
ประพฤติเปนที่เลื่อมใสศรัทธา และยกยองของบุคคลโดยทั่วไป
4
ธนาคารออมสินไดกําหนดจรรยาบรรณตอผูมีสวนไดสวนเสียทุกกลุม เพื่อเปนหลักปฏิบัติ

สําหรับบุคลากรของธนาคารออมสินโดยแบงเปน 3 ระดับ คือ
1. จรรยาบรรณของพนักงานธนาคารออมสิน
2. จรรยาบรรณของผูบริหารธนาคารออมสิน
3. จรรยาบรรณของคณะกรรมการธนาคารออมสิน
จรรยาบรรณของพนักงานธนาคารออมสิน ใหถือเปนพื้นฐานที่ผูบริหารและพนักงาน
ธนาคารออมสินจะตองยึดถือปฏิบัติผูบริหาร นอกจากจะตองปฏิบติตามจรรยาบรรณของ
ั
่
ผูบริหารแลวยังจะตองปฏิบัติตนเปนแบบอยางทีดีตามจรรยาบรรณของพนักงานดวย
พนักงานธนาคารออมสินทุกคนมีหนาที่ตองศึกษาและปฏิบติตามจรรยาบรรณอยางเครงครัด
ั
พนักงานที่ฝาฝนจรรยาบรรณหรือผูบังคับบัญชายินยอมใหผูใตบังคับบัญชาฝาฝน


จรรยาบรรณถือวาเปนผูฝาฝนจรรยาบรรณนั้นดวย จะถูกพิจารณาลงโทษทางวินัย ซึ่งอาจ
รวมถึงการชดใชความเสียหายทางแพงและโทษทางอาญาดวย
5
จรรยาบรรณของพนักงานธนาคารออมสิน
6 1. จรรยาบรรณพนักงานตอธนาคาร
ุ
(1) ปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสจริต เที่ยงธรรม มานะอดทน
8

(2) มีความรับผิดชอบตอการปฏิบัติหนาที่อยางเต็มกําลังความรูความสามารถของตน
โดยคํานึงถึงประโยชนสูงสุดของธนาคารไมใชโอกาสหรือใชตําแหนงหนาที่การงานแสวงหา
ผลประโยชนใหตนเองหรือผูอื่น ตลอดจนไมกระทําการใดๆ ที่จะท ำใหธนาคารสูญเสีย
ประโยชนหรือขัดแยงกับประโยชนของธนาคาร
(3) มีทัศนคติที่ดีและมีความภักดีตอธนาคาร รักษาชื่อเสียงและภาพลักษณของ

ธนาคาร โดยดํารงไวซึ่งชื่อเสียงอันดีงามของธนาคารไมใหรายหรือใหขอมูลขาวสารอันจะ
กอใหเกิดความเสื่อมเสียแกธนาคารชี้แจงและทําความเขาใจกับบุคคลภายนอก เพื่อรักษาไว
ซึ่งภาพลักษณที่ดีขององคกร
(4) หามรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดจากบุคคลอื่นซึ่งมิใชญาติในโอกาสตาม
ประเพณีนิยมที่มีราคาหรือมูลคาในการรับจากแตละบุคคลแตละโอกาสเกินสามพันบาท
(5) รักษาขอมูลหรือขาวสารของธนาคารที่ยังไมควรเปดเผยไวเปนความลับ และ
ไมใหขอมูลหรือขาวสารใดๆ ที่ผูมีอานาจยังไมอนุญาต
ํ
7
(6) ตระหนักถึงความปลอดภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศและการรักษาความ
ปลอดภัยของระบบขอมูลสารสนเทศของธนาคาร
(7) ใชและรักษาทรัพยสินของธนาคารใหไดประโยชนอยางเต็มที่และมีประสิทธิภาพ
และไมนําไปใชเพื่อประโยชนสวนตน รวมทั้งชวยกันดูแลทรัพยสิน สถานที่ทํางานใหเปน
ระเบียบและสะอาดอยูเสมอ
(8) เอาใจใสอยางจริงจังและเครงครัดตอกิจกรรมทั้งปวงที่จะเสริมสรางคุณภาพ
ประสิทธิภาพและการพัฒนาธนาคารไปสูความเปนเลิศ
(9) ยึดมั่นในหลักจรรยาบรรณวิชาชีพของธนาคาร
2. จรรยาบรรณพนักงานตอผูบริหาร
(1) ใหความเคารพ สุภาพ ออนนอม มีสัมมาคารวะตอผูบังคับบัญชา ปฏิบัติตาม
คําสั่งที่ชอบดวยกฎหมายและปฏิบัติงานตามลําดับบังคับบัญชา ยกเวนกรณีมีเหตุผลอัน
สมควร
(2) ไมรายงานเท็จหรือเสนอความเห็นที่ไมสุจริตตอผูบังคับบัญชา ตลอดจนไมกลาว

รายผูบริหารโดยปราศจากมูลความจริง
9

ระเบียบธนาคารออมสิน ฉบับที่ 491
วาดวยประมวลจริยธรรมธนาคารออมสิน
โดยที่ รัฐ ธรรมนู ญ แห งราชอาณาจักรไทย พุ ทธศักราช 2550 มาตรา 279 บั ญ ญั ติ ใหมี
ประมวลจริยธรรมเพื่อกําหนดมาตรฐานทางจริยธรรมของผูดํารงตํ าแหน งทางการเมื อ ง
ขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐแตละประเภท โดยใหมีกลไกและระบบในการบังคับใชอยางมี
ประสิทธิภาพ รวมทั้งกําหนดขั้นตอนการลงโทษตามความรายแรงแหงการกระทํา
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 14(4) แหงพระราชบัญญัติธนาคารออมสิน พ.ศ.
2489 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติธนาคารออมสิน (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2546 ประกอบ
มติคณะกรรมการธนาคารออมสิน ในการประชุมครั้งที่ 10/2555 เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2555
คณะกรรมการธนาคารออมสินจึงวางระเบียบไวดังตอไปนี้
ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบธนาคารออมสิน ฉบับที่ 491” วาดวยประมวล
จริยธรรมธนาคารออมสิน
ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศเปนตนไป
ขอ 3 ในระเบียบนี้
“ธนาคาร” หมายความวา ธนาคารออมสิน
“กรรมการ” หมายความวา กรรมการธนาคารออมสิน และใหหมายความรวมถึง
กรรมการซึ่งคณะกรรมการะนาคารออมสินไดแตงตั้งใหปฏิบัติหนาที่ใดหนาที่หนึ่งดวย
“ผูบริหาร” หมายความวา ผูอํานวยการ รองผูอํานวยการและพนักงานธนาคารออม
สิน ตั้งแตระดับผูชวยผูอํานวยการฝายหรือเทียบเทาขึ้นไป
“พนักงาน” หมายความวา พนักงานและลูกจางธนาคารออมสิน
ขอ 4 ใหประธานกรรมการธนาคารออมสินรักษาการตามระเบียบนี้
ในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ใหประธานกรรมการธนาคารออม
สินเปนผูวินิจฉัย เวนแตประธานกรรมการธนาคารออมสินเห็นวาปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติ
ตามระเบียบนี้ ควรนําสูการพิจารราของคณะกรรมการ ใหนําเสนอคณะกรรมการเพื่อวินิจฉัย
ชี้ขาด
คําวินิจฉัยชี้ขาดตามขอนี้ใหเปนที่สุด
หมวด 1
วัตถุประสงคของประมวลจริยธรรม
10

ขอ 5 ประมวลจริยธรรมนี้จัดทําขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ
(1) เปนเครื่องมือกํากับความประพฤติของผูปฎิบัติงานธนาคารออมสิน รวมทั้งเปน
เครื่องมือที่สรางความโปรงใสและมีมาตรฐานในการปฏิบัติงานที่ชัดเจนและเปนสากล
(2) ยึ ด ถื อ เป น หลั ก การแลแนวทางปฏิ บั ติ อ ย า งสม่ํ า เสมอ และเป น เครื่ อ งมื อ การ
ตรวจสอบการทํางานดานตางๆ ทั้งในระดับธนาคารและระดับบุคคล เพื่อใหการดําเนินงาน
เปนไปตามหลักคุณธรรมจริยธรรมอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
(3) ทําใหเกิดรูปแบบธนาคารอันเปนที่ยอมรับ เพิ่มความนาเชื่อถือ และเกิดความ
มั่นใจแกผูรับบริการและประชาชนทั่วไป ตลอดจนผูมีสวนไดสวนเสีย
(4) ทําใหเกิดพันธะผูกพันระหวางธนาคารและบุคคลในทุกระดับ ใหใชอํานาจใน
ขอบเขต และสรางระบบความรับผิดชอบตอตนเอง ตอผูบังคับบัญชาหรือผูใตบังคับบัญชา
ตอธนาคาร ตอประชาชนและตอสังคม ตามลําดับ
(5) ปองกันการแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ และความขัดแยงทางผลประโยชนที่อาจ
เกิดขึ้น รวมทั้งเสริมสรางความโปรงใสในการปฏิบัติงาน
(6) ใชเปนคานิยมรวมสําหรับธนาคารและบุคคล เพื่อยึดถือเปนแนวทางปฏิบัติควบคู
ไปกับกฎ ระเบียบ ประกาศและคําสั่งอื่นๆ
หมวด 2
มาตรฐานจริยธรรมอันเปนคานิยมหลัก
ขอ 6 กรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน มีหนาที่ปฏิบัติงานใหเปนไปตามกฎหมาย
ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ คําสั่ง แบบแผนและวิธีปฏิบัติของธนาคาร เพื่อรักษาประโยชน
ส ว นรวม เป น กลางทางการเมื อ ง อํ า นวยความสะดวกและให บ ริ ก ารแก ป ระชาชนตาม
หลั ก ธรรมมาภิ บ าล โดยจะต อ งยึ ด มั่ น ในมาตรฐานทางจริ ย ธรรมอั น เป น ค า นิ ย มหลั ก 9
ประการ ดังนี้
(1) การยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม
(2)การมีจิตสํานึกที่ดี มีความซื่อสัตย สุจริต และรับผิดชอบ
(3) การยึดถือประโยชนของประเทศชาติและธนาคารเหนือกวาประโยชนสวนตนและ
ไมมีผลประโยชนทับซอน หรือเอื้อประโยชนใหแกผูหนึ่งผูใดโดยไมชอบดวยกฎหมาย
(4) การยืนหยัดทําในสิ่งที่ถูกตอง เปนธรรม และถูกกฎหมาย
(5) การใหบริการ แกประชาชนดวยความรวดเร็ว มีอัธยาศัย และไมเลือกปฏิบัติ
(6) การให ข อ มู ล ข า วสารแก ป ระชาชนอย า งครบถ ว น ถู ก ต อ ง และไม บิ ด เบื อ น
ขอเท็จจริง
11

พระราชบัญญัตธนาคารออมสิน พ.ศ. 2489
ิ
ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมพลอดุลยเดช
ิ
คณะผูสําเร็จราชการแทนพระองค
รังสิต กรมขุนชัยนาทนเรนทร
พระยามานวราชเสวี
ใหไว ณ วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2489
เปนปที่ 1 ในรัชกาลปจจุบัน
โดยที่เปนการสมควรจัดตั้งธนาคารออมสินขึ้น เพื่อสงเสริมสวัสดิภาพแหง
สังคมในทางทรัพยสิน
พระมหากษั ต ริ ย โ ดยคํ า แนะนํ า และยิ น ยอมของรั ฐ สภาจึ ง มี พ ระบรมราช
โองการใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไว ดังตอไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติธนาคารออมสิน พ.ศ.
2489”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราช
กิจจานุเบกษาเปนตนไป
มาตรา 3 ให
ยกเลิกพระราชบัญญัติคลังออมสิน พุทธศักราช 2456
พระราชบัญญัติคลังออมสินแกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2472 พระราชบัญญัติคลังออมสิน
(ฉบับที่ 3) พุทธศักราช 2479 และบรรดากฎหมาย กฎ และขอบังคับอื่น ๆ ในสวนที่มี
บัญญัติไวแลวในพระราชบัญญัตินี้หรือซึ่งแยงกับบทแหงพระราช บัญญัติน้ี
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
“ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการธนาคารออมสิน
“รองผูอํานวยการ” หมายความวา รองผูอํานวยการธนาคารออมสิน
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการธนาคารออมสิน
มาตรา 5 ใหธนาคารออมสินไดรับการยกเวนไมตองเสียภาษีเงินได ภาษีโรง
คา ภาษีการธนาคาร การออมสินและอากรแสตมปตามประมวลรัษฎากร
มาตรา 6 ให รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัติ
นี้ และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงและขอบังคับเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
12

