SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 27
Baixar para ler offline
ห น า | 1ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ห น า | 2ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ขอบเขตเนื้อหา
สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
ประวัติ สกย. 5
ภารกิจ/ยุทธศาสตร สกย. 11
วิสัยทัศน 12
คานิยมองคกร 12
พันธกิจ 13
วัตถุประสงค 13
เปาหมายหลัก 13
ยุทธศาสตร 14
ภารกิจ/บริการ 15
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง 19
การปลูกยางพารา 19
การบํารุงรักษา 32
โรคและศัตรูพืชที่สําคัญของยางพารา 37
การปฏิบัติระยะตนยางใหผลผลิต 45
การแปรรูปผลผลิต 47
มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ 50
สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของ
พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 53
พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503
แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 68
แนวขอสอบพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4)
แกไขเพิ่มเติมถึงพ.ศ. 2530 79
แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 86
สวนที่ 3 ความรูเฉพาะตําแหนง
ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 93
ประวัติของคอมพิวเตอร 93
ห น า | 3ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ระบบคอมพิวเตอร (Computer System) 97
อุปกรณที่ใชในการสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร 105
เลขฐานในเครื่องคอมพิวเตอร 112
ระบบฐานขอมูล และการใชฐานขอมูล 113
แฟมขอมูลและการจัดการแฟมขอมูล 114
การจัดการของแฟมขอมูล (File Organizing) 117
ประเภทการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร 121
ระบบฐานขอมูลและการใชฐานขอมูล 124
ระบบเครือขาย 125
อินเตอรเน็ต (Internet) 129
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 131
ประเภทขาวสารขอมูล 133
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology – IT) 140
โปรแกรมประยุกตใชงานประเภทตางๆ 144
การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแวร 148
ไวรัสคอมพิวเตอร (Computer Virus) 149
ไมโครซอฟท เวิรด (Microsoft Word) 151
ไมโครซอฟท เอ็กเซล (Microsoft Excel) 154
ไมโครซอฟท พาวเวอรพอยท (Microsoft PowerPoint) 155
สวนที่ 4 กฎหมายที่เกี่ยวของ
พรบ.วาดวยการกระทําผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 168
สวนที่ 5 ตัวอยางแนวขอสอบ
แนวขอสอบ Microsoft Excel 157
แนวขอสอบ Microsoft Word 161
แนวขอสอบ Microsoft PowerPoint 166
แนวขอสอบ คอมพิวเตอร ชุดที่ 1 177
แนวขอสอบ คอมพิวเตอร ชุดที่ 2 186
แนวขอสอบ คอมพิวเตอร ชุดที่ 3 205
ห น า | 4ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
ประวัติ สกย.
ทศวรรษแรก (ป 2503-2513) สรางความเชื่อมั่นแกชาวสวนยาง
การ ดําเนินงานในทศวรรษแรก สมัยรัฐบาลจอม พลสฤษดิ์ ธนรัชต มีสํานักงานใหญ
ตั้งอยูที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ และมีสํานักงานสวนภูมิภาค ตั้งอยูในเขตปลูกยาง
หนาแนน ในภาคใต และภาคตะวันออก รวม 6 เขต ไดแก ภูเก็ต นครศรีธรรมราช สงขลา
ยะลา และจันทบุรี มีขุนวิจิตรพา หนการ เปนผูอํานวยการ คนแรก ดํารงตําแหนงระหวาง
วันที่ 1 มกราคม 2504 – 30 กันยายน 2508 คณะทํางานชุดแรกเปน พนักงานที่สําเร็จ
การศึกษาระดับ ปริญญาตรีดานการเกษตร จํานวน 11 คนเปนหลัก ทํางานทั้งดาน
ภาคสนามและการเงิน การบัญชี ซึ่งพนักงานชุดแรกนี้ตอมาไดเปน ผอ.สกย. ถึง 3 คน คือ
นายณรงค สุจเร นายสมศักดิ์ โรหิตรัตนะ และนายเสวต ทองรมย
หลังจากนั้นอีก ประมาณ 5-6 เดือน จึงมีพนักงาน ดานการเกษตรและดานการเงิน
และบัญชี เขามาปฏิบัติงานเสริมอีก 25 คน ทําใหการสงเคราะห ดําเนินการไดรวดเร็ว และ
คลองตัวยิ่งขึ้น ดวยความที่งานดานการสงเคราะหเปนงานใหมของประเทศ ไทย การทํางาน
ในยุคเริ่มตน จึงประสบความ ลําบาก ในการทําความเขาใจกับประชาชน พอสมควร แตดวย
ความมุงมั่น และอุดมการณอันแรงกลา ที่จะพลิกสถานการณ การผลิตยาง ของประเทศ และ
นํามาซึ่งความอยูดีกินดีของชาวสวนยาง ในขณะนั้น ทําใหเกษตรกรเขาใจในเหตุผล และ
ประโยชนที่จะไดรับในที่สุด อีกทั้งใหความเชื่อมั่นและไววางใจเปนอยางสูง อยางที่ไมมี
หนวยงานราชการใดเคยไดรับมากอน
โดยเฉพาะอยาง ยิ่งสิ่งที่พนักงาน สกย. ตองจดจํา ไวเปนพิเศษ คือในชวงป 2505
หลังจากกอตั้ง สกย. เพียง 2 ปเศษ ไดเกิดวาตภัยครั้งใหญที่ จ.นครศรีธรรมราช สงผลให
ประชาชนตองประสบความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสิน สกย. ไดระดมพนักงานจํานวนมาก
ไปชวยเหลือเกษตรกร ชาว สวนยางที่ประสบภัยพิบัติอันรายแรงอยางไมเคยเปนมากอน
พนักงาน สกย. ทั้งหมดตางเรงเขาไปในพื้นที่ ระดมพลังทุมเท ความสามารถที่มีอยู เพื่อ
บรรเทาความเดือดรอนใหเกษตรกรผูประสบภัยเหลานั้น อยางไมเห็นแกเหน็ดเหนื่อย แมทุก
คนจะ ทุกขกายแตตางสุขใจและภาคภูมิที่ได ชวยเหลือสังคมอยางเต็มกําลัง ทําใหชื่อเสียง
ของ สกย. โดดเดนขึ้นมาอยูในความ ทรงจําของชาวสวนยางพาราทั่วไป
ห น า | 5ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
วิสัยทัศน
"มุงพัฒนายางพาราครบวงจร นําสังคมชาวสวนยางไปสูความเขมแข็งและยั่งยืน”
พัฒนายางพาราจากการผลิต เริ่มตั้งแตการปลูกจนกระทั่งเก็บเกี่ยวผลผลิต การแปรรูป
เบื้องตน เปนผลิตภัณฑยางอุตสาหกรรมและการตลาด โดยเริ่มจากตัวเกษตรกรมีความรูสู
ครอบครัวที่อบอุน ชุมชน และสังคมชาวสวนยางเขมแข็ง
คานิยมองคกร
สกย. ไดกําหนดคานิยมองคกรที่จะใชเปนบรรทัดฐานสําหรับพนักงานไดนําไปใชเปน
หลักปฏิบัติเพื่อรวมกันขับเคลื่อนองคกรใหกาวหนาบรรลุสูเปาหมายของ องคกร ดังนี้
O : Outcome มุงผลสําเร็จของการทํางาน
R : Responsibility ความรับผิดชอบ
R : Relationship สรางความสัมพันธที่ดีระหวางกัน
A : Active Teamwork การทํางานเปนทีม
F : Faith ซื่อสัตยสุจริต
พันธกิจ
1. สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่
ลดตนทุนการผลิต และปลูกยางเพิ่มในพื้นที่ที่เหมาะสม
2. สงเสริมการดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และสรางความเขมแข็ง
ใหกับสถาบันเกษตรกร
3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการตลาดยางพารา และขยายตลาดยางพารา
ระดับทองถิ่น ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยาง บนพื้นฐานความรวมมือของ
เกษตรกร
4. สงเสริมการปลูกสรางสวนยางใหมีมาตรฐาน เกื้อกูลระบบนิเวศนและสิ่งแวดลอม
5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
วัตถุประสงค
1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา และพัฒนาระบบตลาด เพิ่มรายได
และลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร
ห น า | 6ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
2. เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และสถาบันเกษตรกร มีการ
ดําเนินการที่มีมาตรฐานอยางตอเนื่อง
3. เพื่อใหการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ คุมคา และฟนฟูทรัพยากรใหมีความ
เหมาะสมตอการผลิต โดยเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรเขามามีสวนรวมในการบริหาร
จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม
4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงาน
อยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง ใหการปฏิบัติงานเปนไปตาม วัตถุประสงค
เปาหมาย และเปนองคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใตหลักธรรมาภิบาล
เปาหมายหลัก
1. เพิ่มผลผลิตโดยการใหการสงเคราะหปลูกแทนโดยใชพันธุยางที่ใหผลิตสูงกวา ตน
ยางเกา และใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อใหสวนสงเคราะหตั้งแตรุนป 2555 สามารถให
ผลผลิตไดภายใน 6 ป และสงเสริมใหมีการปลูกยางเพิ่มในพื้นที่เหมาะสม
2. ลดตนทุนการผลิตโดยการสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยาง ใชทรัพยากรอยาง
คุมคา อนุรักษสิ่งแวดลอมและมีความรูสามารถใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการดูแล รักษา
สวนและเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมทั้งรวมกันในการบริหารจัดการผลผลิต และการจําหนาย
ผลผลิตอยางมีประสิทธิภาพ
3. สรางความมั่นคงใหกับเกษตรกร โดยสงเสริมใหมีการรวมตัวเพื่อดําเนินกิจกรรม
และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องการผลิต การแปรรูป การตลาด อาชีพเสริม และอื่นๆ
ตามความเหมาะสม และพัฒนาไปสูเปนสถาบันเกษตรกรที่เปนนิติบุคคล
4. ดําเนินการตลาดประมูลยางระดับทองถิ่น ครอบคลุมพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูก
ยางพารา และตลาดไดรับการยอมรับจากผูใชบริการ ราคาซื้อขายเปนราคาอางอิงของราคา
ในตลาดทองถิ่น
5. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการองคกร ใหเทียบเทามาตรฐานสากล และเสริมสราง
ทัศนคติ คานิยม วัฒนธรรมการทํางาน พรอมรับการเปลี่ยนแปลง รวมถึง เสริมสราง
ศักยภาพในการดําเนินงานสูความเปนเลิศภายใตหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร
ห น า | 7ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2542
เปนปที่ 54 ในรัชกาลปจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกลาฯ ใหประกาศวา
โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการควบคุมยาง
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ
ของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง
กฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและ
ยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ.