กฎกระทรวง และขอบังคับนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใช
บังคับได
หมวด 1
การจัดตั้งและดําเนินงาน
มาตรา 7 ใหจัดตั้งธนาคารออมสินขึ้นเพื่อประกอบธุรกิจ ดังตอไปนี้
1. รับฝากเงินออมสิน
2. ออกพันธบัตรออมสิน และสลากออมสิน
3. รับฝากเงินออมสินเพื่อสงเคราะหชีวิตและครอบครัว
4. ทําการรับจายและโอนเงิน
5. ซื้อหรือขายพันธบัตรรัฐบาลไทย
6. ลงทุนเพื่อแสวงหาผลประโยชนซึ่งรัฐมนตรีอนุญาต
7. การออมสินอื่น ๆ ตามที่จะมีพระราชกฤษฎีกากําหนดไว
8. กิจการอันพึงเปนงานธนาคาร ตามที่จะมีพระราชกฤษฎีกากําหนดไว ทั้งนี้
ใหประกอบไดตามขอกําหนดและเงื่อนไขที่กําหนดไวในกฎกระทรวง
มาตรา 8 ใหธนาคารออมสินเปนนิติบุคคล
มาตรา 9 ใหธนาคารออมสินตั้งสํานักงานแหงใหญในจังหวัดพระนครและจะ
ตั้งสาขาหรือตัวแทนขึ้น ณ ที่ใดในราชอาณาจักรก็ได
มาตรา 10 ใหโอนบรรดาทรัพยสิน สินทรัพย ความรับผิดและธุรกิจของคลัง
ออมสิน กรมไปรษณียโทรเลขใหแกธนาคารออมสินดําเนินกิจการตอไป
ใหรัฐมนตรีประกาศวันซึ่งไดโอนดังกลาวแลวในราชกิจจานุเบกษา
หมวด 2
การกํากับ ควบคุม และจัดการ
มาตรา 11 ให รั ฐ มนตรี มี อํ า นาจและหน า ที่ กํ า กั บ โดยทั่ ว ไปซึ่ ง กิ จ การของ
ธนาคารออมสิน
มาตรา 12 ให มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกวา “คณะกรรมการธนาคาร
ออมสิน” ประกอบดวยประธานกรรมการหนึ่งคน และกรรมการอื่นอีกไมนอยกวาหกคนแตไม
เกินสิบสามคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแตง ตั้ง และใหผูอํานวยการเปนกรรมการและเลขานุการ
มาตรา 12/1 ใหประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งอยูใน
ตําแหนงคราวละสามป
13

ใน กรณีที่ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งพนจาก
ตําแหนง
กอนวาระหรือในกรณีที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้งกรรมการเพิ่มขึ้นในระหวางที่
กรรมการซึ่งแตงตั้งไวแลวยังมีวาระอยูในตําแหนง ใหผูไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงแทน
หรือเปนกรรมการเพิ่มขึ้นอยูใน ตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของประธานกรรมการหรือ
กรรมการซึ่งไดแตงตั้ง ไวแลว
เมื่อ ครบกําหนดตามวาระดังกลาวในวรรคหนึ่ง หากยังมิไดมีการแตงตั้ง
ประธานกรรมการหรือกรรมการขึ้นใหม ใหประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งพนจาก
ตําแหนงตามวาระนั้น อยูในตําแหนงเพื่อดําเนินงานตอไปจนกวาประธานกรรมการหรือ
กรรมการซึ่งไดรับ แตงตั้งใหมเขารับหนาที่
ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งพนจากตําแหนงตามวาระอาจไดรับการ
แตงตั้งอีกไดแตไมเกินสองวาระติดตอกัน
มาตรา 12/2 ผู มี ลั ก ษณะอย า งหนึ่ ง อย า งใดดั ง ต อ ไปนี้ ต อ งห า มมิ ใ ห เ ป น
ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้ง
(1) เปนพนักงานหรือลูกจางของธนาคารออมสิน
(2) เปนกรรมการหรือดํารงตําแหนงใด ๆ ในธนาคารอื่น
(3) เปนหรือเคยเปนบุคคลลมละลาย
(4) เคยไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตในความผิด
อันไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(5) เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ
(6) เคยเปนกรรมการ ผูจัดการ รองผูจัดการ ผูชวยผูจัดการ ของธนาคาร
พาณิชย ที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต เวนแตจะไดรับยกเวนจากคณะรัฐมนตรี
(7) เปนผูมีมลทินมัวหมองวาทุจริตในสถาบันการเงินใด หรือบริหารงานใน
สถาบันการเงินใดผิดพลาดอยางรายแรง
มาตรา 12/3 นอกจากการพ น จากตํ า แหน ง ตามวาระตามมาตรา 12/1
ประธานกรรมการและกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งพนจากตําแหนง เมื่อ
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) คณะรัฐมนตรีใหออกเพราะบกพรองตอหนาที่หรือมีความประพฤติเสื่อม
เสียหรือหยอนความสามารถ
(4) มีลักษณะตองหามตามมาตรา 12/2
14

(5) ขาดการประชุมคณะกรรมการเกินกวาสามครั้งตอเนื่องกัน โดยไมมีเหตุ
อันสมควร
มาตรา 13 การ ประชุมคณะกรรมการ ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวา
กึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดจึงเปน องคประชุม ถาประธานกรรมการไมอยูในที่
ประชุมหรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเปน
ประธานในที่ประชุม
การ วินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุม ใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งใหมี
เสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีก
เสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด
มาตรา 14 ใหค ณะกรรมการมี อํ า นาจหน าที่ว างนโยบายและควบคุ ม ดู แ ล
โดยทั่วไป ซึ่งกิจการของธนาคารออมสิน อํานาจหนาที่เชนวานี้ใหรวมถึง
(1) แต ง ตั้ ง หรื อ ถอดถอนจากตํ า แหน ง และกํ า หนดอั ต ราเงิ น เดื อ นของ
ผูอํานวยการดวยความเห็นชอบของรัฐมนตรี
(2) ตั้งหรือเลิกสาขาและตัวแทน
(3) กําหนดขอบเขตทั่วไปและเงื่อนไขแหงธุรกิจประเภทตาง ๆ ตามมาตรา 7
(1) ถึง (7)
(4) กําหนดระเบียบและขอกําหนดของธนาคารออมสินเกี่ยวกับการบริหารและ
การดําเนินงาน
(5) เสนองบดุล ฐานะการเงิน และรายงานประจําปตามมาตรา 25 และมาตรา
26
(6) กําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขเกี่ยวกับการบรรจุ แตงตั้ง เลื่อนตําแหนง
หรือเงินเดือน ลงโทษทางวินัย หรือถอดถอนจากตําแหนงของพนักงาน
(7) เรียกประกันจากพนักงาน กําหนดเงินเดือน เงินบําเหน็จรางวัลหรือเงินอื่น
ของพนักงาน
มาตรา 15 ใหประธานกรรมการและกรรมการไดรับผลประโยชนตอบแทน
ตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด
ประธานกรรมการ กรรมการ ผูอํานวยการ พนักงานและลูกจาง อาจไดรับ
โบนัสตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกําหนด
15

แนวขอสอบพระราชบัญญัติธนาคารออมสิน พ.ศ. 2489
4. ผูรักษาการตาม พรบ.ออมสินคือใคร
ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง
ข. นายกรัฐมนตรี
ค. อธิบดีงบประมาณแผนดิน
ง. กรมบัญชีกลาง
ตอบ ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง
รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจออก
กฎกระทรวงและขอบังคับเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
5. ขอใดเปนวัตถุประสงคของธนาคารออมสิน
ก. ซื้อหรือขายพันธบัตรรัฐบาลไทย
ข. รับฝากเงินออมสิน
ค. ลงทุนเพื่อแสวงหาผลประโยชนซึ่งรัฐมนตรีอนุญาต
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
จัดตั้งธนาคารออมสินขึ้นเพื่อประกอบธุรกิจ ดังตอไปนี้
1. รับฝากเงินออมสิน
2. ออกพันธบัตรออมสิน และสลากออมสิน
3. รับฝากเงินออมสินเพื่อสงเคราะหชีวิตและครอบครัว
4. ทําการรับจายและโอนเงิน
5. ซื้อหรือขายพันธบัตรรัฐบาลไทย
6. ลงทุนเพื่อแสวงหาผลประโยชนซึ่งรัฐมนตรีอนุญาต
7. การออมสินอื่น ๆ ตามที่จะมีพระราชกฤษฎีกากําหนดไว
8. กิจการอันพึงเปนงานธนาคาร ตามที่จะมีพระราชกฤษฎีกากําหนดไว ทั้งนี้
ใหประกอบไดตามขอกําหนดและเงื่อนไขที่กําหนดไวในกฎกระทรวง
6. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ คณะกรรมการธนาคารออมสิน
ก. ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอื่นไมนอยกวา 3 คนไมเกิน 5 คน
ข. ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอื่นไมนอยกวา 5 คนไมเกิน 10 คน
ค. ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอื่นไมนอยกวา 6 คนไมเกิน 13 คน
ง. ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอื่นไมนอยกวา 9 คนไมเกิน 15 คน
16

ตอบ ค. ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอื่นไมนอยกวา 6 คนไมเกิน 13
คน
มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกวา “คณะกรรมการธนาคารออมสิน” ประกอบดวย
ประธานกรรมการหนึ่งคน และกรรมการอื่นอีกไมนอยกวาหกคนแตไมเกินสิบสามคนซึ่ง
คณะรัฐมนตรีแตงตั้ง และใหผูอํานวยการเปนกรรมการและเลขานุการ
7. วาระในการดํารงตําแหนงของคณะกรรมการธนาคารออมสินคือ
ก. 1 ป
ข. 2 ป
ค. 3 ป
ง. 4 ป
ตอบ ค. 3 ป
ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งอยูในตําแหนงคราวละสามป
8. ขอใดเปนขอหามของคณะกรรมการธนาคารออมสิน
ก. เปนพนักงานหรือลูกจางของธนาคารออมสิน
ข. เปนกรรมการหรือดํารงตําแหนงใด ๆ ในธนาคารอื่น
ค. เปนหรือเคยเปนบุคคลลมละลาย
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
ผูมีลักษณะอยางหนึ่งอยางใดดังตอไปนี้ ตองหามมิให เปนประธานกรรมการหรื อ
กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้ง
(1) เปนพนักงานหรือลูกจางของธนาคารออมสิน
(2) เปนกรรมการหรือดํารงตําแหนงใด ๆ ในธนาคารอื่น
(3) เปนหรือเคยเปนบุคคลลมละลาย
(4) เคยไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตในความผิด
อันไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(5) เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ
(6) เคยเปนกรรมการ ผูจัดการ รองผูจัดการ ผูชวยผูจัดการ ของธนาคาร
พาณิชย ที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต เวนแตจะไดรับยกเวนจากคณะรัฐมนตรี
(7) เปนผูมีมลทินมัวหมองวาทุจริตในสถาบันการเงินใด หรือบริหารงานใน
สถาบันการเงินใดผิดพลาดอยางรายแรง
17

อนุกรมหรือเลขเรียงลําดับ
เลขอนุกรม เปนการเรียงตัวเลข ตามกฎเกณฑโดยอาจจะเรียงเพิ่มขึ้นหรือลดลง หรือ
สลับกันไปก็ได ในการเรียงลําดับนั้นอาจจะเรียงลําดับแบบธรรมดาหลายชั้น หรือเชิงซอนก็ได
ในที่นี้พอจะแยกตามวิธีการ บวก ลบ คูณ หาร ไดดังนี้
วิธีบวก
จะมีการเพิ่มขึ้นแบบเทากัน แบบเรียงลําดับ หรือมีการเพิ่มแบบสลับซับซอน หรือ
สลับกันไปกับเรียงลําดับ
ตัวอยางที่ 1 จงหาตัวเลขถัดไปของ
5
10
วิธีคิด
พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู

15

5

?

?

10
+5

พบวา
นั่นคือ

15
+5

20
+5

+5

ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 5
ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 5
ตัวเลขถัดไป คือ 20 + 5 = 25

∴

ตัวอยางที่ 2 จงหาตัวเลขถัดไปของ
2
4
วิธีคิด
พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู
2

4
+2

พบวา
นั่นคือ
∴

20

6
+2

6
10

8
+2

+2

8

10

?
+2

ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 2
ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 2
ตัวเลขถัดไป คือ 10 + 2 = 12

?
18

ตัวอยางที่ 3 จงหาตัวเลขถัดไปของ
1
4
วิธีคิด
พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู
1

4
+3

พบวา
นั่นคือ

7
+3

7

+3

ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 3
ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 3
ตัวเลขถัดไป คือ 10 + 3 = 13

∴

ตัวอยางที่ 4 จงหาตัวเลขถัดไปของ
5
7
วิธีคิด
พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู
5

7
+2

พบวา
นั่นคือ

9
+2

9

+2

ตัวอยางที่ 5 จงหาตัวเลขถัดไปของ
1
2
วิธีคิด
พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู
1

2
+1

∴

?

?

11
+2

11

ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 2
ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 2
ตัวเลขถัดไป คือ 11 + 2 = 13

∴

พบวา
นั่นคือ

?

?

10
+3

10

4
+2

4
11

7
+3

+4

7

11

?

?
+5

ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นสะสมทีละ 1
ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นสะสมทีละ 1(เพิ่มขึ้นเทากับ 5)
ตัวเลขถัดไป คือ 11 + 5 = 16
19

แนวขอสอบ เรื่องอุปมาอุปไมย
ขอ 1

ขอ 2

ขอ 3

ขอ 4

กลองใสดินสอ : ปากกา
?:?
ก. ดินสอ : ยางลบ
ข. สมุด : กระดาษ
ค. กระเปาสตางค : เงิน
ง. สมุด : กระเปา
ตอบ
ค. กระเปาสตางค : เงิน
แนวคิด
กลองใสดินสอใสอุปกรณ ปากกา
เชนเดียวกับกระเปาสตางค ใสเงิน
?:?
หองนอน : เตียง
ก. เกาอี้ : โตะ
ข. มหาสมุทร : แมน้ํา
ค. แจกัน : โตะ
ง. ตู : เสื้อผา
ตอบ
ง. ตู : เสื้อผา
แนวคิด
เตียง วางไวในหองนอน
เสื้อผา ใสไวในตู
แจกัน : ดอกไม
?:?
ก. ตูไปรษณีย : จดหมาย
ข. เกสร : ผีเสื้อ
ค. ผูหญิง : เสื้อผา
ง. ทิชชู : ไมจิ้มฟน
ตอบ
ก. ตูไปรษณีย : จดหมาย
แนวคิด
ดอกไมใสไวในแจกัน
เชนเดียวกับ จดหมายใสในตูไปรษณีย
?:?
ขวดน้ํา : แกวน้ํา
ก. ดอกไม : เกสร
ข. หมอขาว : จาน
ค. เสื้อ : สตรี
ง. หมี : สวนสัตว
ตอบ
ข. หมอขาว : จาน
แนวคิด
แกวน้ําเปนภาชนะใสน้ํา
เชนเดียวกับจานเปนภาชนะใส
20

ตาราง กราฟ และแผนภูมิ
เทคนิคการทําขอสอบแบบตาราง
1. ใหยุบตัวเลขใหเหลือเพียง 2 หรือ 3 หลัก
2. ถาโจทยถามมากกวาหรือนอยกวาใหนาเลขมาลบกันกอนแลวคอยคํานวณตัวเลข
ํ
3. ถาโจทยใหหาชวงระหวางป และมีคําวาโดยเฉลี่ย ใหหารดวยจํานวนป
4. สูตรการคํานวณ ใหดูในเรื่องรอยละเปอรเซ็นต
คําสั่ง ในขอสอบจะประกอบดวยขอมูลชุดหนึ่งในรูปขอตารางและในแตละขอจะมีคําถามกับตัวเลือก 1
– 4 มาใหใหศึกษาขอมูลทีกําหนดแลวนําความรูที่ไดจากขอมูลดังกลาวมาพิจารณาตอบคําถาม
่
ตารางที่ 1 พื้นที่เพาะปลูกชนิดตางๆ แยกตามภาคป 2552
หนวย : ไร
ภาค
ขาวโพด
ยาสูบ
ถั่วเขียว
ขาวจาว
เหนือ
28,862
38,438
32,882
99,990
กลาง
34,280
42,495
28,889
126,440
ใต
28,975
32,735
36,250
94,123
ตะวันออกเฉียงเหนือ
27,364
31,295
33,330
94,789
1. ภาคใตมีพื้นทีเพาะปลูกยาสูบคิดเปนกี่เปอรเซ็นตของพื้นที่เพาะปลูกขาวจาว
่
1. 27 %
2. 35 %
3. 42 %
4. 63 %
2. ภาคใดมีพื้นที่การเพาะปลูกของพืชทุกชนิดรวมกันนอยที่สุด
1. ภาคเหนือ
2. ภาคกลาง
3. ภาคใต
4. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
3. พื้นที่การเพาะปลูกขาวจาวมากกวาพื้นทีการเพาะปลูกถั่วเขียวอยูรอยละเทาใด
่
1. รอยละ 97
2. รอยละ 117
3. รอยละ 217
4. รอยละ 317
4. พื้นที่การเพาะปลูกของภาคเหนือนอยกวาพื้นที่การเพาะปลูกของภาคกลางอยูรอยละเทาใด
1. รอยละ 13
2. รอยละ 17
3. รอยละ 24
4. รอยละ 32
5. พื้นที่การเพาะปลูกขาวจาวของภาคเหนือรวมภาคใตคิดเปนรอยละเทาใดของภาคกลาง
1. รอยละ 65
2. รอยละ 82
3. รอยละ 154
4. รอยละ 215
21
6. จากสถิติที่ผานมาพบวาพื้นที่การเพาะปลูกขาวจาว 1 ไร จะมีผลผลิต 0.45 ตัน และ
ประเทศไทยไดสงขาวจาวออกที่เปนผลผลิตป 2552 ไปจําหนายแลวจํานวน 150,000 ตัน
อยากทราบวายังเหลือขาวจาวที่จะใชบริโภคภายในประเทศคิดเปนปริมาณกี่ตัน
1. 26,750 ตัน
2. 36,750 ตัน
3. 136,750 ตัน
4. 236,750 ตัน
7. จากขอมูลขางตนขอใดกลาวถูกตอง
1. ผลผลิตในภาคกลางจะมากกวาทุกๆ ภาคเพราะมีพื้นที่เพาะปลูกมากที่สด
ุ
2. ภาคใตเปนภาคที่มีพื้นที่เพาะปลูกนอยกวาทุกๆ ภาค
3. พื้นที่เพาะปลูกขาวจาวมีมากกวารอยละ 50 ของพื้นที่การเพาะปลูกพืชทั้ง 4 ชนิด
4. ถาจัดเรียงพื้นที่เพาะปลูกจากมากไปหานอยจะไดดังนี้คือขาวจาว ถั่วเขียว ยาสูบและ
ขาวโพดตามลําดับ
8. สัดสวนของพืนที่เพาะปลูกขาวจาว : ขาวโพด : ยาสูบ ใกลเคียงกับขอใด
้
1. 17 : 5 : 6
2. 7 : 15 : 4
3. 13 : 8 : 7
4. 11 : 4 : 7
9. อัตราสวนของพื้นที่เพาะปลูกถั่วเขียวระหวางภาคเหนือกับภาคกลางใกลเคียงกับขอใด
1. 7 : 5
2. 8 : 7
3. 11 : 8
4. 5 : 3
10. จากขอมูลขางตนขอใดกลาวไมถูกตอง
1. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่เพาะปลูกขาวจาวมากกวาพื้นทีเพาะปลูกขาวโพดอยู
่
ประมาณรอยละ 250
2. ภาคใตมีพื้นที่เพาะปลูกขาวโพดนอยกวาพื้นที่เพาะปลูกขาวจาวอยูประมาณรอยละ 225
3. อัตราสวนระหวางพื้นที่เพาะปลูกขาวจาวกับพื้นที่เพาะปลูกถัวเขียวมีคาประมาณ 3 : 1
่
4. ถาจัดเรียงพื้นที่เพาะปลูกจากมากไปหานอยจะไดดังนี้คือขาวจาว ยาสูบ ถั่วเขียวและ
ขาวโพดตามลําดับ
ตารางที่ 2 พื้นที่เพาะปลูกและผลผลิตขาวนาปกับขาวนาปรัง
ป