2542”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราช
กิจจานุเบกษาเปนตนไป
มาตรา 3 ใหยกเลิก
(1) พระราชบัญญัติควบคุมยาง พุทธศักราช 2481
(2) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2483
(3) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2490
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
“ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea brasiliensis) และหมายความ
รวมถึงตนยางชนิดอื่นซึ่งรัฐมนตรีประกาศกําหนดใหเปนตนยางที่อยูภายใตการควบคุมตาม
พระราชบัญญัตินี้
“ตนยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดวาเปนตน
ยางพันธุที่เหมาะสมที่จะใชปลูกเปนสวนยาง
“ยาง” หมายความวา น้ํายางสด ยางกอน เศษยาง น้ํายางขน ยางแผน ยาง
แทง ยางเครพ หรือยางในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตนยาง และ
ห น า | 8ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
หมายความรวมถึงยางผสมไมวาในสภาพของแข็งหรือของเหลวซึ่งมียางธรรมชาติผสมกับ
สารเคมีหรือสารอื่น แตไมรวมถึงวัตถุประดิษฐสําเร็จรูปจากยาง
“เนื้อยาง” หมายความวา เนื้อยางที่มีอยูในน้ํายางหรือยางแตละชนิดโดย
คํานวณเปนน้ําหนักตามกรรมวิธีที่กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณกําหนด
“สวนยาง” หมายความวา ที่ดินซึ่งมีตนยางปลูกอยูในเนื้อที่ไมนอยกวาหนึ่ง
ไร แตละไรมีตนยางไมนอยกวาสิบตน หรือในกรณีที่มีเนื้อที่ปลูกยางติดตอกันมากกวาหนึ่ง
ไร ตองมีสวนเฉลี่ยไมนอยกวาไรละยี่สิบหาตนของจํานวนเนื้อที่ทั้งหมด
“ทําสวนยาง” หมายความวา ปลูกตนยางในสภาพที่เปนสวนยาง บํารุงรักษา
ตนยาง กรีดตนยาง หรือทําน้ํายางสดใหเปนยางกอน เศษยาง หรือยางแผนดิบ
“เขตควบคุมการขนยายยาง” หมายความวา เขตพื้นที่ที่รัฐมนตรีประกาศ
กําหนดเปนเขตควบคุมการขนยายยาง
“โรงทํายาง” หมายความวา สถานที่ที่ใชน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือ
ยางแผนดิบมาแปรรูปเปนน้ํายางขน ยางผึ่งแหง ยางแผนรมควัน ยางแทง ยางเครพ ยางดิบ
ชนิดอื่น ๆ อยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยางรวมกัน และหมายความรวมถึงสถานที่ที่ผลิต
ยางผสม แตไมรวมถึงสถานที่ที่ทํายางแผนดิบ
“ปริมาณควบคุมเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรี
ประกาศกําหนดใหผูทําสวนยางทําการผลิตเนื้อยางไดตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรี
ประกาศกําหนด
“ปริมาณจัดสรรเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรีประกาศ
จัดสรรใหผูนํายางเขาหรือผูสงยางออก นําเนื้อยางเขามาในหรือสงเนื้อยางออกไปนอก
ราชอาณาจักรได ตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
“มาตรฐานยาง” หมายความวา ลักษณะของยางแตละชนิดหรือชั้นตามที่
รัฐมนตรีประกาศกําหนด
“วิธีการมัดยางและการบรรจุหีบหอยาง” หมายความวา วิธีการมัดยางและ
การบรรจุหีบหอยางตามวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
“คายาง” หมายความวา ซื้อ ขาย หรือแลกเปลี่ยนยาง และหมายความ
รวมถึงซื้อยาง ขายยาง ตามตราสารที่บุคคลหนึ่งบุคคลใดเปนผูออกตราสารนั้นหรือโดย
ประการอื่น แตไมรวมถึงกรณีที่ผูทําสวนยางขายน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือยางแผน
ดิบ ซึ่งเปนผลิตผลจากสวนยางของตน
“ผูอนุญาต” หมายความวา อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย
ห น า | 9ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
แนวขอสอบพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530
5. สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไรขึ้นไป เปนสวนขนาดใด
ก. สวนขนาดทดลอง ข. สวนขนาดเล็ก
ค. สวนขนาดกลาง ง. สวนขนาดใหญ
ตอบ ง. สวนขนาดใหญ
“สวนขนาดใหญ” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไรขึ้นไป
6. “ปสงเคราะห” หมายความถึงระยะเวลาใด
ก. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 เมษายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 มีนาคมของปถัดไป
ข. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 เมษายนของปถัดไป
ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป
ง. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 ตุลาคมของปถัดไป
ตอบ ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของป
ถัดไป
“ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30
กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น
7. สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินกวาเทาใด
ไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห
ก. 1 กิโลกรัม ข. 3 กิโลกรัม
ค. 5 กิโลกรัม ง. 7 กิโลกรัม
ตอบ ค. 5 กิโลกรัม
สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินหา
กิโลกรัม หรือยางที่กระทรวง ทบวง กรม เปนผูสงออกเพื่อประโยชนใด ๆ อันมิใชเพื่อการคา
ไมวาจะมีน้ําหนักเทาใด ใหไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห
ห น า | 10ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
8. ขอใดเจาของสวนยางจะไดรับการสงเคราะหสวนยาง
ก. ตนยางอายุยี่สิบหาปขึ้นไป ข. ตนยางทรุดโทรมเสียหาย
ค. ตนยางที่ไดผลนอย ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
ผูจะไดรับการสงเคราะหตามพระราชบัญญัตินี้ตองเปนเจาของสวนยางที่มีตนยางอายุ
กวายี่สิบหาปขึ้นไป หรือตนยางทรุดโทรมเสียหาย หรือตนยางที่ไดผลนอย
9. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดยยอ
วาอะไร
ก. ก.ส.ย. ข. กสย.
ค. คสย. ง. ค.ส.ย.
ตอบ ก. ก.ส.ย.
10. รองประธานกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง คือผูใด
ก. รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ
ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
ค. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ง. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร
ตอบ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
11.กรรมการที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางและบุคคลอื่นซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับ
การยางมีจํานวนเทาใด
ก. 2 คน / 2 คน ข. 4 คน / 2 คน
ค. 4 คน / 4 คน ง. 5 คน / 2 คน
ตอบ ข. 4 คน / 2 คน
คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดย
ยอวา “ก.ส.ย.” ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือรัฐมนตรีชวย
วาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ
มอบหมายเปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนรองประธาน
กรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ผูอํานวยการ
ห น า | 11ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
สํานักงบประมาณ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร อธิบดีกรม
ศุลกากร ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เปนกรรมการ และกรรมการอื่น
อีกไมเกินหกคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางสี่คนและบุคคลอื่นซึ่งมีสวน
เกี่ยวของกับการยางสองคน
12. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง มีวาระอยูในตําแหนง
คราวละกี่ป
ก. 1 ป ข. 2 ป
ค. 3 ป ง. 4 ป
ตอบ ข. 2 ป
กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสองป
13. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการ
ดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยาง จํานวนเทาใด
ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด
ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ
ตอบ ก. รอยละหา
ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอย
ละหา เปนคาใชจายในการดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยางในอันที่จะเปน
ประโยชนแกเจาของสวนยางโดยเฉพาะ มอบไวแกกรมวิชาการเกษตรเปนงวด ๆ ตาม
หลักเกณฑและวิธีการที่รัฐมนตรีกําหนด เงินที่กรมวิชาการเกษตรไดรับนี้มิใหถือวาเปน
รายรับตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ
14. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการ
บริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
จํานวนเทาใด
ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด
ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ
ตอบ ง. รอยละสิบ
ห น า | 12ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542
6.ผูคายางจะตองทําบัญชีการซื้อยาง บัญชีการจําหนายยางและปริมาณยางคงเหลือของทุกๆ
เดือน และจัดสงบัญชีดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันที่เทาใดของเดือนถัดไป
ก. วันที่หนึ่ง ข. วันที่สาม
ค. วันที่หา ง. วันที่สิบ
ตอบ ง. วันที่สิบ
ผูคายางจะตองทําบัญชีการซื้อยาง บัญชีการจําหนายยางและปริมาณยางคงเหลือ
ของทุก ๆ เดือน และจัดสงบัญชีดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันที่สิบของเดือน
ถัดไป
7.ในกรณีที่ผูอนุญาตไมออกใบอนุญาต ผูรองขอมีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรีภายใน
กี่วันนับแตวันที่ไดทราบถึงการไมออกใบอนุญาต หรือการไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต
หรือการพักใชใบอนุญาต
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน
ตอบ ค. สามสิบวัน
ในกรณีที่ผูอนุญาตไมออกใบอนุญาต หรือไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต หรือมี
คําสั่งพักใชใบอนุญาต หรือคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ผูขอรับใบอนุญาตหรือผูขอตออายุ
ใบอนุญาตหรือผูถูกพักใชใบอนุญาตหรือผูถูกเพิกถอนใบอนุญาต มีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือ
ตอรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดทราบถึงการไมออกใบอนุญาต หรือการไม
อนุญาตใหตออายุใบอนุญาตหรือการพักใชใบอนุญาต หรือการเพิกถอนใบอนุญาต แลวแต
กรณี
8. หากใบอนุญาตสูญหาย หรือถูกทุกลาย จะตองยื่นคําขอภายในกี่วัน
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน
ตอบ ข. สิบหาวัน
ห น า | 13ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญ ใหผูรับใบอนุญาตแจงตอ
พนักงานเจาหนาที่และยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับทราบ
ถึงการสูญหาย หรือถูกทําลายดังกลาว
9. หากผูรับใบอนุญาต ถึงแกความตาย ทายาทหรือผูจัดการมรดก จะตองแจงใหผูอนุญาต
ทราบภายในกี่วันนับแตผูรับใบอนุญาตตาย
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน
ตอบ ง. หกสิบวัน
ในกรณีที่ผูรับใบอนุญาตซึ่งเปนบุคคลธรรมดาถึงแกความตายและใบอนุญาตยังไมสิ้น
อายุ ถาทายาทซึ่งบรรลุนิติภาวะแลวหรือผูจัดการมรดกของผูรับใบอนุญาตประสงคจะ
ประกอบกิจการนั้นตอไป ก็ใหประกอบกิจการตอไปไดจนกวาใบอนุญาตจะสิ้นอายุ แตตอง
แจงใหผูอนุญาตทราบภายในหกสิบวันนับแตวันที่ผูรับใบอนุญาตตาย
10. ผูรับใบอนุญาตยายสถานที่ประกอบกิจการจะตองแจงใหพนักงานเจาหนาที่ทราบภายในกี่วัน
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน
ตอบ ข. สิบหาวัน
ผูรับใบอนุญาตซึ่งประสงคจะยายสถานที่ประกอบกิจการของตนตองแจง การยาย