2548
2549
2550
2551
2552
รวม

พื้นที่เพาะปลูก ( 1,000 ไร )
ขาวนาป
ขาวนาปรัง

ผลผลิต ( 1,000 ตัน )
ขาวนาป
ขาวนาปรัง

47,849
53,198
50,920
53,554
59,378
264,999

12,398
14,132
13,743
12,295
15,196
67,764

2,120
2,378
2,673
3,039
4,275
14,485

925
1,198
1,413
1,606
2,295
7,437
22

แบบทดสอบเรื่อง การเรียงลําดับขอความและเขียนประโยค
ใหถูกตองตามหลักภาษา
คําสั่ง จงพิจารณาคําตอบที่ถูกตองทีสุด
่
1. ขอความตอไปนี้ควรจัดเรียงลําดับตามขอใดจึงจะไดความสมบูรณ
(1) ดอกแตงโมออนรวมกับผักอื่นๆ นํามาแกงเลียง
(2) ยอดแตงโมออนคนมักเก็บมาตมกับกะทิจิ้มน้ําพริกกิน
(3) ผลออนเขาก็เอามาแกงสมใชเนื้อทั้งเมล็ดอรอยมาก
(4) ผลแกนั้นใชรบประทาน เนื้อหวานเย็น ชุมคอชื่นใจดี
ั
1. (1) – (2) – (3) – (4)
2. (1) – (3) – (4) – (2)
3. (2) – (1) – (3) – (4)
4. (2) – (3) – (4) – (1)
2. ขอใดเรียงลําดับขอความไดเหมาะสม
(1) ดังหลักฐานภาพแกะสลักบนแผนหินที่ปราสาทนครธมกัมพูชา
(2) การนําวัวควายมาใชแรงงานเกิดขึ้นไมนอยกวาหาพันปมาแลว
(3) หากไมมีวัวควายมาลากไถ ก็คงจะไมมีใครคิดถึงการใชแรงงานอื่นๆ
(4) การใชแรงงานวัวควายจึงเปนจุดเปลี่ยนของพัฒนาการดานแรงงาน
1. (4) – (3) – (2) – (1)
2. (1) – (2) – (4) – (3)
3. (2) – (1) – (3) – (4)
4. (3) – (2) – (1) – (4)
3. ขอใดเรียงลําดับขอความไดเหมาะสม
(1) กําแพงทั่วไปที่ใชปองกันเสียงมักเปนกําแพงคอนกรีตสูง 12 ฟุต
(2) ทางดวนจะตองสรางกําแพงปองกันเสียงที่มีความดังมากกวา 67 เดซิเบลขึ้นไป
(3) เพราะเมื่อเสียงผานขึ้นไปถึงยอดกําแพง มักจะกระทบขอบและกระจายตัวออกเปนเสียงดัง
ขามกําแพงไปได
(4) แตแมจะสรางกําแพงสูงอยางนั้น กําแพงก็จะปองกันเสียงไดเพียง 10 เดซิเบล
1. (1) – (2) – (3) – (4)
2. (1) – (3) – (4) – (2)
3. (2) – (3) – (1) – (4)
23
4. (2) – (1) – (4) – (3)
4. ขอใดเรียงลําดับขอความไดเหมาะสม
(1) ผูปวยเปนตอหินจะมีอาการตามัว สูญเสียลานสายตา
(2) การรักษาตอหินอาจใชยาหยอดตาและยารับประทาน
(3) ตอหินเกิดจากความดันในสายตาเพิ่มสูงขึ้นจนทําลายประสาทตา
(4) ถาเปนตอหินชนิดรุนแรงจะปวดตา ปวดศีรษะมากและคลื่นไสอาเจียน
(5) ผูที่เปนตอหินบางรายอาจจําเปนตองรักษาโดยแสงเลเซอรหรือโดยการผาตัด
1. (3) – (1) – (2) – (4) – (5)
2. (1) – (2) – (5) – (3) – (4)
3. (3) – (1) – (4) – (2) – (5)
4. (1) – (3) – (4) – (2) – (5)
5. ขอใดเรียงลําดับขอความไดเหมาะสม
(1) อินเดียมีสิ่งมหัศจรรยถึงสองสิ่งคือปราสาททัชมาฮาลและมหาตมะคานธี
(2) บางคนบอกวาอินเดียมิไดมีสิ่งมหัศจรรยอยางเดียวเทานั้น
(3) ทั้งสองสิ่งนี้นับวาเปนสิ่งมหัศจรรยของโลกตามที่เขาวาจริงๆ
(4) อินเดียมีสิ่งมหัศจรรยอยูอยางหนึ่งคือปราสาททัชมาฮาล
1. (4) – (2) – (1) – (3)
2. (2) – (1) – (3) – (4)
3. (3) – (1) – (4) – (2)
4. (1) – (3) – (2) – (4)
6. ขอความตอไปนี้ขอใดเรียงลําดับไดเหมาะสม
(1) แตที่รุนแรงทีสุดือจังหวัดชุมพร
่
(2) เมื่อสองเดือนกอนมีน้ําทวมในหลายจังหวัด
(3) จึงกอใหเกิดความเสียหายอยางมหาศาล
(4) ทั้งๆ ที่ยังไมถงเวลาที่มใตฝนและพายุโซนรอน
ึ
ี ุ
(5) ฝนตกหนักติดตอกันหลายวัน
1. (2) – (5) – (3) – (1) – (4)
2. (5) – (4) – (3) – (2) – (1)
3. (2) – (1) – (5) – (4) – (3)
24

แบบทดสอบการอานบทความ
1. “ ปะการังเปนแหลงพักพิงของปลา แตปจจุบันถูกพอคาปลาตูทําลายโดยวิธีฉีดพนยาสลบไป
ตามคอปะการังเพื่อจับปลาสีสวยๆ ไปขาย มีผลทําใหปะการังตายไปดวย เมื่อปะการังตาย
ปลาเล็กปลานอยซึ่งเปนอาหารของปลาใหญก็ถูกทําลาย ปะการังเปรียบเสมือนหมอขาวของ
ชาวประมง การทําลายปะการังจึงเทากับเปนการทุบหมอขาวของชาวประมงจํานวนมาก ” ขอ
ใดคือจุดประสงคสําคัญของผูเขียนขอความนี้
ก. ใหความรูเกี่ยวกับวงจรสิ่งมีชีวิตในทะเล
ข. ใหคนไทยตระหนักถึงคุณคาของปะการัง
ค. สรางจิตสํานึกเรื่องการอนุรักษพันธุปลาทะเล ง. รณรงคตอตานการจําหนายและเลี้ยงปลาตู

2. จากขอความในขอ 1. ขอใดคือผลของการ “ ทุบหมอขาว ”
ก. แหลงทํามาหากินมีจํานวนนอยลง
ข. ปลาสีสวยๆ มีจํานวนนอยลง
ค. ปะการังมีจํานวนนอยลง
ง. ปลาเล็กปลานอยมีจํานวนนอยลง
จงอานขอความตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 3 – 5
“ ทานตองรูวาคนในโลกนี้สวนมากเขามีกเลสคือ ความโลภ โกรธ และหลง ดังนั้น


ิ
บางทีเขาก็คิดถูกและทําถูก บางทีเขาก็คดผิดและทําผิด บางทีก็โง บางทีก็ฉลาด
ิ
เพราะฉะนั้นทานจะตองใหอภัยเขา คอยๆ พูดกับเขาไมดาวารุนแรงกับเขา ทานตองใชปญญา
ของทานเขาไปสอนเขาไปชักจูงเขาใหเดินในทางที่ถูก นี่คือหนาที่ของผูมีปญญาที่จะเขาไปยุง
่
เกี่ยวกับคนโงที่มีอยูในโลกนี้เปนจํานวนมากมายมหาศาล ผลทีไดรับก็คือทานจะเปนคนที่มี
จิตใจเยือกเย็นและนาเคารพกราบไหวของคนทั่วไป โดยเฉพาะอยางยิ่งทานจะไมเปนทุกขรอน
เลย แมวาจะพบเห็นหรือเกี่ยวของกับคนมากมายหลายประเภทในโลกนี้อยูเสมอ ”
3. ขอความนี้มีสาระสําคัญตามขอใด
ก. คนสวนมากในโลกนี้เขามีกเลส
ิ
ข. ทานตองใหอภัยเขา คอยๆ พูดกับเขา
ค. ทานตองใชปญญาของทานเขาไปสอนเขาไปชักจูงเขาใหเดินในทางที่ถูก

ง. ทานจะเปนคนที่มีจิตใจเยือกเย็นและนาเคารพกราบไหวของคนทัวไป
่
4. จากขอความนี้การที่เราเกียวของกับคนในโลกมากมายจําเปนจะตองมีสวนใดเปนขอสําคัญ
่
ก. คนสวนมากมีกิเลส
ข. ใชปญญา
ค. มีจิตใจเยือกเย็น
ง. ใหอภัย
25

สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740

More Related Content

More from บ.ชีทราม จก.

คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นบ.ชีทราม จก.
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

More from บ.ชีทราม จก. (9)

คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

คู่มือเตรียมสอบธนาคารออมสิน แนวข้อสอบธนาคารออมสิน ข้อสอบออมสิน E-BOOK

  • 1. 1
  • 2. 2 ขอบเขตเนื้อหา ความรูทั่วไปเกี่ยวกับธนาคารออมสิน ความรูทั่วไปเกี่ยวกับธนาคารออมสิน ประวัติธนาคารออมสิน การเปดเผยขอมูลสารสนเทศและความโปรงใส จรรยาบรรณ ระเบียบธนาคารออมสินวาดวยประมวลจริยธรรมะนาคารออมสิน พรบ.ธนาคารออมสิน แนวขอสอบ พรบ.ธนาคารออมสิน 5 5 9 10 18 23 31 อนุกรมหรือเลขเรียงลําดับ วิธีบวก วิธีลบ วิธีคูณ วิธียกกําลัง วิธีหาร เงื่อนไขภาษา อุปมาอุปไมย ความสัมพันธในลักษณะเปนสวนหนึ่งของสิ่งหนึ่ง ความสัมพันธในลักษณะมีความหมายเหมือนกัน / ตรงขาม ความสัมพันธในลักษณะหนาที่ ความสัมพันธในลักษณะสิ่งของประเภทเดียวกัน ความสัมพันธในลักษณะสถานที่ ความสัมพันธในเรื่องของลักษณะนาม เงื่อนไขสัญลักษณ แนวขอสอบ เงื่อนไขสัญลักษณ แนวขอสอบ เรื่องอนุกรม แนวขอสอบ เรื่องอุปมาอุปไมย คณิตศาสตรทั่วไป การหาผลบวกของเลขหลายจํานวนเรียงกัน การหาอัตราสวนและรอยละ ดอกเบี้ย การคํานวณระยะหางระหวางเสา การแจกบัตรอวยพรและการสัมผัสมือ การแปรผันตรงและการแปรผกผัน การแกสมการ การคํานวณเกี่ยวกับขาและหัวของสัตว คาเฉลี่ย การหา ครน. และหรม. ความสามารถทางดานเหตุผล การคํานวณหาพื้นที่และปริมาตร การวิเคราะหสรุปเหตุผลทางโอเปอรเรต ตาราง กราฟและแผนภูมิ แบบทดสอบการอานขอมูลจากตาราง 37 37 42 46 50 58 65 83 83 84 86 87 88 89 91 96 208 227 238 238 240 242 244 246 250 255 255 262 265 267 271 274 275 281 ความสามารถเชิงคณิตศาสตร
  • 3. 3 ความสามารถทางดานภาษา การใชคํา การใชคําราชาศัพท การสรุปใจความ สํานวน สุภาษิต คําพังเพย การเขียนสะกดการันต ประโยค ลักษณะภาษา การใชภาษา คําเปนคําตาย คําเชื่อม การสะกดคํา กการเขียนภาษาใหถูกตอง การเรียงประโยค บทความสั้น บทความยาว แนวขอสอบภาษาไทย 287 290 300 306 311 312 314 315 338 341 346 351 375 381 387 392 ภาษาอังกฤษ (English Language Test) ความรูพื้นฐาน ลักษณะของคํานาม Determinier คําสรรพนาม คําคุณศัพท กริยาชวย แนวขอสอบ Grammar and Vocabulary แนวขอสอบ Vocubulary แนวขอสอบ Reading Comprehension แนวขอสอบ กริยารูป Tense แนวขอสอบ การใช Gerund & Infinitive แนวขอสอบ การใชกริยาชวย แนวขอสอบ Adjective Clauses แนวขอสอบ Reduced Adjective Clauses แนวขอสอบ Subjunctive แนวขอสอบ If - clause 406 406 412 417 422 426 428 434 438 438 446 448 462 468 473 476 บุคลิกภาพกับการเลือกอาชีพ แบบทดสอบลักษณะนิสัย 486 476 แบบทดสอบลักษณะนิสัย (Personality Test)
  • 4. 4 ความรูทั่วไปเกียวกับธนาคารอ น  กี่ ธ ออมสิ ติ ออมสิ ประวัติธนาคารอ น “แบงคลฟ ย” ตน ฟอเที นแบบการอ ี ออม พระบาทสม จพระมง ฎเกลาเจาอยู หัว รัชกาลที่ 6 ทรงเห็นคุณ มเด็ งกุ จ ณประโยชนของการ ออมทรัพย เพื่อใหป ประชาชนรูจกการประหยัด การเก็บออม มีสถานที่เก็บรักษา จั ก็ ทรัพยสินเงินทองของป งิ ประชาชน ใ ปลอดภัยจากโจรผูราย จึงทรง ริเริ่มจัดตั้งคลังออม ให ย ค สินทดลองขึ้น โดยทร ขึ รงพระราชท ทานนามแบ วา “ลีฟอเทีย” ในป พ.ศ 2450 บงค ลี ศ. เพื่อ ทรงใ ศึกษาและสํารวจนิสัยคนไทยใน ใช สั นการออมเบื้องตน พร ทรงเ าใจใน บื ระองค เข ราษฎรของ งพระองคและทรงทรา วาควรใ าบดี ใช กุศโลบายใดอัน งใจคน นจะจู นไทยให มองเห็นคว าคัญของการออมวามสํ กําเนิด ธนาคารอ น ออมสิ คลังออมสิน สังกัดกรม มพระคลังมห หาสมบัติ กระทรวงพ งมหา ติ พ.ศ 2456 – 2471 พระคลั าสมบั ศ. 2 เพื่อใหคลังออมสินไดเ นประโยช เกื้อกูลเผื่อแผไปถึงร เป ชน ผื ราษฎรโดยท่วกัน ทั พระองคจึงไดทรงพระกรุณาโปรด าฯ ใหดําเนินการจัดตัง “คลัง ดเกล ด จั ้ งออมสิน” ขึ้นในสังกัด กรมพระค งมหาสมบติ กระทรว คลั บั วงพระคลังม มหาสมบัติ และพระราช ชทาน พระบรมรา ญาตประกาศใช “ าชานุ “พระราชบััญญัติคลังอ น ออมสิ พ.ศ. 2456” ประกาศใ ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2456 ใช พ
  • 5. 5 เติบโต อยางรุดห า หน กองคลังออ น สังกัด อมสิ ดกรมไปรษณยโทรเลข กระทรวงพ ชยและ ณี พาณิ ะคมนาคม พ.ศ. 2472 - 2489 ตอมาในป พ.ศ. 2472 พระบาทส จพระปกเกลาเจาอ หัว รัชกา ่ 7 ทรงมี สมเด็ อยู าลที มี พระราชดําริิเห็นควรโอ จการคลังออมสินใหไปอยูในค บผิดชอบของกร อนกิ ใ ความรั รม ไปรษณียโท ทรเลข กิจก เริ่มแพ หลายแล เปนที่นิย การได พร ละ ยมของประช ชาชนอยาง กวางขวาง ซึ่งนับไดวา จการคลังออมสินใน วงระยะนี้เติบโตขึ้นม จึงเรียกไดวา ากิ ั นช มาก ก เปน น รคลั สิ " "ยุคแหงความกาวหนาของการ งออมสินแหงประเทศไทย" รากฐานความ มั่นคง ั ธนาคารออ น สังกัด อมสิ ดกระทรวงก ง พ.ศ 2490 – ปจจุบัน การคลั ศ. ป ตอมาภายห งเมื่อสงค หลั ครามโลกครังที่ 2 ยุติลง รัฐบาลไดเห็นถึงคุณ รั้ ด ณประโยชน ของการ ข ออมทรัพยและความสํ ญของ ค งออมสินทีมตอการพัฒนาประเท จึงไดยกฐานะ สาคั คลั ่ ี พั ทศ ก ของคลังออ นขึ้นเปน การของรัฐ มีฐาน นนิติบุคคล ดําเนิน รกิจภายใต อมสิ นองค นะเป นธุ “พระราชบัญญัติธนา บั าคารออมสิน พ.ศ. 24 สิ 489” มี การบริหารงานโดยอิสระ ภายใ การควบคมของคณะ อิ ใต คุ ะกรรมการ ซ่งไดรับการ ซึ แตงตั้งจาก รัฐมนตรีวา ก าการกระทร  รวงการคลัง เริ่มดําเนิน รกิจในรูป นธุ ปธนาคาร ออมสิน อ ตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2490 และคําวา “คลัังออมสิน” ก็ไดเปลี่ยน เปนคําวา น “ธนาคารอ น” นับแตบัดนั้น นตนมา ออมสิ นเป
  • 6. 6 การเปดเผยขอมูลสารสนเทศและความโปรงใส ธนาคารไดเปดเผยขอมูลที่สําคัญ ถูกตอง แมนยา เพื่อใหผูมีสวนไดเสียใช ประกอบการตัดสินใจ การเปดเผยขอมูลเปนดัชนีชี้วัดความโปรงใสในการดาเนินการตัวหนึ่ง ซึ่งเปนปจจัยสําคัญในการสรางความเชื่อมั่น แกผูมีสวนไดเสียทุกฝายของธนาคารถึงความ ซื่อสัตยในการดาเนินงาน และเปนกลไกในการตรวจสอบ การดาเนินการ ธนาคารจึงให ความสําคัญกับการเปดเผยขอมูลเปนอยางมาก และพยายามเพิ่มชองทางในการเผยแพร ขอมูลตลอดเวลา นอกจากนั้น ในฐานะที่ธนาคารออมสินเปนรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงการคลัง และ เปนหนวยงานของรัฐตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ไดดาเนิน การเกี่ยวกับขอมูลขาวสารของธนาคาร สูสาธารณะ เพื่อใหเกิดประโยชนแกประชาชนและผู มีสวนไดเสียในการเขาถึงขอมูลขาวสารของธนาคาร 1. การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจาง ธนาคารไดเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจางไวบนระบบอินเทอรเน็ท ซึ่ง ประกอบดวยประกาศจัดซื้อ จัดจาง ประกาศราง TOR ประกาศผลการประกวดราคา ประกาศขาย ประกาศขายทอดตลาด เพื่ออานวยความสะดวกใหแกสาธารณชนในการสืบคน ขอมูลขาวสารการจัดซื้อจัดจางของธนาคาร 2. การเปดเผยขอมูลของธนาคารและขอมูลของลูกคาแกหนวยงานและ บุคคลภายนอกที่รองขอ ธนาคารไดใหความรวมมือกับหนวยงานที่มีอํานาจตามกฎหมายในการขอตรวจสอบ ขอมูลหรือเรียกเอกสารหลักฐาน หรือขอใหพนักงานธนาคารไปใหปากคาในฐานะพยาน บุคคล ไดแก สานักงานการตรวจเงินแผนดิน ธนาคารแหงประเทศไทย กระทรวงการคลัง สา นักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย สานักงานคณะกรรมการปองกัน และปราบปรามการทุจริตแหงชาติ สานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน ศาล กรม บังคับคดี กรมสรรพากร กรมสอบสวนคดีพิเศษ สานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค เปนตน โดยธนาคารจะใหขอมูลภายใตขอบังคับของกฎหมายและหลักการพิจารณาของ ธนาคาร
  • 7. 7 จรรยาบรรณของคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน จรรยาบรรณของคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน เพื่อใชเปนแนวทางในการ ประพฤติปฏิบัติของคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานตอผูมีสวนไดสวนเสียทุกกลุมของ ธนาคาร ไดแก ภาครัฐ ธนาคารผูบริหาร พนักงาน ผูรวมงาน ตนเอง ลูกคาและประชาชน คู คา คูแขงตลอดจนสังคมสวนรวม “จริยธรรม” หมายถึง ประมวลความประพฤติ หรือกิริยาที่ควรประพฤติที่สอดคลอง กับความถูกตองดีงามตามวัฒนธรรมประเพณีอนดีงาม และหลักศาสนาสําหรับบุคลากรของ ั ธนาคารออมสิน “จรรยาบรรณ” หมายถึง ประมวลความประพฤติอันเหมาะสมกับวิชาชีพ แสดงถึง จริยธรรมในการปฏิบัติงานสําหรับใหพนักงานผูบริหาร และคณะกรรมการธนาคารออมสิน พึงปฏิบัติเพือรักษาชือเสียงและสงเสริมเกียรติคณของธนาคารออมสิน อันจะสงผลให ผู ่ ่ ุ ประพฤติเปนที่เลื่อมใสศรัทธา และยกยองของบุคคลโดยทั่วไป 4 ธนาคารออมสินไดกําหนดจรรยาบรรณตอผูมีสวนไดสวนเสียทุกกลุม เพื่อเปนหลักปฏิบัติ  สําหรับบุคลากรของธนาคารออมสินโดยแบงเปน 3 ระดับ คือ 1. จรรยาบรรณของพนักงานธนาคารออมสิน 2. จรรยาบรรณของผูบริหารธนาคารออมสิน 3. จรรยาบรรณของคณะกรรมการธนาคารออมสิน จรรยาบรรณของพนักงานธนาคารออมสิน ใหถือเปนพื้นฐานที่ผูบริหารและพนักงาน ธนาคารออมสินจะตองยึดถือปฏิบัติผูบริหาร นอกจากจะตองปฏิบติตามจรรยาบรรณของ ั ่ ผูบริหารแลวยังจะตองปฏิบัติตนเปนแบบอยางทีดีตามจรรยาบรรณของพนักงานดวย พนักงานธนาคารออมสินทุกคนมีหนาที่ตองศึกษาและปฏิบติตามจรรยาบรรณอยางเครงครัด ั พนักงานที่ฝาฝนจรรยาบรรณหรือผูบังคับบัญชายินยอมใหผูใตบังคับบัญชาฝาฝน   จรรยาบรรณถือวาเปนผูฝาฝนจรรยาบรรณนั้นดวย จะถูกพิจารณาลงโทษทางวินัย ซึ่งอาจ รวมถึงการชดใชความเสียหายทางแพงและโทษทางอาญาดวย 5 จรรยาบรรณของพนักงานธนาคารออมสิน 6 1. จรรยาบรรณพนักงานตอธนาคาร ุ (1) ปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสจริต เที่ยงธรรม มานะอดทน