สถานที่ดังกลาวเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสิบหาวันนับ แตวันที่ยาย
11. ผูรับใบอนุญาตผูใดเลิกกิจการ ตองแจงการเลิกกิจการเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่
ภายในกี่วันนับแตวันเลิกกิจการ
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน
ตอบ ข. สิบหาวัน
ผูรับใบอนุญาตผูใดเลิกกิจการที่ไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ตองแจงการเลิก
กิจการเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสิบหาวันนับ แตวันเลิกกิจการและใหถือวา
ใบอนุญาตสิ้นอายุตั้งแตวันเลิกกิจการตามที่ แจงไวนั้น
ห น า | 14ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร
ประวัติของคอมพิวเตอร
ป ค.ศ. 1812 : Charles Babbage ไดประดิษฐเครื่องชื่อ Difference Engine
ที่สามารถคํานวณตารางลอการิทึม และฟงกชันทางตรีโกณขึ้น โดยตอมาเขาไดสรางขึ้นมา
อีกเครื่องหนึ่งชื่อ Analytic Engine ที่สามารถเก็บตัวเลข 50 หลัก ไดถึง 1,000 ตัวเลข และ
สามารถทําการบวกหรือลบได 60 ครั้งตอนาทีสําหรับตัวเลข 50 หลัก ซึ่งในการปอนขอมูล
เขาเครื่องนั้นจะใชแผนกระดาษที่เจาะรูเปนขอมูล โดยลักษณะที่กลาวมานี้ถือเปนรากฐาน
ของเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชอยูในปจจุบัน แตการทํางานนั้นยังคงเปนการทํางานแบบ
เครื่องกล (machine Model) ไมใชทํางานแบบอิเล็กทรอนิกส
ป ค.ศ. 1942 : Dr. John V. Atanasoff และ Clifford Berry ไดรวมกันตั้ง
Atanasoff Berry Computer Co. (ABC) ซึ่งไดสรางเครื่องคอมพิวเตอรไฟฟา โดยใช
หลอดแกวสุญญากาศ (Vacuum Tubes) ขึ้น เพื่อใชแกสมการที่ยุงยาก
ป ค.ศ. 1946 : Dr. John W. Mauchly และ J. Presper Eckert ไดสรางเครื่อง
คอมพิวเตอรอิเล็กทรอนิกสขึ้น โดยตั้งชื่อวา Eniac ซึ่งนับวาเปนเครื่องคอมพิวเตอรประเภท
ตัวเลขที่ทํางานดวยระบบอิเล็กทรอนิกสเครื่องแรก ประกอบดวยหลอดแกวสุญญากาศจํานวน
18,000 หลอด มีน้ําหนักราว 30 ตัน และใชเนื้อที่ประมาณ 1,500 ตารางฟุต
ป ค.ศ. 1951 : Dr. John W. Mauchly และ J. Presper Eckert ไดซื้อลิขสิทธิ์
ของเครื่อง Eniac มาพัฒนาเปนเครื่องตั้งชื่อวา Edvac โดยบริษัท Remington Rand ไดเสนอ
ซื้อและพัฒนาจนกลายเปนเครื่องคอมพิวเตอรที่สามารถเก็บขอมูลขนาดใหญ ชื่อวา Univac I
ซึ่งถือวาเปนเครื่องคอมพิวเตอรเชิงพาณิชยเครื่องแรกดวย
ป ค.ศ. 1951 – 1959 : ยุคแรกของเครื่องคอมพิวเตอร (The First
Generation of Computers) การนําเครื่องคอมพิวเตอรยูนิแวกค (Univac) ออกสูตลาดในป
1951 นั้นถือเปนยุคแรกของเครื่องคอมพิวเตอร อีกทั้งความสําเร็จนี้เปนผลใหเกิดระบบบัตร
ไอบีเอ็ม (IBM Card System) และเปนแรงผลักดันใหเกิดการแขงขันในการผลิตคอมพิวเตอร
เชิงพาณิชย เชน IBM 650
ป ค.ศ. 1959 – 1964 : ยุคที่สองของเครื่องคอมพิวเตอร (The Second
Generation of Computers) เปนยุคที่นําทรานซิสเตอร (transistor) เขามาใชงานกับ
คอมพิวเตอร ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานไดเร็วขึ้นมาก และมีความแมนยํามากขึ้น
ห น า | 15ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ระบบคอมพิวเตอร (Computer System)
ระบบ (System) คือ กลุมขององคประกอบที่มีความสัมพันธกันและทํางาน
รวมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอรจะมีองคประกอบที่สําคัญ 3 สวน คือ
1. ฮารดแวร (Hardware) คือตัวเครื่องคอมพิวเตอรเชน คียบอรด
จอภาพ CPU Diskette Modem เปนตน
2. ซอฟตแวร (Software) คือลําดับขั้นตอนการทํางานของคําสั่งซึ่งจะ
ทําหนาที่บอกคอมพิวเตอรวาใหทําอะไรโดยทั่วไปซอฟตแวรแบงออกไดเปน 2 ชนิดคือ
Application Software และ System Software
3. บุคลากร (Peopleware) คือบุคคลที่ใชคอมพิวเตอร เชน
Programmer,System Analysis เปนตน จัดวาเปนสวนสําคัญที่สุดของการใชคอมพิวเตอร
ขนาดของคอมพิวเตอร
คอมพิวเตอรแบงออกเปน 6 ประเภท คือ
1. Microcomputer หรือคอมพิวเตอรตั้งโตะ เปนคอมพิวเตอรขนาด
เล็ก ซึ่งทํางานโดยใชระบบผูใชคนเดียว (Single–user System) คอมพิวเตอรประเภทนี้
แบงไดเปน 2 ประเภท คือ
1) Personal Computers (PCs) เปนคอมพิวเตอรที่เคลื่อนยายได
สะดวก เหมาะกับงานประเภท Word Processing และ Spreadsheets
2) Workstations (สถานีงาน) เปนคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพ
สูง ราคาแพง นิยมนําไปใชงานทางดานวิศวกรรมศาสตรและวิทยาศาสตร
2. Minicomputer เปนคอมพิวเตอรที่มีความรวดเร็วในการประมวลผล
และความจุต่ํากวาระบบเมนเฟรม มินิคอมพิวเตอรจะทํางานโดยใชระบบผูใชหลายคน
(Multi–user System) สวนใหญนิยมนํามาประยุกตใชงานกับบริษัทขนาดกลาง
3. Mainframe Computer เปนคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพต่ํารองจาก
Supercomputer มีความเร็วในการประมวลผลและความจุสูง สวนใหญมักจะนําไปใชงานกับ
องคกรขนาดใหญ
4. Supercomputer เปนคอมพิวเตอรที่มีความจุในการจัดเก็บขอมูลสูง
และมีความเร็วในการประมวลผลสูงมาก จึงเหมาะสําหรับการพยากรณอากาศการออกแบบ
เครื่องบิน และงานวิจันทางวิทยาศาสตร
ห น า | 16ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
5. Network Computer เปนการนําเอา Computer หลาย ๆ เครื่อง
มาตอเขาดวยกัน เพื่อแชรขอมูล แชรฮารดแวร แชรซอฟตแวร เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ
สูงสุด
6. Embeded Computer คือ คอมพิวเตอรที่เปนองคประกอบของระบบ
อื่น ซึ่งจะถูกกําหนดขั้นตอนการทํางานโดยเฉพาะ (Dedicated Task) เอาไว เชน ไมโคร
โพรเซสเซอรที่ควบคุมระบบเครื่องยนตของยานพาหนะ
ยุคของคอมพิวเตอร
ไดมีการแบงยุคของคอมพิวเตอรออกเปนยุคตาง ๆ ตามเทคโนโลยีที่
เปลี่ยนแปลงไปไดดังนี้
ยุคที่ 1 เปนยุคของเทคโนโลยีหลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube)
ยุคที่ 2 เปนยุคของเทคโนโลยีทรานซิสเตอร (Transistor) และใชวงแหวน
แมเหล็ก (Magnetic Core) เปนสื่อเก็บขอมูลหลักภายใน
ยุคที่ 3 เปนยุคของ Solid – Logic Technology ซึ่งจะมีการนําเอา
Integrated Circuits (IC) ซึ่งไดแก สารกึ่งตัวนํา (Semiconductor) ชิ้นเล็ก ๆ ที่สามารถ
บรรจุวงจรทางตรรกะ(Logic Circuit) ไวไดหลายวงจร ซึ่งวงจรเหลานี้จะถูกบรรจุไวในแผน
ซิลิคอนซิป (Silicon Chip) จึงทําใหคอมพิวเตอรมีขนาดเล็กลง แตทํางานไดเร็วขึ้น
ยุคที่ 4 เปนยุคของ LSI (Large Scale Integrated Circuit) และ VLSI
(Very Large Scale Integration) โดยที่เทคโนโลยี LSI นําไปสูการพัฒนา Microprocessor
ซึ่งใชในMicrocomputer
ยุคที่ 5 ในยุคนี้จะเนนการออกแบบใหเครื่องมีโพรเซสเซอรหลายๆ ตัว
ทํางานเปนคูขนานไปอันจะเปนการเพิ่มพลังการประมวลผลอยางมหาศาล มีการให
ความสําคัญกับงานปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence) กันมากขึ้น โดยพยายามทําให
คอมพิวเตอรสามารถ ที่จะเรียนรูไดดวยตัวเอง
ประเภทของคอมพิวเตอรตามลักษณะการใชงาน
1. คอมพิวเตอรเอนกประสงค (General–purpose Computers) ไดแก
คอมพิวเตอรที่ใชในทางธุรกิจ เชน งานบัญชีเงินเดือน
การประมวลผลคํา การสํารองที่นั่ง เปนตน
2.
ห น า | 17ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
อุปกรณที่ใชในการสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร
การปอนขอมูล คือ การนําขอมูลเขาไปในเครื่องคอมพิวเตอร โดยการเก็บ
ไวสําหรับประมวลผลโดยทั่วๆ ไปจะปอนขอมูลผานคียบอรด รายละเอียดที่สําคัญเกี่ยวกับ
การปอนขอมูลมีดังนี้
องคประกอบขอมูล ขอมูลที่นําเขาสูคอมพิวเตอร จะมีรูปแบบดังตอไปนี้
1. ตัวอักขระ (Character) เปนหนวยยอยของขอมูลที่เล็กที่สุดที่จะ
นําเขาสูคอมพิวเตอรประกอบดวย ตัวอักษร (Letter) ตัวเลข (Number) และสัญลักษณ
พิเศษอื่น ๆ (Special Character) เชน $ ? ; & ฯลฯ ตัวอักขระ 1 ตัว เมื่อมีการเก็บ
อยูในคอมพิวเตอรไมวาจะอยูในหนวยความจําหลักหรือหนวยเก็บขอมูลสํารอง จะถูกเก็บอยู
ในรูปแบบของ "ตัวเลขฐานสอง (Binary Digit)" ที่ประกอบดวยตัวเลข 0 และ 1
จํานวน 8 ตัว หรือ 8 บิต หรือ 1 ไบต (Byte)
2. ฟลด (Field) เรียกอีกอยางหนึ่งวา "เขตขอมูล" เปนกลุมของตัว
อักขระแตละตัวที่มาประกอบกันขึ้น ตุวอยางเชน ขอมูลของลูกคาของบริษัทจะตองมีรหัส
ประจําตัว ชื่อลูกคา ฯลฯ รหัสประจําตัวจะประกอบดวยตัวเลขหลาย ๆ ตัว มาประกอบ
กัน สวนชื่อลูกคาแตละคนก็จะประกอบดวยตัวอักษรหลาย ๆ ตัวมาประกอบกัน และรหัส
ประจําตัวก็ถือวาเปนฟลด 1 ฟลด และชื่อลูกคาก็ถือวาเปนฟลดอีก 1 ฟลด เปนตน
3. เรคอรด (Record) เรียกอีกอยางหนึ่งวา "ระเบียน" เปนกลุมของ
ฟลดหลายฟลดมารวมกันเปนเรคอรด เชน เรคอรดของลูกคา ประกอบดวย รหัสประจําตัว
ลูกคา ชื่อลูกคา ที่อยู และหมายเลขโทรศัพทเปนตน
4. ไฟลขอมูล (Data Files) เรียกอีกอยางหนึ่งวา "แฟมขอมูล" เกิด
จากการรวมกลุมของ เรคอรดชนิดเดียวกันเขาดวยกัน ตัวอยางเชน ไฟลพนักงานของ
บริษัท จะประกอบดวยกลุมของเรคอรดพนักงานทั้งหมดของบริษัท
5. ฐานขอมูล (Database) เปนที่เก็บรวบรวมของไฟลขอมูลหลาย ๆ
ไฟลที่สัมพันธกันรวมอยูในระบบเดียวกันซึ่งแตละไฟลจะตองมีความซ้ําซอนของขอมูลนอย
ที่สุด เพื่อที่จะประหยัดเนื้อที่ในการเก็บขอมูล และเพื่อใหการคนหาขอมูลสามารถทําได
อยางสะดวก
ห น า | 18ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
วิธีการปอนขอมูล มี 2 ลักษณะ คือ
1. การประมวลผลแบบกลุม (Batch) เปนวิธีการปอนขอมูลที่มีการ
รวบรวมขอมูลไวกอนในชวงเวลาหนึ่ง ซึ่งเปนกลุมของระเบียนขอมูล ตอจากนั้นจึงนําขอมูล
มาประมวลผลพรอมกัน เชน การประมวลผลเงินเดือนของพนักงาน เปนตน
2. การประมวลผลแบบเชื่อมโยงโดยตรง (Online Entry) เรียกอีก
อยางหนึ่งวา "Real–time Processing" เมื่อมีการปอนขอมูลเกิดขึ้น ขอมูลเหลานั้นจะถูก
นําไปเก็บไวในคอมพิวเตอรทันที การประมวลผลวิธีนี้มีประโยชนคือ
1) สามารถตรวจสอบขอผิดพลาดและความถูกตองไดทันทีทันใด
2) แฟมขอมูลจะถูกแกไขใหเปนปจจุบันทันที
3) สามารถใหคํายืนยันตอลูกคาไดในทันทีทันใด
4) เหมาะกับงานทางดานธุรกิจที่มีการแขงขัน เนื่องจากชวยให
การประมวลผลรวดเร็วและมีประสิทธิภาพดี เชน การฝากถอนเงินกับธนาคาร, การใชบัตร
ATM, การจองตั๋วสายการบิน เปนตน
ชนิดของการตรวจสอบความผิดพลาด
ระบบที่ดีควรมีการออกแบบเพื่อปองกันความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได โดยใช
เทคนิคหรือวิธีการตาง ๆ ดังนี้
1. Field Missing Test เปนการตรวจสอบฟลดตาง ๆ ที่ใชในระบบ
เชน ในระบบรับ–จายเงิน ตองมีการปอนฟลดชื่อ ฟลดหมายเลขลูกคา เปนตน
2. Limit Test เปนวิธีการตรวจสอบคาที่ใชไดในระบบ หากคาที่
ปอนเขาไปเกินคาสูงสุดหรือเปนคาที่เปนไปไมได ระบบจะมีขาวสาร (Message) โตตอบ
กลับมา โดยจะปรากฏบนจอภาพเพื่อใหผูปอนขอมูลทราบ
3. Context Test เปนการตรวจสอบขอมูลในฟลด เชน ฟลดหมายเลข
ลูกคา ขอมูลที่ปอนตองเปนตัวเลขเทานั้น หากมีการปอนตัวอักษรอื่น ๆ ระบบจะไม
ยอมรับ
4. Range Test เปนการตรวจสอบชวงของขอมูล เชน กรณีปอนคา
ของเดือน ตองอยูในชวงระหวาง 01 ถึง 12 เทานั้น
5. Transposition Error เปนความผิดพลาดของขอมูลจากผูปอนขอมูล
ซึ่งความผิดพลาดนี้สามารถปองกันไดโดยทําการปอนขอมูลซ้ําเพื่อตรวจสอบ
ห น า | 19ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแวร
ลิขสิทธิ์ซอฟตแวร หมายถึง การไมอนุญาตใหทําซ้ําเพื่อเผยแพรหรือ
จําหนาย นอกจากนี้การนําซอฟตแวรไปทําซ้ําเพื่อใชในคอมพิวเตอรหลาย ๆ ระบบภายใน
หนวยงานเดียวกัน โดยที่เจาของลิขสิทธิ์ใหใชเพียงคอมพิวเตอรระบบเดียวก็ถือเปน
ความผิดเชนกัน
วิธีการปองกันการละเมิดลิขสิทธิ์ คือ กําหนดใหมีแผน Original System
ของซอฟตแวรทุกครั้งที่มีการรันโปรแกรมที่จะใชงาน มิฉะนั้นจะไมสามารถใชงานได เรา
เรียกแผน Original System Disk นี้วา Key Disk
การขอลิขสิทธิ์ซอฟตแวรมี 2 รูปแบบ คือ
1. Site Licensing หมายถึง การขออนุญาตการใชซอฟตแวรประเภท
ใดประเภทหนึ่ง กับคอมพิวเตอรหลาย ๆ ระบบภายในหนวยงานเดียวกัน ซึ่งผูใชมีสิทธิ์ทํา
สําเนาซอฟตแวรไดหลาย ๆ สําเนา โดยแตละสําเนาเพื่อคอมพิวเตอร 1 ระบบ ซึ่งถือวา
เปนวิธีที่จะชวยประหยัดคาใชจายได
2. Network Licensing หมายถึง การมีซอฟตแวร 1 ระบบ และใช
ในคอมพิวเตอรระบบเครือขาย โดยจะมีการติดตั้งซอฟตแวรดังกลาวไวที่คอมพิวเตอรที่ทํา
หนาที่เปน Server และจะใชไดกับซอฟตแวรที่มีลักษณะเปน Multi–user เทานั้น
อาชญากรรมในทางคอมพิวเตอร
สามารถแบงออกไดเปน 3 ประเภท ดังนี้คือ
1.การละเมิดลิขสิทธิ์ในการใชงานในระบบคอมพิวเตอรเปน
อาชญากรรมที่คอนขางจะปรากฏแพรหลายมากในหมูผูใชคอมพิวเตอร โดยปกติผูกอ
อาชญากรรมประเภทนี้มักจะไมคอยทําลายขอมูลในแฟมของระบบเทาใดนัก นอกจากจะ
เขาไปเพื่อขอดูสารสนเทศบางอยางที่ตนเองตองการทั้ง ๆ ที่ตนเองไมมีสิทธิ์
วิธีปองกันอาชญากรรมประเภทนี้คือ สรางระบบความปลอดภัยที่มี
การกําหนดการปองกันไวหลาย ๆ ระดับ เชน การกําหนดรหัสผาน (Password) เพื่อใช
สิทธิในการใชขอมูล หรืออาจใชวิธีการสอบถามหมายเลขโทรศัพทของผูใชดวย ซึ่งถาตอบ
ผิดจะไมอนุญาตใหเขาไปในระบบ
2. การโจรกรรมโดยใชคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือ เปนการใช
คอมพิวเตอรในการยักยอกเงินจากผูอื่นโดยโอนเงินเขาบัญชีของตนเอง โดยปกติพวกที่กอ
อาชญากรรมประเภทนี้มักจะทําในกรณีของการประมวลผลแบบ Transaction
ห น า | 20ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
3. การขโมยเวลาใชเครื่องคอมพิวเตอร เปนการใชเครื่อง
คอมพิวเตอรของสํานักงานเพื่อทําธุรกิจสวนตัว เชน การพิมพจดหมายสวนตัว หรือทํา
บัตรอวยพรของตน เปนตน
ไวรัสคอมพิวเตอร (Computer Virus)
ไวรัสคอมพิวเตอร คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งซึ่งซอนตัวอยูในโปรแกรมอื่นใน
ระบบ ไวรัสเหลานี้จะเปนโปรแกรมที่เขียนมาเพื่อเจตนาจะกอกวนและทําลายลางระบบการ
ทํางานของโปรแกรมอื่น โดยปกติแลวไวรัสนั้นมักจะเขาไปฝงตัวอยูในระบบปฏิบัติการ เชน
อยูบน COMMAND.COM บน DOS ซึ่งเปนระบบปฏิบัติการที่นิยมใชกันบนเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร
วิธีการปองกันไวรัสบนคอมพิวเตอร อาจทําไดดังนี้
– อยา Load Program จากแผนดิสเกตตที่ไมแนใจปลอดไวรัสเขาสูระบบ
คอมพิวเตอร
– จะตองมีการตรวจสอบซอฟตแวรใหแนใจวาปลอดภัยจากไวรัสกอนจึงจะนํามาใช
งานได
– ใชโปรแกรมวัคซีน (Vaccine Program) โดยที่โปรแกรมวัคซีนจะมีหนาที่
ตรวจสอบซอฟตแวรที่จะใชวามีไวรัสหรือไม
บุคลากรที่ใชคอมพิวเตอรควรมีลักษณะอยางไร
ผูที่ใชคอมพิวเตอรไดนั้นไมจําเปนตองมีความรูหรือความเชี่ยวชาญในทาง
คณิตศาสตรในระดับสูง ผูที่จะใชคอมพิวเตอรเพื่อทํางานทางธุรกิจนั้น ขอใหมีความรูทาง
คณิตศาสตรในระดับพื้นฐาน เพื่อทํากิจกรรมทางธุรกิจบางอยาง เชน การวางแผนก็
เพียงพอแลวที่จะสั่งงานคอมพิวเตอรได
ผูที่ใชคอมพิวเตอรในระดับ User ไมจําเปนตองเขียนโปรแกรมได เพราะ
เปนหนาที่ของผูเขียนโปรแกรมเฉพาะดานอยูแลว ในระดับของผูใชนั้นก็เพียงแตตองมีการ
อบรมใหความรูในการใชงานก็เพียงพอแลว
ห น า | 21ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร พ.ศ. 2550
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2550
เปนปที่ 62 ในรัชกาลปจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรด
เกลาฯ ใหประกาศวา
โดยที่เปนการสมควรมีกฎหมายวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและ
ยินยอมของสภานิติบัญญัติแหงชาติ ดังตอไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติวาดวยการกระทํา
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดสามสิบวันนับแตวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้
“ระบบคอมพิวเตอร” หมายความวา อุปกรณหรือชุดอุปกรณของ
คอมพิวเตอรที่เชื่อมการทํางานเขาดวยกัน โดยไดมีการกําหนดคําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใด
และแนวทางปฏิบัติงานใหอุปกรณหรือชุดอุปกรณทําหนาที่ประมวลผลขอมูลโดยอัตโนมัติ
“ขอมูลคอมพิวเตอร” หมายความวา ขอมูล ขอความ คําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือ
สิ่งอื่นใดบรรดาที่อยูในระบบคอมพิวเตอรในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอรอาจประมวลผลได
และใหหมายความรวมถึงขอมูลอิเล็กทรอนิกสตามกฎหมายวาดวยธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกสดวย
“ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร” หมายความวา ขอมูลเกี่ยวกับการ
ติดตอสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร ซึ่งแสดงถึงแหลงกําเนิด ตนทาง ปลายทาง เสนทาง
เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลา ชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการติดตอสื่อสาร
ของระบบคอมพิวเตอรนั้น
“ผูใหบริการ” หมายความวา
ห น า | 22ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
(1) ผูใหบริการแกบุคคลอื่นในการเขาสูอินเทอรเน็ต หรือใหสามารถติดตอถึง
กันโดยประการอื่น โดยผานทางระบบคอมพิวเตอร ทั้งนี้ ไมวาจะเปนการใหบริการในนาม
ของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น
(2) ผูใหบริการเก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น
“ผูใชบริการ” หมายความวา ผูใชบริการของผูใหบริการไมวาตองเสียคาใช
บริการหรือไมก็ตาม
“พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตาม
พระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 4 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตาม
พระราชบัญญัตินี้
กฎกระทรวงนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได
หมวด 1
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร
มาตรา 5 ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอรที่มีมาตรการปองกัน
การเขาถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหก
เดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา 6 ผูใดลวงรูมาตรการปองกันการเขาถึงระบบคอมพิวเตอรที่ผูอื่น
จัดทําขึ้นเปนการเฉพาะ ถานํามาตรการดังกลาวไปเปดเผยโดยมิชอบในประการที่นาจะเกิด
ความเสียหายแกผูอื่น ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือ
ทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา 7 ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรที่มีมาตรการปองกัน
การเขาถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน
สองป หรือปรับไมเกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา 8 ผูใดกระทําดวยประการใดโดยมิชอบดวยวิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกสเพื่อดักรับไวซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรของผูอื่นที่อยูระหวางการสงในระบบ
คอมพิวเตอร และขอมูลคอมพิวเตอรนั้นมิไดมีไวเพื่อประโยชนสาธารณะหรือเพื่อให
บุคคลทั่วไปใชประโยชนได ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่น
บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ห น า | 23ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
แนวขอสอบคอมพิวเตอร ชุดที่ 1
1. คอมพิวเตอรกระเปาหิ้ว แบบพกพาได (Portable Computer) เปนคอมพิวเตอรขนาดใด
ก. Mainframe Computer ข. Supercomputer
ค. Microcomputer ง. Minicomputer
ตอบ ค. Microcomputer
Microcomputer หรือคอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ เปนคอมพิวเตอรขนาดเล็ก ซึ่งแบง
ออกไดเปน 2 ประเภท คือ
1. Personal Computers (PCs) เปนคอมพิวเตอรตั้งโตะที่เคลื่อนยายไดสะดวก
เหมาะกับการใชในสํานักงานหรือใชงานคนเดียว เชนNotebook Computer, Pocketbook
Computer, Portable Computer เปนตน
2. Workstations เปนคอมพิวเตอรตั้งโตะที่มีประสิทธิภาพสูง และราคาแพง สวนมาก
จะนํามาใชในงานที่มีความยุงยากซับซอน เชน งานวิศวกรรมศาสตร วิทยาศาสตร เปน
ตน
2.คอมพิวเตอรขนาดใดตอไปนี้ที่เหมาะสําหรับงานคาดคะเนอากาศ งานสํารวจอวกาศ งาน
ทางดานวิจัยที่ตองการความเร็วสูงมาก
ก. Mainframe Computer ข. Supercomputer
ค. Microcomputer ง. Minicomputer
ตอบ ข. Supercomputer
Supercomputer เปนคอมพิวเตอรขนาดใหญที่สามารถจุขอมูลไดเปนจํานวนมากและ
มีความเร็วในการประมวลผลสูงมาก ซึ่งเหมาะสําหรับงานออกแบบขนาดใหญและซับซอน
โดยเฉพาะงานวิจัยทางวิทยาศาสตร เชน การพยากรณอากาศ การสํารวจอวกาศ เปนตน
3. สวนใดตอไปนี้ในระบบคอมพิวเตอรที่เปรียบเสมือนสมองของเครื่องคอมพิวเตอร มีความ
สามารถในการจดจําขอมูล และสามารถคํานวณและเปรียบเทียบได
ก. Input Unit ข. Output Unit
ค. Processor ง. Secondary Storage
ตอบ ค. Processor
ห น า | 24ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ตัวประมวลผล (The Processor) หรืออาจเรียกอีกอยางหนึ่งวา หนวยประมวลผล
กลาง หรือซีพียู (CPU) หมายถึง สมองของระบบคอมพิวเตอร ซึ่งมีหนาที่ควบคุมและ
จัดการขอมูล(Data) ที่ปอนเขามาใหเปนสารสนเทศ (Information)
4.สวนใดตอไปนี้ที่ทําหนาที่ในการลําเลียงขอมูลหรือตําแหนงที่อยูของขอมูลตาง ๆ เพื่อ
กระทํากิจกรรมตาง ๆ ในระบบคอมพิวเตอร
ก. CPU ข. ALU
ค. Control Unit ง. Bus
ตอบ ง. Bus
บัส (Bus) หมายถึง วงจรไฟฟาซึ่งจะทําหนาที่สงขอมูลและขอความระหวางสวนประกอบ
อื่น ๆ ของระบบคอมพิวเตอร โดยบัสนี้สามารถแบงออกไดเปน 3 ประเภท คือ
1. บัสขอมูล (Data Bus) ใชสําหรับสงขอมูลระหวางหนวยความจําและไมโคร
โพรเซสเซอร
2. บัสเลขที่อยู (Address Bus) ใชเพื่อระบุตําแหนงของหนวยความจําที่จะนํามาใช
3. บัสควบคุม (Control Bus) ใชสําหรับสงสัญญาณควบคุมไปยังหนวยตาง ๆ
5. อุปกรณใดตอไปนี้เปน Input Device
ก. Keyboard ข. Mouse
ค. Plotter ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
Input Hardware เปนอุปกรณที่รับขอมูลเขาสูเครื่องคอมพิวเตอรโดยการปอนขอมูล
จากผูใชคอมพิวเตอร ไดแก Keyboard, Mouse, Trackball, Scanning Devices, Fax
Machines และImage Scanners สวน Plotter จัดเปน Output Hardware และ Modem
จัดเปน Communication Devices
6. อุปกรณใดตอไปนี้ที่มีการแสดงผลออกมาในรูปของ Soft Copy
ก. Plotter ข. Printer
ค. Hard Disk ง. Display Screen
ตอบ ง. Display Screen
การนําเสนอผลขอมูล (Output) แบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ
ห น า | 25ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
16.ถาทานตองการหาคาเฉลี่ยของขอมูลในขอบเขตที่ตองการทานใชฟงกชันในขอใดถูกตอง
ที่สุด
ก. =Average (B2) ข. =Average (B2..B8)
ค. =Average (B2:B8) ง. =Average (B2–B8)
ตอบ ค.