  • 8. 8 (2) มีความรับผิดชอบตอการปฏิบัติหนาที่อยางเต็มกําลังความรูความสามารถของตน โดยคํานึงถึงประโยชนสูงสุดของธนาคารไมใชโอกาสหรือใชตําแหนงหนาที่การงานแสวงหา ผลประโยชนใหตนเองหรือผูอื่น ตลอดจนไมกระทําการใดๆ ที่จะท ำใหธนาคารสูญเสีย ประโยชนหรือขัดแยงกับประโยชนของธนาคาร (3) มีทัศนคติที่ดีและมีความภักดีตอธนาคาร รักษาชื่อเสียงและภาพลักษณของ  ธนาคาร โดยดํารงไวซึ่งชื่อเสียงอันดีงามของธนาคารไมใหรายหรือใหขอมูลขาวสารอันจะ กอใหเกิดความเสื่อมเสียแกธนาคารชี้แจงและทําความเขาใจกับบุคคลภายนอก เพื่อรักษาไว ซึ่งภาพลักษณที่ดีขององคกร (4) หามรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดจากบุคคลอื่นซึ่งมิใชญาติในโอกาสตาม ประเพณีนิยมที่มีราคาหรือมูลคาในการรับจากแตละบุคคลแตละโอกาสเกินสามพันบาท (5) รักษาขอมูลหรือขาวสารของธนาคารที่ยังไมควรเปดเผยไวเปนความลับ และ ไมใหขอมูลหรือขาวสารใดๆ ที่ผูมีอานาจยังไมอนุญาต ํ 7 (6) ตระหนักถึงความปลอดภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศและการรักษาความ ปลอดภัยของระบบขอมูลสารสนเทศของธนาคาร (7) ใชและรักษาทรัพยสินของธนาคารใหไดประโยชนอยางเต็มที่และมีประสิทธิภาพ และไมนําไปใชเพื่อประโยชนสวนตน รวมทั้งชวยกันดูแลทรัพยสิน สถานที่ทํางานใหเปน ระเบียบและสะอาดอยูเสมอ (8) เอาใจใสอยางจริงจังและเครงครัดตอกิจกรรมทั้งปวงที่จะเสริมสรางคุณภาพ ประสิทธิภาพและการพัฒนาธนาคารไปสูความเปนเลิศ (9) ยึดมั่นในหลักจรรยาบรรณวิชาชีพของธนาคาร 2. จรรยาบรรณพนักงานตอผูบริหาร (1) ใหความเคารพ สุภาพ ออนนอม มีสัมมาคารวะตอผูบังคับบัญชา ปฏิบัติตาม คําสั่งที่ชอบดวยกฎหมายและปฏิบัติงานตามลําดับบังคับบัญชา ยกเวนกรณีมีเหตุผลอัน สมควร (2) ไมรายงานเท็จหรือเสนอความเห็นที่ไมสุจริตตอผูบังคับบัญชา ตลอดจนไมกลาว  รายผูบริหารโดยปราศจากมูลความจริง
  • 9. 9 ระเบียบธนาคารออมสิน ฉบับที่ 491 วาดวยประมวลจริยธรรมธนาคารออมสิน โดยที่ รัฐ ธรรมนู ญ แห งราชอาณาจักรไทย พุ ทธศักราช 2550 มาตรา 279 บั ญ ญั ติ ใหมี ประมวลจริยธรรมเพื่อกําหนดมาตรฐานทางจริยธรรมของผูดํารงตํ าแหน งทางการเมื อ ง ขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐแตละประเภท โดยใหมีกลไกและระบบในการบังคับใชอยางมี ประสิทธิภาพ รวมทั้งกําหนดขั้นตอนการลงโทษตามความรายแรงแหงการกระทํา อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 14(4) แหงพระราชบัญญัติธนาคารออมสิน พ.ศ. 2489 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติธนาคารออมสิน (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2546 ประกอบ มติคณะกรรมการธนาคารออมสิน ในการประชุมครั้งที่ 10/2555 เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2555 คณะกรรมการธนาคารออมสินจึงวางระเบียบไวดังตอไปนี้ ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบธนาคารออมสิน ฉบับที่ 491” วาดวยประมวล จริยธรรมธนาคารออมสิน ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศเปนตนไป ขอ 3 ในระเบียบนี้ “ธนาคาร” หมายความวา ธนาคารออมสิน “กรรมการ” หมายความวา กรรมการธนาคารออมสิน และใหหมายความรวมถึง กรรมการซึ่งคณะกรรมการะนาคารออมสินไดแตงตั้งใหปฏิบัติหนาที่ใดหนาที่หนึ่งดวย “ผูบริหาร” หมายความวา ผูอํานวยการ รองผูอํานวยการและพนักงานธนาคารออม สิน ตั้งแตระดับผูชวยผูอํานวยการฝายหรือเทียบเทาขึ้นไป “พนักงาน” หมายความวา พนักงานและลูกจางธนาคารออมสิน ขอ 4 ใหประธานกรรมการธนาคารออมสินรักษาการตามระเบียบนี้ ในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ใหประธานกรรมการธนาคารออม สินเปนผูวินิจฉัย เวนแตประธานกรรมการธนาคารออมสินเห็นวาปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติ ตามระเบียบนี้ ควรนําสูการพิจารราของคณะกรรมการ ใหนําเสนอคณะกรรมการเพื่อวินิจฉัย ชี้ขาด คําวินิจฉัยชี้ขาดตามขอนี้ใหเปนที่สุด หมวด 1 วัตถุประสงคของประมวลจริยธรรม
  • 10. 10 ขอ 5 ประมวลจริยธรรมนี้จัดทําขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ (1) เปนเครื่องมือกํากับความประพฤติของผูปฎิบัติงานธนาคารออมสิน รวมทั้งเปน เครื่องมือที่สรางความโปรงใสและมีมาตรฐานในการปฏิบัติงานที่ชัดเจนและเปนสากล (2) ยึ ด ถื อ เป น หลั ก การแลแนวทางปฏิ บั ติ อ ย า งสม่ํ า เสมอ และเป น เครื่ อ งมื อ การ ตรวจสอบการทํางานดานตางๆ ทั้งในระดับธนาคารและระดับบุคคล เพื่อใหการดําเนินงาน เปนไปตามหลักคุณธรรมจริยธรรมอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (3) ทําใหเกิดรูปแบบธนาคารอันเปนที่ยอมรับ เพิ่มความนาเชื่อถือ และเกิดความ มั่นใจแกผูรับบริการและประชาชนทั่วไป ตลอดจนผูมีสวนไดสวนเสีย (4) ทําใหเกิดพันธะผูกพันระหวางธนาคารและบุคคลในทุกระดับ ใหใชอํานาจใน ขอบเขต และสรางระบบความรับผิดชอบตอตนเอง ตอผูบังคับบัญชาหรือผูใตบังคับบัญชา ตอธนาคาร ตอประชาชนและตอสังคม ตามลําดับ (5) ปองกันการแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ และความขัดแยงทางผลประโยชนที่อาจ เกิดขึ้น รวมทั้งเสริมสรางความโปรงใสในการปฏิบัติงาน (6) ใชเปนคานิยมรวมสําหรับธนาคารและบุคคล เพื่อยึดถือเปนแนวทางปฏิบัติควบคู ไปกับกฎ ระเบียบ ประกาศและคําสั่งอื่นๆ หมวด 2 มาตรฐานจริยธรรมอันเปนคานิยมหลัก ขอ 6 กรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน มีหนาที่ปฏิบัติงานใหเปนไปตามกฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ คําสั่ง แบบแผนและวิธีปฏิบัติของธนาคาร เพื่อรักษาประโยชน ส ว นรวม เป น กลางทางการเมื อ ง อํ า นวยความสะดวกและให บ ริ ก ารแก ป ระชาชนตาม หลั ก ธรรมมาภิ บ าล โดยจะต อ งยึ ด มั่ น ในมาตรฐานทางจริ ย ธรรมอั น เป น ค า นิ ย มหลั ก 9 ประการ ดังนี้ (1) การยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม (2)การมีจิตสํานึกที่ดี มีความซื่อสัตย สุจริต และรับผิดชอบ (3) การยึดถือประโยชนของประเทศชาติและธนาคารเหนือกวาประโยชนสวนตนและ ไมมีผลประโยชนทับซอน หรือเอื้อประโยชนใหแกผูหนึ่งผูใดโดยไมชอบดวยกฎหมาย (4) การยืนหยัดทําในสิ่งที่ถูกตอง เปนธรรม และถูกกฎหมาย (5) การใหบริการ แกประชาชนดวยความรวดเร็ว มีอัธยาศัย และไมเลือกปฏิบัติ (6) การให ข อ มู ล ข า วสารแก ป ระชาชนอย า งครบถ ว น ถู ก ต อ ง และไม บิ ด เบื อ น ขอเท็จจริง
  • 11. 11 พระราชบัญญัตธนาคารออมสิน พ.ศ. 2489 ิ ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมพลอดุลยเดช ิ คณะผูสําเร็จราชการแทนพระองค รังสิต กรมขุนชัยนาทนเรนทร พระยามานวราชเสวี ใหไว ณ วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2489 เปนปที่ 1 ในรัชกาลปจจุบัน โดยที่เปนการสมควรจัดตั้งธนาคารออมสินขึ้น เพื่อสงเสริมสวัสดิภาพแหง สังคมในทางทรัพยสิน พระมหากษั ต ริ ย โ ดยคํ า แนะนํ า และยิ น ยอมของรั ฐ สภาจึ ง มี พ ระบรมราช โองการใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไว ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติธนาคารออมสิน พ.ศ. 2489” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราช กิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา 3 ให ยกเลิกพระราชบัญญัติคลังออมสิน พุทธศักราช 2456 พระราชบัญญัติคลังออมสินแกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2472 พระราชบัญญัติคลังออมสิน (ฉบับที่ 3) พุทธศักราช 2479 และบรรดากฎหมาย กฎ และขอบังคับอื่น ๆ ในสวนที่มี บัญญัติไวแลวในพระราชบัญญัตินี้หรือซึ่งแยงกับบทแหงพระราช บัญญัติน้ี มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการธนาคารออมสิน “รองผูอํานวยการ” หมายความวา รองผูอํานวยการธนาคารออมสิน “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการธนาคารออมสิน มาตรา 5 ใหธนาคารออมสินไดรับการยกเวนไมตองเสียภาษีเงินได ภาษีโรง คา ภาษีการธนาคาร การออมสินและอากรแสตมปตามประมวลรัษฎากร มาตรา 6 ให รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัติ นี้ และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงและขอบังคับเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
  • 12. 12 กฎกระทรวง และขอบังคับนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใช บังคับได หมวด 1 การจัดตั้งและดําเนินงาน มาตรา 7 ใหจัดตั้งธนาคารออมสินขึ้นเพื่อประกอบธุรกิจ ดังตอไปนี้ 1. รับฝากเงินออมสิน 2. ออกพันธบัตรออมสิน และสลากออมสิน 3. รับฝากเงินออมสินเพื่อสงเคราะหชีวิตและครอบครัว 4. ทําการรับจายและโอนเงิน 5. ซื้อหรือขายพันธบัตรรัฐบาลไทย 6. ลงทุนเพื่อแสวงหาผลประโยชนซึ่งรัฐมนตรีอนุญาต 7. การออมสินอื่น ๆ ตามที่จะมีพระราชกฤษฎีกากําหนดไว 8. กิจการอันพึงเปนงานธนาคาร ตามที่จะมีพระราชกฤษฎีกากําหนดไว ทั้งนี้ ใหประกอบไดตามขอกําหนดและเงื่อนไขที่กําหนดไวในกฎกระทรวง มาตรา 8 ใหธนาคารออมสินเปนนิติบุคคล มาตรา 9 ใหธนาคารออมสินตั้งสํานักงานแหงใหญในจังหวัดพระนครและจะ ตั้งสาขาหรือตัวแทนขึ้น ณ ที่ใดในราชอาณาจักรก็ได มาตรา 10 ใหโอนบรรดาทรัพยสิน สินทรัพย ความรับผิดและธุรกิจของคลัง ออมสิน กรมไปรษณียโทรเลขใหแกธนาคารออมสินดําเนินกิจการตอไป ใหรัฐมนตรีประกาศวันซึ่งไดโอนดังกลาวแลวในราชกิจจานุเบกษา หมวด 2 การกํากับ ควบคุม และจัดการ มาตรา 11 ให รั ฐ มนตรี มี อํ า นาจและหน า ที่ กํ า กั บ โดยทั่ ว ไปซึ่ ง กิ จ การของ ธนาคารออมสิน มาตรา 12 ให มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกวา “คณะกรรมการธนาคาร ออมสิน” ประกอบดวยประธานกรรมการหนึ่งคน และกรรมการอื่นอีกไมนอยกวาหกคนแตไม เกินสิบสามคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแตง ตั้ง และใหผูอํานวยการเปนกรรมการและเลขานุการ มาตรา 12/1 ใหประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งอยูใน ตําแหนงคราวละสามป
  • 13. 13 ใน กรณีที่ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งพนจาก ตําแหนง กอนวาระหรือในกรณีที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้งกรรมการเพิ่มขึ้นในระหวางที่ กรรมการซึ่งแตงตั้งไวแลวยังมีวาระอยูในตําแหนง ใหผูไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงแทน หรือเปนกรรมการเพิ่มขึ้นอยูใน ตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของประธานกรรมการหรือ กรรมการซึ่งไดแตงตั้ง ไวแลว เมื่อ ครบกําหนดตามวาระดังกลาวในวรรคหนึ่ง หากยังมิไดมีการแตงตั้ง ประธานกรรมการหรือกรรมการขึ้นใหม ใหประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งพนจาก ตําแหนงตามวาระนั้น อยูในตําแหนงเพื่อดําเนินงานตอไปจนกวาประธานกรรมการหรือ กรรมการซึ่งไดรับ แตงตั้งใหมเขารับหนาที่ ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งพนจากตําแหนงตามวาระอาจไดรับการ แตงตั้งอีกไดแตไมเกินสองวาระติดตอกัน มาตรา 12/2 ผู มี ลั ก ษณะอย า งหนึ่ ง อย า งใดดั ง ต อ ไปนี้ ต อ งห า มมิ ใ ห เ ป น ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้ง (1) เปนพนักงานหรือลูกจางของธนาคารออมสิน (2) เปนกรรมการหรือดํารงตําแหนงใด ๆ ในธนาคารอื่น (3) เปนหรือเคยเปนบุคคลลมละลาย (4) เคยไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตในความผิด อันไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (5) เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ (6) เคยเปนกรรมการ ผูจัดการ รองผูจัดการ ผูชวยผูจัดการ ของธนาคาร พาณิชย ที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต เวนแตจะไดรับยกเวนจากคณะรัฐมนตรี (7) เปนผูมีมลทินมัวหมองวาทุจริตในสถาบันการเงินใด หรือบริหารงานใน สถาบันการเงินใดผิดพลาดอยางรายแรง มาตรา 12/3 นอกจากการพ น จากตํ า แหน ง ตามวาระตามมาตรา 12/1 ประธานกรรมการและกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งพนจากตําแหนง เมื่อ (1) ตาย (2) ลาออก (3) คณะรัฐมนตรีใหออกเพราะบกพรองตอหนาที่หรือมีความประพฤติเสื่อม เสียหรือหยอนความสามารถ (4) มีลักษณะตองหามตามมาตรา 12/2
  • 14. 14 (5) ขาดการประชุมคณะกรรมการเกินกวาสามครั้งตอเนื่องกัน โดยไมมีเหตุ อันสมควร มาตรา 13 การ ประชุมคณะกรรมการ ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวา กึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดจึงเปน องคประชุม ถาประธานกรรมการไมอยูในที่ ประชุมหรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเปน ประธานในที่ประชุม การ วินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุม ใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งใหมี เสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีก เสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด มาตรา 14 ใหค ณะกรรมการมี อํ า นาจหน าที่ว างนโยบายและควบคุ ม ดู แ ล โดยทั่วไป ซึ่งกิจการของธนาคารออมสิน อํานาจหนาที่เชนวานี้ใหรวมถึง (1) แต ง ตั้ ง หรื อ ถอดถอนจากตํ า แหน ง และกํ า หนดอั ต ราเงิ น เดื อ นของ ผูอํานวยการดวยความเห็นชอบของรัฐมนตรี (2) ตั้งหรือเลิกสาขาและตัวแทน (3) กําหนดขอบเขตทั่วไปและเงื่อนไขแหงธุรกิจประเภทตาง ๆ ตามมาตรา 7 (1) ถึง (7) (4) กําหนดระเบียบและขอกําหนดของธนาคารออมสินเกี่ยวกับการบริหารและ การดําเนินงาน (5) เสนองบดุล ฐานะการเงิน และรายงานประจําปตามมาตรา 25 และมาตรา 26 (6) กําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขเกี่ยวกับการบรรจุ แตงตั้ง เลื่อนตําแหนง หรือเงินเดือน ลงโทษทางวินัย หรือถอดถอนจากตําแหนงของพนักงาน (7) เรียกประกันจากพนักงาน กําหนดเงินเดือน เงินบําเหน็จรางวัลหรือเงินอื่น ของพนักงาน มาตรา 15 ใหประธานกรรมการและกรรมการไดรับผลประโยชนตอบแทน ตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด ประธานกรรมการ กรรมการ ผูอํานวยการ พนักงานและลูกจาง อาจไดรับ โบนัสตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกําหนด
  • 15. 15 แนวขอสอบพระราชบัญญัติธนาคารออมสิน พ.ศ. 2489 4. ผูรักษาการตาม พรบ.ออมสินคือใคร ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ข. นายกรัฐมนตรี ค. อธิบดีงบประมาณแผนดิน ง. กรมบัญชีกลาง ตอบ ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจออก กฎกระทรวงและขอบังคับเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ 5. ขอใดเปนวัตถุประสงคของธนาคารออมสิน ก. ซื้อหรือขายพันธบัตรรัฐบาลไทย ข. รับฝากเงินออมสิน ค. ลงทุนเพื่อแสวงหาผลประโยชนซึ่งรัฐมนตรีอนุญาต ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ จัดตั้งธนาคารออมสินขึ้นเพื่อประกอบธุรกิจ ดังตอไปนี้ 1. รับฝากเงินออมสิน 2. ออกพันธบัตรออมสิน และสลากออมสิน 3. รับฝากเงินออมสินเพื่อสงเคราะหชีวิตและครอบครัว 4. ทําการรับจายและโอนเงิน 5. ซื้อหรือขายพันธบัตรรัฐบาลไทย 6. ลงทุนเพื่อแสวงหาผลประโยชนซึ่งรัฐมนตรีอนุญาต 7. การออมสินอื่น ๆ ตามที่จะมีพระราชกฤษฎีกากําหนดไว 8. กิจการอันพึงเปนงานธนาคาร ตามที่จะมีพระราชกฤษฎีกากําหนดไว ทั้งนี้ ใหประกอบไดตามขอกําหนดและเงื่อนไขที่กําหนดไวในกฎกระทรวง 6. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ คณะกรรมการธนาคารออมสิน ก. ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอื่นไมนอยกวา 3 คนไมเกิน 5 คน ข. ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอื่นไมนอยกวา 5 คนไมเกิน 10 คน ค. ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอื่นไมนอยกวา 6 คนไมเกิน 13 คน ง. ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอื่นไมนอยกวา 9 คนไมเกิน 15 คน
  • 16. 16 ตอบ ค. ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอื่นไมนอยกวา 6 คนไมเกิน 13 คน มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกวา “คณะกรรมการธนาคารออมสิน” ประกอบดวย ประธานกรรมการหนึ่งคน และกรรมการอื่นอีกไมนอยกวาหกคนแตไมเกินสิบสามคนซึ่ง คณะรัฐมนตรีแตงตั้ง และใหผูอํานวยการเปนกรรมการและเลขานุการ 7. วาระในการดํารงตําแหนงของคณะกรรมการธนาคารออมสินคือ ก. 1 ป ข. 2 ป ค. 3 ป ง. 4 ป ตอบ ค. 3 ป ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งอยูในตําแหนงคราวละสามป 8. ขอใดเปนขอหามของคณะกรรมการธนาคารออมสิน ก. เปนพนักงานหรือลูกจางของธนาคารออมสิน ข. เปนกรรมการหรือดํารงตําแหนงใด ๆ ในธนาคารอื่น ค. เปนหรือเคยเปนบุคคลลมละลาย ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ผูมีลักษณะอยางหนึ่งอยางใดดังตอไปนี้ ตองหามมิให เปนประธานกรรมการหรื อ กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้ง (1) เปนพนักงานหรือลูกจางของธนาคารออมสิน (2) เปนกรรมการหรือดํารงตําแหนงใด ๆ ในธนาคารอื่น (3) เปนหรือเคยเปนบุคคลลมละลาย (4) เคยไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตในความผิด อันไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (5) เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ (6) เคยเปนกรรมการ ผูจัดการ รองผูจัดการ ผูชวยผูจัดการ ของธนาคาร พาณิชย ที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต เวนแตจะไดรับยกเวนจากคณะรัฐมนตรี (7) เปนผูมีมลทินมัวหมองวาทุจริตในสถาบันการเงินใด หรือบริหารงานใน สถาบันการเงินใดผิดพลาดอยางรายแรง
  • 17. 17 อนุกรมหรือเลขเรียงลําดับ เลขอนุกรม เปนการเรียงตัวเลข ตามกฎเกณฑโดยอาจจะเรียงเพิ่มขึ้นหรือลดลง หรือ สลับกันไปก็ได ในการเรียงลําดับนั้นอาจจะเรียงลําดับแบบธรรมดาหลายชั้น หรือเชิงซอนก็ได ในที่นี้พอจะแยกตามวิธีการ บวก ลบ คูณ หาร ไดดังนี้ วิธีบวก จะมีการเพิ่มขึ้นแบบเทากัน แบบเรียงลําดับ หรือมีการเพิ่มแบบสลับซับซอน หรือ สลับกันไปกับเรียงลําดับ ตัวอยางที่ 1 จงหาตัวเลขถัดไปของ 5 10 วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู 15 5 ? ? 10 +5 พบวา นั่นคือ 15 +5 20 +5 +5 ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 5 ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 5 ตัวเลขถัดไป คือ 20 + 5 = 25 ∴ ตัวอยางที่ 2 จงหาตัวเลขถัดไปของ 2 4 วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู 2 4 +2 พบวา นั่นคือ ∴ 20 6 +2 6 10 8 +2 +2 8 10 ? +2 ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 2 ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 2 ตัวเลขถัดไป คือ 10 + 2 = 12 ?
  • 18. 18 ตัวอยางที่ 3 จงหาตัวเลขถัดไปของ 1 4 วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู 1 4 +3 พบวา นั่นคือ 7 +3 7 +3 ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 3 ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 3 ตัวเลขถัดไป คือ 10 + 3 = 13 ∴ ตัวอยางที่ 4 จงหาตัวเลขถัดไปของ 5 7 วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู 5 7 +2 พบวา นั่นคือ 9 +2 9 +2 ตัวอยางที่ 5 จงหาตัวเลขถัดไปของ 1 2 วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู 1 2 +1 ∴ ? ? 11 +2 11 ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 2 ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นจากเลขกอนหนาทีละ 2 ตัวเลขถัดไป คือ 11 + 2 = 13 ∴ พบวา นั่นคือ ? ? 10 +3 10 4 +2 4 11 7 +3 +4 7 11 ? ? +5 ผลตางมีคาเพิ่มขึ้นสะสมทีละ 1 ตัวเลขถัดไป มีคาเพิ่มขึ้นสะสมทีละ 1(เพิ่มขึ้นเทากับ 5) ตัวเลขถัดไป คือ 11 + 5 = 16