จากสูตร =Average (B2:B8) เปนการหาคาเฉลี่ยของคาที่อยูในเซลล B2 ถึง B8
17.ขอใดกลาวถูกตอง
ก. การใช Integrated Package ชวยลดจํานวนโปรแกรมประเภทตาง ๆ ลง
ข. การใชโปรแกรมสําเร็จรูปประเภทตาง ๆ จะชวยใหประหยัดคาใชจายมากกวาการใช
Integrated Software
ค. การใช Integrate Software มีขนาดเล็กสามารถใชงานไดโดยทั่วไปกับเครื่อง
คอมพิวเตอรระดับพีซีทั่วไป
ง. Desktop Manager จัดวาเปน Integrated Software
ตอบ ก.
โปรแกรมเบ็ดเสร็จ (Integrated Program) คือ โปรแกรมที่รวมหนาที่ของซอฟตแวร
ตั้งแต 2 หนาที่ขึ้นไปใหอยูในโปรแกรมเดียวกัน เชน มีการประมวลผลคําและการจัดการ
ฐานขอมูลรวมอยูดวยกัน ตัวอยางของโปรแกรมเบ็ดเสร็จ ไดแก Microsoft Works ซึ่งมี
ขอดี คือ ชวยลดจํานวนโปรแกรมประเภทตาง ๆ ที่จะตองใชลง
18.ขอใดตอไปนี้ไมจัดเปนเครื่องมือของระบบสํานักงาน (Office Tools)
ก. Clock ข. Notepad
ค. Calendar ง. Microsoft Office
ตอบ ง. Desktop Manager
เปนโปรแกรมประเภทฝงตัวที่จะอํานวยความสะดวก โดยใชเปนเครื่องมือของระบบ
สํานักงาน (Office Tools) โดยมีคุณสมบัติดังนี้คือ
1. Appointment Book
2. Calendar
3. Clock
4. Notepad
ห น า | 26ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
5. Phone Book and Dialer
6. Stop Watch
7. Text Editor
19.โปรแกรมในขอใดตอไปนี้สามารถจัดลําดับของงานที่พิมพแตละงานได และสามารถ
ยกเลิกการพิมพได
ก. Ram Disk ข. Print Spooler
ค. Project Management ง. Sidekick
ตอบ ข.
Print Spooler เปนซอฟตแวรในระบบปฏิบัติการหรือระบบปฏิบัติการเครือขายที่
จัดการแถวรอการพิมพ และใหพิมพงานตอกันตามลําดับ โดยจะสงงานเหลานั้นให
เครื่องพิมพไปอยูเบื้องหลัง
20.แผนภาพในขอใดที่ใชในการวางแผน โดยแสดงทิศทางและความสัมพันธของงานแตละ
อยางของขายงานภายในระบบ โดยแจงรายละเอียดวางานใดเปนงานที่จัดวาเปนงานวิกฤติ
และงานแตละงานใชเวลาเทาใดเพื่อกําหนดและควบคุมโครงการใหสําเร็จทันเวลาที่กําหนด
ก. PERT ข. Gantt Chart
ค. Critical ง. CAD
ตอบ ก.
แผนภาพของ PERT เปนแผนภาพที่แสดงทิศทางและความสัมพันธของงานแตละ
อยางของขายงานภายในระบบ โดยแจงรายละเอียดวางานใดเปนงานที่จัดวาเปนงานวิกฤติ
และงานแตละงานใชเวลาเทาไร สวน Gantt Chart จะแสดงรายละเอียดในแตละขั้นตอน
ยอยของขั้นตอนการออกแบบระบบ โดยแสดงระยะเวลาที่คาดวาจะดําเนินงานในแตละงาน
จนเสร็จทั้งนี้เพื่อใชในการวางแผนและควบคุมงานในแตละขั้นตอน
21.ขอใดกลาวผิด
ก. ผูที่เกี่ยวของกับการใช CAD มากที่สุดคือวิศวกร และสถาปนิก
ข. ความสามารถพิเศษของ CAM คือการวาดรูป
ค. อุปกรณที่ใชสําหรับการแสดงผลจากการวาดรูปคือ Plotter
ง. โดยปกติเราจะใช CAD และ CAM คูกัน
ตอบ ข.
ห น า | 27ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740
แจงการโอนเงิน พรอมชื่อ และอีเมลลที่
LINE ID : sheetram
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,
085-9993722,085-9993740

Mais conteúdo relacionado

Mais de บ.ชีทราม จก.

ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

Mais de บ.ชีทราม จก. (7)

ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

ข้อสอบ เจ้าหน้าที่เครื่องคอมพิวเตอร์ E-BOOK สกย แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แนวข้อสอ

  • 1. ห น า | 1ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
  • 2. ห น า | 2ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ขอบเขตเนื้อหา สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ประวัติ สกย. 5 ภารกิจ/ยุทธศาสตร สกย. 11 วิสัยทัศน 12 คานิยมองคกร 12 พันธกิจ 13 วัตถุประสงค 13 เปาหมายหลัก 13 ยุทธศาสตร 14 ภารกิจ/บริการ 15 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง 19 การปลูกยางพารา 19 การบํารุงรักษา 32 โรคและศัตรูพืชที่สําคัญของยางพารา 37 การปฏิบัติระยะตนยางใหผลผลิต 45 การแปรรูปผลผลิต 47 มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ 50 สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของ พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 53 พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 68 แนวขอสอบพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) แกไขเพิ่มเติมถึงพ.ศ. 2530 79 แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 86 สวนที่ 3 ความรูเฉพาะตําแหนง ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 93 ประวัติของคอมพิวเตอร 93
  • 3. ห น า | 3ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ระบบคอมพิวเตอร (Computer System) 97 อุปกรณที่ใชในการสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร 105 เลขฐานในเครื่องคอมพิวเตอร 112 ระบบฐานขอมูล และการใชฐานขอมูล 113 แฟมขอมูลและการจัดการแฟมขอมูล 114 การจัดการของแฟมขอมูล (File Organizing) 117 ประเภทการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร 121 ระบบฐานขอมูลและการใชฐานขอมูล 124 ระบบเครือขาย 125 อินเตอรเน็ต (Internet) 129 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 131 ประเภทขาวสารขอมูล 133 เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology – IT) 140 โปรแกรมประยุกตใชงานประเภทตางๆ 144 การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแวร 148 ไวรัสคอมพิวเตอร (Computer Virus) 149 ไมโครซอฟท เวิรด (Microsoft Word) 151 ไมโครซอฟท เอ็กเซล (Microsoft Excel) 154 ไมโครซอฟท พาวเวอรพอยท (Microsoft PowerPoint) 155 สวนที่ 4 กฎหมายที่เกี่ยวของ พรบ.วาดวยการกระทําผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 168 สวนที่ 5 ตัวอยางแนวขอสอบ แนวขอสอบ Microsoft Excel 157 แนวขอสอบ Microsoft Word 161 แนวขอสอบ Microsoft PowerPoint 166 แนวขอสอบ คอมพิวเตอร ชุดที่ 1 177 แนวขอสอบ คอมพิวเตอร ชุดที่ 2 186 แนวขอสอบ คอมพิวเตอร ชุดที่ 3 205
  • 4. ห น า | 4ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ประวัติ สกย. ทศวรรษแรก (ป 2503-2513) สรางความเชื่อมั่นแกชาวสวนยาง การ ดําเนินงานในทศวรรษแรก สมัยรัฐบาลจอม พลสฤษดิ์ ธนรัชต มีสํานักงานใหญ ตั้งอยูที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ และมีสํานักงานสวนภูมิภาค ตั้งอยูในเขตปลูกยาง หนาแนน ในภาคใต และภาคตะวันออก รวม 6 เขต ไดแก ภูเก็ต นครศรีธรรมราช สงขลา ยะลา และจันทบุรี มีขุนวิจิตรพา หนการ เปนผูอํานวยการ คนแรก ดํารงตําแหนงระหวาง วันที่ 1 มกราคม 2504 – 30 กันยายน 2508 คณะทํางานชุดแรกเปน พนักงานที่สําเร็จ การศึกษาระดับ ปริญญาตรีดานการเกษตร จํานวน 11 คนเปนหลัก ทํางานทั้งดาน ภาคสนามและการเงิน การบัญชี ซึ่งพนักงานชุดแรกนี้ตอมาไดเปน ผอ.สกย. ถึง 3 คน คือ นายณรงค สุจเร นายสมศักดิ์ โรหิตรัตนะ และนายเสวต ทองรมย หลังจากนั้นอีก ประมาณ 5-6 เดือน จึงมีพนักงาน ดานการเกษตรและดานการเงิน และบัญชี เขามาปฏิบัติงานเสริมอีก 25 คน ทําใหการสงเคราะห ดําเนินการไดรวดเร็ว และ คลองตัวยิ่งขึ้น ดวยความที่งานดานการสงเคราะหเปนงานใหมของประเทศ ไทย การทํางาน ในยุคเริ่มตน จึงประสบความ ลําบาก ในการทําความเขาใจกับประชาชน พอสมควร แตดวย ความมุงมั่น และอุดมการณอันแรงกลา ที่จะพลิกสถานการณ การผลิตยาง ของประเทศ และ นํามาซึ่งความอยูดีกินดีของชาวสวนยาง ในขณะนั้น ทําใหเกษตรกรเขาใจในเหตุผล และ ประโยชนที่จะไดรับในที่สุด อีกทั้งใหความเชื่อมั่นและไววางใจเปนอยางสูง อยางที่ไมมี หนวยงานราชการใดเคยไดรับมากอน โดยเฉพาะอยาง ยิ่งสิ่งที่พนักงาน สกย. ตองจดจํา ไวเปนพิเศษ คือในชวงป 2505 หลังจากกอตั้ง สกย. เพียง 2 ปเศษ ไดเกิดวาตภัยครั้งใหญที่ จ.นครศรีธรรมราช สงผลให ประชาชนตองประสบความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสิน สกย. ไดระดมพนักงานจํานวนมาก ไปชวยเหลือเกษตรกร ชาว สวนยางที่ประสบภัยพิบัติอันรายแรงอยางไมเคยเปนมากอน พนักงาน สกย. ทั้งหมดตางเรงเขาไปในพื้นที่ ระดมพลังทุมเท ความสามารถที่มีอยู เพื่อ บรรเทาความเดือดรอนใหเกษตรกรผูประสบภัยเหลานั้น อยางไมเห็นแกเหน็ดเหนื่อย แมทุก คนจะ ทุกขกายแตตางสุขใจและภาคภูมิที่ได ชวยเหลือสังคมอยางเต็มกําลัง ทําใหชื่อเสียง ของ สกย. โดดเดนขึ้นมาอยูในความ ทรงจําของชาวสวนยางพาราทั่วไป
  • 5. ห น า | 5ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ วิสัยทัศน "มุงพัฒนายางพาราครบวงจร นําสังคมชาวสวนยางไปสูความเขมแข็งและยั่งยืน” พัฒนายางพาราจากการผลิต เริ่มตั้งแตการปลูกจนกระทั่งเก็บเกี่ยวผลผลิต การแปรรูป เบื้องตน เปนผลิตภัณฑยางอุตสาหกรรมและการตลาด โดยเริ่มจากตัวเกษตรกรมีความรูสู ครอบครัวที่อบอุน ชุมชน และสังคมชาวสวนยางเขมแข็ง คานิยมองคกร สกย. ไดกําหนดคานิยมองคกรที่จะใชเปนบรรทัดฐานสําหรับพนักงานไดนําไปใชเปน หลักปฏิบัติเพื่อรวมกันขับเคลื่อนองคกรใหกาวหนาบรรลุสูเปาหมายของ องคกร ดังนี้ O : Outcome มุงผลสําเร็จของการทํางาน R : Responsibility ความรับผิดชอบ R : Relationship สรางความสัมพันธที่ดีระหวางกัน A : Active Teamwork การทํางานเปนทีม F : Faith ซื่อสัตยสุจริต พันธกิจ 1. สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่ ลดตนทุนการผลิต และปลูกยางเพิ่มในพื้นที่ที่เหมาะสม 2. สงเสริมการดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และสรางความเขมแข็ง ใหกับสถาบันเกษตรกร 3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการตลาดยางพารา และขยายตลาดยางพารา ระดับทองถิ่น ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยาง บนพื้นฐานความรวมมือของ เกษตรกร 4. สงเสริมการปลูกสรางสวนยางใหมีมาตรฐาน เกื้อกูลระบบนิเวศนและสิ่งแวดลอม 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ วัตถุประสงค 1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา และพัฒนาระบบตลาด เพิ่มรายได และลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร
  • 6. ห น า | 6ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ 2. เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และสถาบันเกษตรกร มีการ ดําเนินการที่มีมาตรฐานอยางตอเนื่อง 3. เพื่อใหการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ คุมคา และฟนฟูทรัพยากรใหมีความ เหมาะสมตอการผลิต โดยเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรเขามามีสวนรวมในการบริหาร จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม 4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงาน อยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง ใหการปฏิบัติงานเปนไปตาม วัตถุประสงค เปาหมาย และเปนองคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใตหลักธรรมาภิบาล เปาหมายหลัก 1. เพิ่มผลผลิตโดยการใหการสงเคราะหปลูกแทนโดยใชพันธุยางที่ใหผลิตสูงกวา ตน ยางเกา และใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อใหสวนสงเคราะหตั้งแตรุนป 2555 สามารถให ผลผลิตไดภายใน 6 ป และสงเสริมใหมีการปลูกยางเพิ่มในพื้นที่เหมาะสม 2. ลดตนทุนการผลิตโดยการสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยาง ใชทรัพยากรอยาง คุมคา อนุรักษสิ่งแวดลอมและมีความรูสามารถใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการดูแล รักษา สวนและเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมทั้งรวมกันในการบริหารจัดการผลผลิต และการจําหนาย ผลผลิตอยางมีประสิทธิภาพ 3. สรางความมั่นคงใหกับเกษตรกร โดยสงเสริมใหมีการรวมตัวเพื่อดําเนินกิจกรรม และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องการผลิต การแปรรูป การตลาด อาชีพเสริม และอื่นๆ ตามความเหมาะสม และพัฒนาไปสูเปนสถาบันเกษตรกรที่เปนนิติบุคคล 4. ดําเนินการตลาดประมูลยางระดับทองถิ่น ครอบคลุมพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูก ยางพารา และตลาดไดรับการยอมรับจากผูใชบริการ ราคาซื้อขายเปนราคาอางอิงของราคา ในตลาดทองถิ่น 5. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการองคกร ใหเทียบเทามาตรฐานสากล และเสริมสราง ทัศนคติ คานิยม วัฒนธรรมการทํางาน พรอมรับการเปลี่ยนแปลง รวมถึง เสริมสราง ศักยภาพในการดําเนินงานสูความเปนเลิศภายใตหลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร
  • 7. ห น า | 7ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2542 เปนปที่ 54 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ โปรดเกลาฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการควบคุมยาง พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง กฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและ ยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราช กิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา 3 ใหยกเลิก (1) พระราชบัญญัติควบคุมยาง พุทธศักราช 2481 (2) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2483 (3) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2490 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea brasiliensis) และหมายความ รวมถึงตนยางชนิดอื่นซึ่งรัฐมนตรีประกาศกําหนดใหเปนตนยางที่อยูภายใตการควบคุมตาม พระราชบัญญัตินี้ “ตนยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดวาเปนตน ยางพันธุที่เหมาะสมที่จะใชปลูกเปนสวนยาง “ยาง” หมายความวา น้ํายางสด ยางกอน เศษยาง น้ํายางขน ยางแผน ยาง แทง ยางเครพ หรือยางในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตนยาง และ
  • 8. ห น า | 8ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ หมายความรวมถึงยางผสมไมวาในสภาพของแข็งหรือของเหลวซึ่งมียางธรรมชาติผสมกับ สารเคมีหรือสารอื่น แตไมรวมถึงวัตถุประดิษฐสําเร็จรูปจากยาง “เนื้อยาง” หมายความวา เนื้อยางที่มีอยูในน้ํายางหรือยางแตละชนิดโดย คํานวณเปนน้ําหนักตามกรรมวิธีที่กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณกําหนด “สวนยาง” หมายความวา ที่ดินซึ่งมีตนยางปลูกอยูในเนื้อที่ไมนอยกวาหนึ่ง ไร แตละไรมีตนยางไมนอยกวาสิบตน หรือในกรณีที่มีเนื้อที่ปลูกยางติดตอกันมากกวาหนึ่ง ไร ตองมีสวนเฉลี่ยไมนอยกวาไรละยี่สิบหาตนของจํานวนเนื้อที่ทั้งหมด “ทําสวนยาง” หมายความวา ปลูกตนยางในสภาพที่เปนสวนยาง บํารุงรักษา ตนยาง กรีดตนยาง หรือทําน้ํายางสดใหเปนยางกอน เศษยาง หรือยางแผนดิบ “เขตควบคุมการขนยายยาง” หมายความวา เขตพื้นที่ที่รัฐมนตรีประกาศ กําหนดเปนเขตควบคุมการขนยายยาง “โรงทํายาง” หมายความวา สถานที่ที่ใชน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือ ยางแผนดิบมาแปรรูปเปนน้ํายางขน ยางผึ่งแหง ยางแผนรมควัน ยางแทง ยางเครพ ยางดิบ ชนิดอื่น ๆ อยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยางรวมกัน และหมายความรวมถึงสถานที่ที่ผลิต ยางผสม แตไมรวมถึงสถานที่ที่ทํายางแผนดิบ “ปริมาณควบคุมเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรี ประกาศกําหนดใหผูทําสวนยางทําการผลิตเนื้อยางไดตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรี ประกาศกําหนด “ปริมาณจัดสรรเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรีประกาศ จัดสรรใหผูนํายางเขาหรือผูสงยางออก นําเนื้อยางเขามาในหรือสงเนื้อยางออกไปนอก ราชอาณาจักรได ตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด “มาตรฐานยาง” หมายความวา ลักษณะของยางแตละชนิดหรือชั้นตามที่ รัฐมนตรีประกาศกําหนด “วิธีการมัดยางและการบรรจุหีบหอยาง” หมายความวา วิธีการมัดยางและ การบรรจุหีบหอยางตามวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด “คายาง” หมายความวา ซื้อ ขาย หรือแลกเปลี่ยนยาง และหมายความ รวมถึงซื้อยาง ขายยาง ตามตราสารที่บุคคลหนึ่งบุคคลใดเปนผูออกตราสารนั้นหรือโดย ประการอื่น แตไมรวมถึงกรณีที่ผูทําสวนยางขายน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือยางแผน ดิบ ซึ่งเปนผลิตผลจากสวนยางของตน “ผูอนุญาต” หมายความวา อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย
  • 9. ห น า | 9ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ แนวขอสอบพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 5. สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไรขึ้นไป เปนสวนขนาดใด ก. สวนขนาดทดลอง ข. สวนขนาดเล็ก ค. สวนขนาดกลาง ง. สวนขนาดใหญ ตอบ ง. สวนขนาดใหญ “สวนขนาดใหญ” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไรขึ้นไป 6. “ปสงเคราะห” หมายความถึงระยะเวลาใด ก. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 เมษายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 มีนาคมของปถัดไป ข. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 เมษายนของปถัดไป ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป ง. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 ตุลาคมของปถัดไป ตอบ ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของป ถัดไป “ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น 7. สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินกวาเทาใด ไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห ก. 1 กิโลกรัม ข. 3 กิโลกรัม ค. 5 กิโลกรัม ง. 7 กิโลกรัม ตอบ ค. 5 กิโลกรัม สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินหา กิโลกรัม หรือยางที่กระทรวง ทบวง กรม เปนผูสงออกเพื่อประโยชนใด ๆ อันมิใชเพื่อการคา ไมวาจะมีน้ําหนักเทาใด ใหไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห
  • 10. ห น า | 10ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ 8. ขอใดเจาของสวนยางจะไดรับการสงเคราะหสวนยาง ก. ตนยางอายุยี่สิบหาปขึ้นไป ข. ตนยางทรุดโทรมเสียหาย ค. ตนยางที่ไดผลนอย ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ผูจะไดรับการสงเคราะหตามพระราชบัญญัตินี้ตองเปนเจาของสวนยางที่มีตนยางอายุ กวายี่สิบหาปขึ้นไป หรือตนยางทรุดโทรมเสียหาย หรือตนยางที่ไดผลนอย 9. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดยยอ วาอะไร ก. ก.ส.ย. ข. กสย. ค. คสย. ง. ค.ส.ย. ตอบ ก. ก.ส.ย. 10. รองประธานกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง คือผูใด ก. รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ค. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ง. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ตอบ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ 11.กรรมการที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางและบุคคลอื่นซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับ การยางมีจํานวนเทาใด ก. 2 คน / 2 คน ข. 4 คน / 2 คน ค. 4 คน / 4 คน ง. 5 คน / 2 คน ตอบ ข. 4 คน / 2 คน คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดย ยอวา “ก.ส.ย.” ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือรัฐมนตรีชวย วาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ มอบหมายเปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนรองประธาน กรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ผูอํานวยการ
  • 11. ห น า | 11ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ สํานักงบประมาณ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร อธิบดีกรม ศุลกากร ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เปนกรรมการ และกรรมการอื่น อีกไมเกินหกคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางสี่คนและบุคคลอื่นซึ่งมีสวน เกี่ยวของกับการยางสองคน 12. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง มีวาระอยูในตําแหนง คราวละกี่ป ก. 1 ป ข. 2 ป ค. 3 ป ง. 4 ป ตอบ ข. 2 ป กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสองป 13. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการ ดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยาง จํานวนเทาใด ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ ตอบ ก. รอยละหา ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอย ละหา เปนคาใชจายในการดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยางในอันที่จะเปน ประโยชนแกเจาของสวนยางโดยเฉพาะ มอบไวแกกรมวิชาการเกษตรเปนงวด ๆ ตาม หลักเกณฑและวิธีการที่รัฐมนตรีกําหนด เงินที่กรมวิชาการเกษตรไดรับนี้มิใหถือวาเปน รายรับตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ 14. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการ บริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง จํานวนเทาใด ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ ตอบ ง. รอยละสิบ