  • 19. 19 แนวขอสอบ เรื่องอุปมาอุปไมย ขอ 1 ขอ 2 ขอ 3 ขอ 4 กลองใสดินสอ : ปากกา ?:? ก. ดินสอ : ยางลบ ข. สมุด : กระดาษ ค. กระเปาสตางค : เงิน ง. สมุด : กระเปา ตอบ ค. กระเปาสตางค : เงิน แนวคิด กลองใสดินสอใสอุปกรณ ปากกา เชนเดียวกับกระเปาสตางค ใสเงิน ?:? หองนอน : เตียง ก. เกาอี้ : โตะ ข. มหาสมุทร : แมน้ํา ค. แจกัน : โตะ ง. ตู : เสื้อผา ตอบ ง. ตู : เสื้อผา แนวคิด เตียง วางไวในหองนอน เสื้อผา ใสไวในตู แจกัน : ดอกไม ?:? ก. ตูไปรษณีย : จดหมาย ข. เกสร : ผีเสื้อ ค. ผูหญิง : เสื้อผา ง. ทิชชู : ไมจิ้มฟน ตอบ ก. ตูไปรษณีย : จดหมาย แนวคิด ดอกไมใสไวในแจกัน เชนเดียวกับ จดหมายใสในตูไปรษณีย ?:? ขวดน้ํา : แกวน้ํา ก. ดอกไม : เกสร ข. หมอขาว : จาน ค. เสื้อ : สตรี ง. หมี : สวนสัตว ตอบ ข. หมอขาว : จาน แนวคิด แกวน้ําเปนภาชนะใสน้ํา เชนเดียวกับจานเปนภาชนะใส
  • 20. 20 ตาราง กราฟ และแผนภูมิ เทคนิคการทําขอสอบแบบตาราง 1. ใหยุบตัวเลขใหเหลือเพียง 2 หรือ 3 หลัก 2. ถาโจทยถามมากกวาหรือนอยกวาใหนาเลขมาลบกันกอนแลวคอยคํานวณตัวเลข ํ 3. ถาโจทยใหหาชวงระหวางป และมีคําวาโดยเฉลี่ย ใหหารดวยจํานวนป 4. สูตรการคํานวณ ใหดูในเรื่องรอยละเปอรเซ็นต คําสั่ง ในขอสอบจะประกอบดวยขอมูลชุดหนึ่งในรูปขอตารางและในแตละขอจะมีคําถามกับตัวเลือก 1 – 4 มาใหใหศึกษาขอมูลทีกําหนดแลวนําความรูที่ไดจากขอมูลดังกลาวมาพิจารณาตอบคําถาม ่ ตารางที่ 1 พื้นที่เพาะปลูกชนิดตางๆ แยกตามภาคป 2552 หนวย : ไร ภาค ขาวโพด ยาสูบ ถั่วเขียว ขาวจาว เหนือ 28,862 38,438 32,882 99,990 กลาง 34,280 42,495 28,889 126,440 ใต 28,975 32,735 36,250 94,123 ตะวันออกเฉียงเหนือ 27,364 31,295 33,330 94,789 1. ภาคใตมีพื้นทีเพาะปลูกยาสูบคิดเปนกี่เปอรเซ็นตของพื้นที่เพาะปลูกขาวจาว ่ 1. 27 % 2. 35 % 3. 42 % 4. 63 % 2. ภาคใดมีพื้นที่การเพาะปลูกของพืชทุกชนิดรวมกันนอยที่สุด 1. ภาคเหนือ 2. ภาคกลาง 3. ภาคใต 4. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3. พื้นที่การเพาะปลูกขาวจาวมากกวาพื้นทีการเพาะปลูกถั่วเขียวอยูรอยละเทาใด ่ 1. รอยละ 97 2. รอยละ 117 3. รอยละ 217 4. รอยละ 317 4. พื้นที่การเพาะปลูกของภาคเหนือนอยกวาพื้นที่การเพาะปลูกของภาคกลางอยูรอยละเทาใด 1. รอยละ 13 2. รอยละ 17 3. รอยละ 24 4. รอยละ 32 5. พื้นที่การเพาะปลูกขาวจาวของภาคเหนือรวมภาคใตคิดเปนรอยละเทาใดของภาคกลาง 1. รอยละ 65 2. รอยละ 82 3. รอยละ 154 4. รอยละ 215
  • 21. 21 6. จากสถิติที่ผานมาพบวาพื้นที่การเพาะปลูกขาวจาว 1 ไร จะมีผลผลิต 0.45 ตัน และ ประเทศไทยไดสงขาวจาวออกที่เปนผลผลิตป 2552 ไปจําหนายแลวจํานวน 150,000 ตัน อยากทราบวายังเหลือขาวจาวที่จะใชบริโภคภายในประเทศคิดเปนปริมาณกี่ตัน 1. 26,750 ตัน 2. 36,750 ตัน 3. 136,750 ตัน 4. 236,750 ตัน 7. จากขอมูลขางตนขอใดกลาวถูกตอง 1. ผลผลิตในภาคกลางจะมากกวาทุกๆ ภาคเพราะมีพื้นที่เพาะปลูกมากที่สด ุ 2. ภาคใตเปนภาคที่มีพื้นที่เพาะปลูกนอยกวาทุกๆ ภาค 3. พื้นที่เพาะปลูกขาวจาวมีมากกวารอยละ 50 ของพื้นที่การเพาะปลูกพืชทั้ง 4 ชนิด 4. ถาจัดเรียงพื้นที่เพาะปลูกจากมากไปหานอยจะไดดังนี้คือขาวจาว ถั่วเขียว ยาสูบและ ขาวโพดตามลําดับ 8. สัดสวนของพืนที่เพาะปลูกขาวจาว : ขาวโพด : ยาสูบ ใกลเคียงกับขอใด ้ 1. 17 : 5 : 6 2. 7 : 15 : 4 3. 13 : 8 : 7 4. 11 : 4 : 7 9. อัตราสวนของพื้นที่เพาะปลูกถั่วเขียวระหวางภาคเหนือกับภาคกลางใกลเคียงกับขอใด 1. 7 : 5 2. 8 : 7 3. 11 : 8 4. 5 : 3 10. จากขอมูลขางตนขอใดกลาวไมถูกตอง 1. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่เพาะปลูกขาวจาวมากกวาพื้นทีเพาะปลูกขาวโพดอยู ่ ประมาณรอยละ 250 2. ภาคใตมีพื้นที่เพาะปลูกขาวโพดนอยกวาพื้นที่เพาะปลูกขาวจาวอยูประมาณรอยละ 225 3. อัตราสวนระหวางพื้นที่เพาะปลูกขาวจาวกับพื้นที่เพาะปลูกถัวเขียวมีคาประมาณ 3 : 1 ่ 4. ถาจัดเรียงพื้นที่เพาะปลูกจากมากไปหานอยจะไดดังนี้คือขาวจาว ยาสูบ ถั่วเขียวและ ขาวโพดตามลําดับ ตารางที่ 2 พื้นที่เพาะปลูกและผลผลิตขาวนาปกับขาวนาปรัง ป 2548 2549 2550 2551 2552 รวม พื้นที่เพาะปลูก ( 1,000 ไร ) ขาวนาป ขาวนาปรัง ผลผลิต ( 1,000 ตัน ) ขาวนาป ขาวนาปรัง 47,849 53,198 50,920 53,554 59,378 264,999 12,398 14,132 13,743 12,295 15,196 67,764 2,120 2,378 2,673 3,039 4,275 14,485 925 1,198 1,413 1,606 2,295 7,437
  • 22. 22 แบบทดสอบเรื่อง การเรียงลําดับขอความและเขียนประโยค ใหถูกตองตามหลักภาษา คําสั่ง จงพิจารณาคําตอบที่ถูกตองทีสุด ่ 1. ขอความตอไปนี้ควรจัดเรียงลําดับตามขอใดจึงจะไดความสมบูรณ (1) ดอกแตงโมออนรวมกับผักอื่นๆ นํามาแกงเลียง (2) ยอดแตงโมออนคนมักเก็บมาตมกับกะทิจิ้มน้ําพริกกิน (3) ผลออนเขาก็เอามาแกงสมใชเนื้อทั้งเมล็ดอรอยมาก (4) ผลแกนั้นใชรบประทาน เนื้อหวานเย็น ชุมคอชื่นใจดี ั 1. (1) – (2) – (3) – (4) 2. (1) – (3) – (4) – (2) 3. (2) – (1) – (3) – (4) 4. (2) – (3) – (4) – (1) 2. ขอใดเรียงลําดับขอความไดเหมาะสม (1) ดังหลักฐานภาพแกะสลักบนแผนหินที่ปราสาทนครธมกัมพูชา (2) การนําวัวควายมาใชแรงงานเกิดขึ้นไมนอยกวาหาพันปมาแลว (3) หากไมมีวัวควายมาลากไถ ก็คงจะไมมีใครคิดถึงการใชแรงงานอื่นๆ (4) การใชแรงงานวัวควายจึงเปนจุดเปลี่ยนของพัฒนาการดานแรงงาน 1. (4) – (3) – (2) – (1) 2. (1) – (2) – (4) – (3) 3. (2) – (1) – (3) – (4) 4. (3) – (2) – (1) – (4) 3. ขอใดเรียงลําดับขอความไดเหมาะสม (1) กําแพงทั่วไปที่ใชปองกันเสียงมักเปนกําแพงคอนกรีตสูง 12 ฟุต (2) ทางดวนจะตองสรางกําแพงปองกันเสียงที่มีความดังมากกวา 67 เดซิเบลขึ้นไป (3) เพราะเมื่อเสียงผานขึ้นไปถึงยอดกําแพง มักจะกระทบขอบและกระจายตัวออกเปนเสียงดัง ขามกําแพงไปได (4) แตแมจะสรางกําแพงสูงอยางนั้น กําแพงก็จะปองกันเสียงไดเพียง 10 เดซิเบล 1. (1) – (2) – (3) – (4) 2. (1) – (3) – (4) – (2) 3. (2) – (3) – (1) – (4)
  • 23. 23 4. (2) – (1) – (4) – (3) 4. ขอใดเรียงลําดับขอความไดเหมาะสม (1) ผูปวยเปนตอหินจะมีอาการตามัว สูญเสียลานสายตา (2) การรักษาตอหินอาจใชยาหยอดตาและยารับประทาน (3) ตอหินเกิดจากความดันในสายตาเพิ่มสูงขึ้นจนทําลายประสาทตา (4) ถาเปนตอหินชนิดรุนแรงจะปวดตา ปวดศีรษะมากและคลื่นไสอาเจียน (5) ผูที่เปนตอหินบางรายอาจจําเปนตองรักษาโดยแสงเลเซอรหรือโดยการผาตัด 1. (3) – (1) – (2) – (4) – (5) 2. (1) – (2) – (5) – (3) – (4) 3. (3) – (1) – (4) – (2) – (5) 4. (1) – (3) – (4) – (2) – (5) 5. ขอใดเรียงลําดับขอความไดเหมาะสม (1) อินเดียมีสิ่งมหัศจรรยถึงสองสิ่งคือปราสาททัชมาฮาลและมหาตมะคานธี (2) บางคนบอกวาอินเดียมิไดมีสิ่งมหัศจรรยอยางเดียวเทานั้น (3) ทั้งสองสิ่งนี้นับวาเปนสิ่งมหัศจรรยของโลกตามที่เขาวาจริงๆ (4) อินเดียมีสิ่งมหัศจรรยอยูอยางหนึ่งคือปราสาททัชมาฮาล 1. (4) – (2) – (1) – (3) 2. (2) – (1) – (3) – (4) 3. (3) – (1) – (4) – (2) 4. (1) – (3) – (2) – (4) 6. ขอความตอไปนี้ขอใดเรียงลําดับไดเหมาะสม (1) แตที่รุนแรงทีสุดือจังหวัดชุมพร ่ (2) เมื่อสองเดือนกอนมีน้ําทวมในหลายจังหวัด (3) จึงกอใหเกิดความเสียหายอยางมหาศาล (4) ทั้งๆ ที่ยังไมถงเวลาที่มใตฝนและพายุโซนรอน ึ ี ุ (5) ฝนตกหนักติดตอกันหลายวัน 1. (2) – (5) – (3) – (1) – (4) 2. (5) – (4) – (3) – (2) – (1) 3. (2) – (1) – (5) – (4) – (3)
  • 24. 24 แบบทดสอบการอานบทความ 1. “ ปะการังเปนแหลงพักพิงของปลา แตปจจุบันถูกพอคาปลาตูทําลายโดยวิธีฉีดพนยาสลบไป ตามคอปะการังเพื่อจับปลาสีสวยๆ ไปขาย มีผลทําใหปะการังตายไปดวย เมื่อปะการังตาย ปลาเล็กปลานอยซึ่งเปนอาหารของปลาใหญก็ถูกทําลาย ปะการังเปรียบเสมือนหมอขาวของ ชาวประมง การทําลายปะการังจึงเทากับเปนการทุบหมอขาวของชาวประมงจํานวนมาก ” ขอ ใดคือจุดประสงคสําคัญของผูเขียนขอความนี้ ก. ใหความรูเกี่ยวกับวงจรสิ่งมีชีวิตในทะเล ข. ใหคนไทยตระหนักถึงคุณคาของปะการัง ค. สรางจิตสํานึกเรื่องการอนุรักษพันธุปลาทะเล ง. รณรงคตอตานการจําหนายและเลี้ยงปลาตู  2. จากขอความในขอ 1. ขอใดคือผลของการ “ ทุบหมอขาว ” ก. แหลงทํามาหากินมีจํานวนนอยลง ข. ปลาสีสวยๆ มีจํานวนนอยลง ค. ปะการังมีจํานวนนอยลง ง. ปลาเล็กปลานอยมีจํานวนนอยลง จงอานขอความตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 3 – 5 “ ทานตองรูวาคนในโลกนี้สวนมากเขามีกเลสคือ ความโลภ โกรธ และหลง ดังนั้น   ิ บางทีเขาก็คิดถูกและทําถูก บางทีเขาก็คดผิดและทําผิด บางทีก็โง บางทีก็ฉลาด ิ เพราะฉะนั้นทานจะตองใหอภัยเขา คอยๆ พูดกับเขาไมดาวารุนแรงกับเขา ทานตองใชปญญา ของทานเขาไปสอนเขาไปชักจูงเขาใหเดินในทางที่ถูก นี่คือหนาที่ของผูมีปญญาที่จะเขาไปยุง ่ เกี่ยวกับคนโงที่มีอยูในโลกนี้เปนจํานวนมากมายมหาศาล ผลทีไดรับก็คือทานจะเปนคนที่มี จิตใจเยือกเย็นและนาเคารพกราบไหวของคนทั่วไป โดยเฉพาะอยางยิ่งทานจะไมเปนทุกขรอน เลย แมวาจะพบเห็นหรือเกี่ยวของกับคนมากมายหลายประเภทในโลกนี้อยูเสมอ ” 3. ขอความนี้มีสาระสําคัญตามขอใด ก. คนสวนมากในโลกนี้เขามีกเลส ิ ข. ทานตองใหอภัยเขา คอยๆ พูดกับเขา ค. ทานตองใชปญญาของทานเขาไปสอนเขาไปชักจูงเขาใหเดินในทางที่ถูก  ง. ทานจะเปนคนที่มีจิตใจเยือกเย็นและนาเคารพกราบไหวของคนทัวไป ่ 4. จากขอความนี้การที่เราเกียวของกับคนในโลกมากมายจําเปนจะตองมีสวนใดเปนขอสําคัญ ่ ก. คนสวนมากมีกิเลส ข. ใชปญญา ค. มีจิตใจเยือกเย็น ง. ใหอภัย