  • 12. ห น า | 12ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 6.ผูคายางจะตองทําบัญชีการซื้อยาง บัญชีการจําหนายยางและปริมาณยางคงเหลือของทุกๆ เดือน และจัดสงบัญชีดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันที่เทาใดของเดือนถัดไป ก. วันที่หนึ่ง ข. วันที่สาม ค. วันที่หา ง. วันที่สิบ ตอบ ง. วันที่สิบ ผูคายางจะตองทําบัญชีการซื้อยาง บัญชีการจําหนายยางและปริมาณยางคงเหลือ ของทุก ๆ เดือน และจัดสงบัญชีดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันที่สิบของเดือน ถัดไป 7.ในกรณีที่ผูอนุญาตไมออกใบอนุญาต ผูรองขอมีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรีภายใน กี่วันนับแตวันที่ไดทราบถึงการไมออกใบอนุญาต หรือการไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต หรือการพักใชใบอนุญาต ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ค. สามสิบวัน ในกรณีที่ผูอนุญาตไมออกใบอนุญาต หรือไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต หรือมี คําสั่งพักใชใบอนุญาต หรือคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ผูขอรับใบอนุญาตหรือผูขอตออายุ ใบอนุญาตหรือผูถูกพักใชใบอนุญาตหรือผูถูกเพิกถอนใบอนุญาต มีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือ ตอรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดทราบถึงการไมออกใบอนุญาต หรือการไม อนุญาตใหตออายุใบอนุญาตหรือการพักใชใบอนุญาต หรือการเพิกถอนใบอนุญาต แลวแต กรณี 8. หากใบอนุญาตสูญหาย หรือถูกทุกลาย จะตองยื่นคําขอภายในกี่วัน ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ข. สิบหาวัน
  • 13. ห น า | 13ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญ ใหผูรับใบอนุญาตแจงตอ พนักงานเจาหนาที่และยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับทราบ ถึงการสูญหาย หรือถูกทําลายดังกลาว 9. หากผูรับใบอนุญาต ถึงแกความตาย ทายาทหรือผูจัดการมรดก จะตองแจงใหผูอนุญาต ทราบภายในกี่วันนับแตผูรับใบอนุญาตตาย ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ง. หกสิบวัน ในกรณีที่ผูรับใบอนุญาตซึ่งเปนบุคคลธรรมดาถึงแกความตายและใบอนุญาตยังไมสิ้น อายุ ถาทายาทซึ่งบรรลุนิติภาวะแลวหรือผูจัดการมรดกของผูรับใบอนุญาตประสงคจะ ประกอบกิจการนั้นตอไป ก็ใหประกอบกิจการตอไปไดจนกวาใบอนุญาตจะสิ้นอายุ แตตอง แจงใหผูอนุญาตทราบภายในหกสิบวันนับแตวันที่ผูรับใบอนุญาตตาย 10. ผูรับใบอนุญาตยายสถานที่ประกอบกิจการจะตองแจงใหพนักงานเจาหนาที่ทราบภายในกี่วัน ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ข. สิบหาวัน ผูรับใบอนุญาตซึ่งประสงคจะยายสถานที่ประกอบกิจการของตนตองแจง การยาย สถานที่ดังกลาวเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสิบหาวันนับ แตวันที่ยาย 11. ผูรับใบอนุญาตผูใดเลิกกิจการ ตองแจงการเลิกกิจการเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ ภายในกี่วันนับแตวันเลิกกิจการ ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ข. สิบหาวัน ผูรับใบอนุญาตผูใดเลิกกิจการที่ไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ตองแจงการเลิก กิจการเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสิบหาวันนับ แตวันเลิกกิจการและใหถือวา ใบอนุญาตสิ้นอายุตั้งแตวันเลิกกิจการตามที่ แจงไวนั้น
  • 14. ห น า | 14ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ประวัติของคอมพิวเตอร ป ค.ศ. 1812 : Charles Babbage ไดประดิษฐเครื่องชื่อ Difference Engine ที่สามารถคํานวณตารางลอการิทึม และฟงกชันทางตรีโกณขึ้น โดยตอมาเขาไดสรางขึ้นมา อีกเครื่องหนึ่งชื่อ Analytic Engine ที่สามารถเก็บตัวเลข 50 หลัก ไดถึง 1,000 ตัวเลข และ สามารถทําการบวกหรือลบได 60 ครั้งตอนาทีสําหรับตัวเลข 50 หลัก ซึ่งในการปอนขอมูล เขาเครื่องนั้นจะใชแผนกระดาษที่เจาะรูเปนขอมูล โดยลักษณะที่กลาวมานี้ถือเปนรากฐาน ของเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชอยูในปจจุบัน แตการทํางานนั้นยังคงเปนการทํางานแบบ เครื่องกล (machine Model) ไมใชทํางานแบบอิเล็กทรอนิกส ป ค.ศ. 1942 : Dr. John V. Atanasoff และ Clifford Berry ไดรวมกันตั้ง Atanasoff Berry Computer Co. (ABC) ซึ่งไดสรางเครื่องคอมพิวเตอรไฟฟา โดยใช หลอดแกวสุญญากาศ (Vacuum Tubes) ขึ้น เพื่อใชแกสมการที่ยุงยาก ป ค.ศ. 1946 : Dr. John W. Mauchly และ J. Presper Eckert ไดสรางเครื่อง คอมพิวเตอรอิเล็กทรอนิกสขึ้น โดยตั้งชื่อวา Eniac ซึ่งนับวาเปนเครื่องคอมพิวเตอรประเภท ตัวเลขที่ทํางานดวยระบบอิเล็กทรอนิกสเครื่องแรก ประกอบดวยหลอดแกวสุญญากาศจํานวน 18,000 หลอด มีน้ําหนักราว 30 ตัน และใชเนื้อที่ประมาณ 1,500 ตารางฟุต ป ค.ศ. 1951 : Dr. John W. Mauchly และ J. Presper Eckert ไดซื้อลิขสิทธิ์ ของเครื่อง Eniac มาพัฒนาเปนเครื่องตั้งชื่อวา Edvac โดยบริษัท Remington Rand ไดเสนอ ซื้อและพัฒนาจนกลายเปนเครื่องคอมพิวเตอรที่สามารถเก็บขอมูลขนาดใหญ ชื่อวา Univac I ซึ่งถือวาเปนเครื่องคอมพิวเตอรเชิงพาณิชยเครื่องแรกดวย ป ค.ศ. 1951 – 1959 : ยุคแรกของเครื่องคอมพิวเตอร (The First Generation of Computers) การนําเครื่องคอมพิวเตอรยูนิแวกค (Univac) ออกสูตลาดในป 1951 นั้นถือเปนยุคแรกของเครื่องคอมพิวเตอร อีกทั้งความสําเร็จนี้เปนผลใหเกิดระบบบัตร ไอบีเอ็ม (IBM Card System) และเปนแรงผลักดันใหเกิดการแขงขันในการผลิตคอมพิวเตอร เชิงพาณิชย เชน IBM 650 ป ค.ศ. 1959 – 1964 : ยุคที่สองของเครื่องคอมพิวเตอร (The Second Generation of Computers) เปนยุคที่นําทรานซิสเตอร (transistor) เขามาใชงานกับ คอมพิวเตอร ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานไดเร็วขึ้นมาก และมีความแมนยํามากขึ้น
  • 15. ห น า | 15ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ระบบคอมพิวเตอร (Computer System) ระบบ (System) คือ กลุมขององคประกอบที่มีความสัมพันธกันและทํางาน รวมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอรจะมีองคประกอบที่สําคัญ 3 สวน คือ 1. ฮารดแวร (Hardware) คือตัวเครื่องคอมพิวเตอรเชน คียบอรด จอภาพ CPU Diskette Modem เปนตน 2. ซอฟตแวร (Software) คือลําดับขั้นตอนการทํางานของคําสั่งซึ่งจะ ทําหนาที่บอกคอมพิวเตอรวาใหทําอะไรโดยทั่วไปซอฟตแวรแบงออกไดเปน 2 ชนิดคือ Application Software และ System Software 3. บุคลากร (Peopleware) คือบุคคลที่ใชคอมพิวเตอร เชน Programmer,System Analysis เปนตน จัดวาเปนสวนสําคัญที่สุดของการใชคอมพิวเตอร ขนาดของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรแบงออกเปน 6 ประเภท คือ 1. Microcomputer หรือคอมพิวเตอรตั้งโตะ เปนคอมพิวเตอรขนาด เล็ก ซึ่งทํางานโดยใชระบบผูใชคนเดียว (Single–user System) คอมพิวเตอรประเภทนี้ แบงไดเปน 2 ประเภท คือ 1) Personal Computers (PCs) เปนคอมพิวเตอรที่เคลื่อนยายได สะดวก เหมาะกับงานประเภท Word Processing และ Spreadsheets 2) Workstations (สถานีงาน) เปนคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพ สูง ราคาแพง นิยมนําไปใชงานทางดานวิศวกรรมศาสตรและวิทยาศาสตร 2. Minicomputer เปนคอมพิวเตอรที่มีความรวดเร็วในการประมวลผล และความจุต่ํากวาระบบเมนเฟรม มินิคอมพิวเตอรจะทํางานโดยใชระบบผูใชหลายคน (Multi–user System) สวนใหญนิยมนํามาประยุกตใชงานกับบริษัทขนาดกลาง 3. Mainframe Computer เปนคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพต่ํารองจาก Supercomputer มีความเร็วในการประมวลผลและความจุสูง สวนใหญมักจะนําไปใชงานกับ องคกรขนาดใหญ 4. Supercomputer เปนคอมพิวเตอรที่มีความจุในการจัดเก็บขอมูลสูง และมีความเร็วในการประมวลผลสูงมาก จึงเหมาะสําหรับการพยากรณอากาศการออกแบบ เครื่องบิน และงานวิจันทางวิทยาศาสตร
  • 16. ห น า | 16ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ 5. Network Computer เปนการนําเอา Computer หลาย ๆ เครื่อง มาตอเขาดวยกัน เพื่อแชรขอมูล แชรฮารดแวร แชรซอฟตแวร เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ สูงสุด 6. Embeded Computer คือ คอมพิวเตอรที่เปนองคประกอบของระบบ อื่น ซึ่งจะถูกกําหนดขั้นตอนการทํางานโดยเฉพาะ (Dedicated Task) เอาไว เชน ไมโคร โพรเซสเซอรที่ควบคุมระบบเครื่องยนตของยานพาหนะ ยุคของคอมพิวเตอร ไดมีการแบงยุคของคอมพิวเตอรออกเปนยุคตาง ๆ ตามเทคโนโลยีที่ เปลี่ยนแปลงไปไดดังนี้ ยุคที่ 1 เปนยุคของเทคโนโลยีหลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) ยุคที่ 2 เปนยุคของเทคโนโลยีทรานซิสเตอร (Transistor) และใชวงแหวน แมเหล็ก (Magnetic Core) เปนสื่อเก็บขอมูลหลักภายใน ยุคที่ 3 เปนยุคของ Solid – Logic Technology ซึ่งจะมีการนําเอา Integrated Circuits (IC) ซึ่งไดแก สารกึ่งตัวนํา (Semiconductor) ชิ้นเล็ก ๆ ที่สามารถ บรรจุวงจรทางตรรกะ(Logic Circuit) ไวไดหลายวงจร ซึ่งวงจรเหลานี้จะถูกบรรจุไวในแผน ซิลิคอนซิป (Silicon Chip) จึงทําใหคอมพิวเตอรมีขนาดเล็กลง แตทํางานไดเร็วขึ้น ยุคที่ 4 เปนยุคของ LSI (Large Scale Integrated Circuit) และ VLSI (Very Large Scale Integration) โดยที่เทคโนโลยี LSI นําไปสูการพัฒนา Microprocessor ซึ่งใชในMicrocomputer ยุคที่ 5 ในยุคนี้จะเนนการออกแบบใหเครื่องมีโพรเซสเซอรหลายๆ ตัว ทํางานเปนคูขนานไปอันจะเปนการเพิ่มพลังการประมวลผลอยางมหาศาล มีการให ความสําคัญกับงานปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence) กันมากขึ้น โดยพยายามทําให คอมพิวเตอรสามารถ ที่จะเรียนรูไดดวยตัวเอง ประเภทของคอมพิวเตอรตามลักษณะการใชงาน 1. คอมพิวเตอรเอนกประสงค (General–purpose Computers) ไดแก คอมพิวเตอรที่ใชในทางธุรกิจ เชน งานบัญชีเงินเดือน การประมวลผลคํา การสํารองที่นั่ง เปนตน 2.
  • 17. ห น า | 17ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ อุปกรณที่ใชในการสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร การปอนขอมูล คือ การนําขอมูลเขาไปในเครื่องคอมพิวเตอร โดยการเก็บ ไวสําหรับประมวลผลโดยทั่วๆ ไปจะปอนขอมูลผานคียบอรด รายละเอียดที่สําคัญเกี่ยวกับ การปอนขอมูลมีดังนี้ องคประกอบขอมูล ขอมูลที่นําเขาสูคอมพิวเตอร จะมีรูปแบบดังตอไปนี้ 1. ตัวอักขระ (Character) เปนหนวยยอยของขอมูลที่เล็กที่สุดที่จะ นําเขาสูคอมพิวเตอรประกอบดวย ตัวอักษร (Letter) ตัวเลข (Number) และสัญลักษณ พิเศษอื่น ๆ (Special Character) เชน $ ? ; & ฯลฯ ตัวอักขระ 1 ตัว เมื่อมีการเก็บ อยูในคอมพิวเตอรไมวาจะอยูในหนวยความจําหลักหรือหนวยเก็บขอมูลสํารอง จะถูกเก็บอยู ในรูปแบบของ "ตัวเลขฐานสอง (Binary Digit)" ที่ประกอบดวยตัวเลข 0 และ 1 จํานวน 8 ตัว หรือ 8 บิต หรือ 1 ไบต (Byte) 2. ฟลด (Field) เรียกอีกอยางหนึ่งวา "เขตขอมูล" เปนกลุมของตัว อักขระแตละตัวที่มาประกอบกันขึ้น ตุวอยางเชน ขอมูลของลูกคาของบริษัทจะตองมีรหัส ประจําตัว ชื่อลูกคา ฯลฯ รหัสประจําตัวจะประกอบดวยตัวเลขหลาย ๆ ตัว มาประกอบ กัน สวนชื่อลูกคาแตละคนก็จะประกอบดวยตัวอักษรหลาย ๆ ตัวมาประกอบกัน และรหัส ประจําตัวก็ถือวาเปนฟลด 1 ฟลด และชื่อลูกคาก็ถือวาเปนฟลดอีก 1 ฟลด เปนตน 3. เรคอรด (Record) เรียกอีกอยางหนึ่งวา "ระเบียน" เปนกลุมของ ฟลดหลายฟลดมารวมกันเปนเรคอรด เชน เรคอรดของลูกคา ประกอบดวย รหัสประจําตัว ลูกคา ชื่อลูกคา ที่อยู และหมายเลขโทรศัพทเปนตน 4. ไฟลขอมูล (Data Files) เรียกอีกอยางหนึ่งวา "แฟมขอมูล" เกิด จากการรวมกลุมของ เรคอรดชนิดเดียวกันเขาดวยกัน ตัวอยางเชน ไฟลพนักงานของ บริษัท จะประกอบดวยกลุมของเรคอรดพนักงานทั้งหมดของบริษัท 5. ฐานขอมูล (Database) เปนที่เก็บรวบรวมของไฟลขอมูลหลาย ๆ ไฟลที่สัมพันธกันรวมอยูในระบบเดียวกันซึ่งแตละไฟลจะตองมีความซ้ําซอนของขอมูลนอย ที่สุด เพื่อที่จะประหยัดเนื้อที่ในการเก็บขอมูล และเพื่อใหการคนหาขอมูลสามารถทําได อยางสะดวก
  • 18. ห น า | 18ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ วิธีการปอนขอมูล มี 2 ลักษณะ คือ 1. การประมวลผลแบบกลุม (Batch) เปนวิธีการปอนขอมูลที่มีการ รวบรวมขอมูลไวกอนในชวงเวลาหนึ่ง ซึ่งเปนกลุมของระเบียนขอมูล ตอจากนั้นจึงนําขอมูล มาประมวลผลพรอมกัน เชน การประมวลผลเงินเดือนของพนักงาน เปนตน 2. การประมวลผลแบบเชื่อมโยงโดยตรง (Online Entry) เรียกอีก อยางหนึ่งวา "Real–time Processing" เมื่อมีการปอนขอมูลเกิดขึ้น ขอมูลเหลานั้นจะถูก นําไปเก็บไวในคอมพิวเตอรทันที การประมวลผลวิธีนี้มีประโยชนคือ 1) สามารถตรวจสอบขอผิดพลาดและความถูกตองไดทันทีทันใด 2) แฟมขอมูลจะถูกแกไขใหเปนปจจุบันทันที 3) สามารถใหคํายืนยันตอลูกคาไดในทันทีทันใด 4) เหมาะกับงานทางดานธุรกิจที่มีการแขงขัน เนื่องจากชวยให การประมวลผลรวดเร็วและมีประสิทธิภาพดี เชน การฝากถอนเงินกับธนาคาร, การใชบัตร ATM, การจองตั๋วสายการบิน เปนตน ชนิดของการตรวจสอบความผิดพลาด ระบบที่ดีควรมีการออกแบบเพื่อปองกันความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได โดยใช เทคนิคหรือวิธีการตาง ๆ ดังนี้ 1. Field Missing Test เปนการตรวจสอบฟลดตาง ๆ ที่ใชในระบบ เชน ในระบบรับ–จายเงิน ตองมีการปอนฟลดชื่อ ฟลดหมายเลขลูกคา เปนตน 2. Limit Test เปนวิธีการตรวจสอบคาที่ใชไดในระบบ หากคาที่ ปอนเขาไปเกินคาสูงสุดหรือเปนคาที่เปนไปไมได ระบบจะมีขาวสาร (Message) โตตอบ กลับมา โดยจะปรากฏบนจอภาพเพื่อใหผูปอนขอมูลทราบ 3. Context Test เปนการตรวจสอบขอมูลในฟลด เชน ฟลดหมายเลข ลูกคา ขอมูลที่ปอนตองเปนตัวเลขเทานั้น หากมีการปอนตัวอักษรอื่น ๆ ระบบจะไม ยอมรับ 4. Range Test เปนการตรวจสอบชวงของขอมูล เชน กรณีปอนคา ของเดือน ตองอยูในชวงระหวาง 01 ถึง 12 เทานั้น 5. Transposition Error เปนความผิดพลาดของขอมูลจากผูปอนขอมูล ซึ่งความผิดพลาดนี้สามารถปองกันไดโดยทําการปอนขอมูลซ้ําเพื่อตรวจสอบ
  • 19. ห น า | 19ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแวร ลิขสิทธิ์ซอฟตแวร หมายถึง การไมอนุญาตใหทําซ้ําเพื่อเผยแพรหรือ จําหนาย นอกจากนี้การนําซอฟตแวรไปทําซ้ําเพื่อใชในคอมพิวเตอรหลาย ๆ ระบบภายใน หนวยงานเดียวกัน โดยที่เจาของลิขสิทธิ์ใหใชเพียงคอมพิวเตอรระบบเดียวก็ถือเปน ความผิดเชนกัน วิธีการปองกันการละเมิดลิขสิทธิ์ คือ กําหนดใหมีแผน Original System ของซอฟตแวรทุกครั้งที่มีการรันโปรแกรมที่จะใชงาน มิฉะนั้นจะไมสามารถใชงานได เรา เรียกแผน Original System Disk นี้วา Key Disk การขอลิขสิทธิ์ซอฟตแวรมี 2 รูปแบบ คือ 1. Site Licensing หมายถึง การขออนุญาตการใชซอฟตแวรประเภท ใดประเภทหนึ่ง กับคอมพิวเตอรหลาย ๆ ระบบภายในหนวยงานเดียวกัน ซึ่งผูใชมีสิทธิ์ทํา สําเนาซอฟตแวรไดหลาย ๆ สําเนา โดยแตละสําเนาเพื่อคอมพิวเตอร 1 ระบบ ซึ่งถือวา เปนวิธีที่จะชวยประหยัดคาใชจายได 2. Network Licensing หมายถึง การมีซอฟตแวร 1 ระบบ และใช ในคอมพิวเตอรระบบเครือขาย โดยจะมีการติดตั้งซอฟตแวรดังกลาวไวที่คอมพิวเตอรที่ทํา หนาที่เปน Server และจะใชไดกับซอฟตแวรที่มีลักษณะเปน Multi–user เทานั้น อาชญากรรมในทางคอมพิวเตอร สามารถแบงออกไดเปน 3 ประเภท ดังนี้คือ 1.การละเมิดลิขสิทธิ์ในการใชงานในระบบคอมพิวเตอรเปน อาชญากรรมที่คอนขางจะปรากฏแพรหลายมากในหมูผูใชคอมพิวเตอร โดยปกติผูกอ อาชญากรรมประเภทนี้มักจะไมคอยทําลายขอมูลในแฟมของระบบเทาใดนัก นอกจากจะ เขาไปเพื่อขอดูสารสนเทศบางอยางที่ตนเองตองการทั้ง ๆ ที่ตนเองไมมีสิทธิ์ วิธีปองกันอาชญากรรมประเภทนี้คือ สรางระบบความปลอดภัยที่มี การกําหนดการปองกันไวหลาย ๆ ระดับ เชน การกําหนดรหัสผาน (Password) เพื่อใช สิทธิในการใชขอมูล หรืออาจใชวิธีการสอบถามหมายเลขโทรศัพทของผูใชดวย ซึ่งถาตอบ ผิดจะไมอนุญาตใหเขาไปในระบบ 2. การโจรกรรมโดยใชคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือ เปนการใช คอมพิวเตอรในการยักยอกเงินจากผูอื่นโดยโอนเงินเขาบัญชีของตนเอง โดยปกติพวกที่กอ อาชญากรรมประเภทนี้มักจะทําในกรณีของการประมวลผลแบบ Transaction
  • 20. ห น า | 20ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ 3. การขโมยเวลาใชเครื่องคอมพิวเตอร เปนการใชเครื่อง คอมพิวเตอรของสํานักงานเพื่อทําธุรกิจสวนตัว เชน การพิมพจดหมายสวนตัว หรือทํา บัตรอวยพรของตน เปนตน ไวรัสคอมพิวเตอร (Computer Virus) ไวรัสคอมพิวเตอร คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งซึ่งซอนตัวอยูในโปรแกรมอื่นใน ระบบ ไวรัสเหลานี้จะเปนโปรแกรมที่เขียนมาเพื่อเจตนาจะกอกวนและทําลายลางระบบการ ทํางานของโปรแกรมอื่น โดยปกติแลวไวรัสนั้นมักจะเขาไปฝงตัวอยูในระบบปฏิบัติการ เชน อยูบน COMMAND.COM บน DOS ซึ่งเปนระบบปฏิบัติการที่นิยมใชกันบนเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร วิธีการปองกันไวรัสบนคอมพิวเตอร อาจทําไดดังนี้ – อยา Load Program จากแผนดิสเกตตที่ไมแนใจปลอดไวรัสเขาสูระบบ คอมพิวเตอร – จะตองมีการตรวจสอบซอฟตแวรใหแนใจวาปลอดภัยจากไวรัสกอนจึงจะนํามาใช งานได – ใชโปรแกรมวัคซีน (Vaccine Program) โดยที่โปรแกรมวัคซีนจะมีหนาที่ ตรวจสอบซอฟตแวรที่จะใชวามีไวรัสหรือไม บุคลากรที่ใชคอมพิวเตอรควรมีลักษณะอยางไร ผูที่ใชคอมพิวเตอรไดนั้นไมจําเปนตองมีความรูหรือความเชี่ยวชาญในทาง คณิตศาสตรในระดับสูง ผูที่จะใชคอมพิวเตอรเพื่อทํางานทางธุรกิจนั้น ขอใหมีความรูทาง คณิตศาสตรในระดับพื้นฐาน เพื่อทํากิจกรรมทางธุรกิจบางอยาง เชน การวางแผนก็ เพียงพอแลวที่จะสั่งงานคอมพิวเตอรได ผูที่ใชคอมพิวเตอรในระดับ User ไมจําเปนตองเขียนโปรแกรมได เพราะ เปนหนาที่ของผูเขียนโปรแกรมเฉพาะดานอยูแลว ในระดับของผูใชนั้นก็เพียงแตตองมีการ อบรมใหความรูในการใชงานก็เพียงพอแลว
  • 21. ห น า | 21ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2550 เปนปที่ 62 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรด เกลาฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรมีกฎหมายวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและ ยินยอมของสภานิติบัญญัติแหงชาติ ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติวาดวยการกระทํา ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดสามสิบวันนับแตวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้ “ระบบคอมพิวเตอร” หมายความวา อุปกรณหรือชุดอุปกรณของ คอมพิวเตอรที่เชื่อมการทํางานเขาดวยกัน โดยไดมีการกําหนดคําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานใหอุปกรณหรือชุดอุปกรณทําหนาที่ประมวลผลขอมูลโดยอัตโนมัติ “ขอมูลคอมพิวเตอร” หมายความวา ขอมูล ขอความ คําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือ สิ่งอื่นใดบรรดาที่อยูในระบบคอมพิวเตอรในสภาพที่ระบบคอมพิวเตอรอาจประมวลผลได และใหหมายความรวมถึงขอมูลอิเล็กทรอนิกสตามกฎหมายวาดวยธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกสดวย “ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร” หมายความวา ขอมูลเกี่ยวกับการ ติดตอสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร ซึ่งแสดงถึงแหลงกําเนิด ตนทาง ปลายทาง เสนทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลา ชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการติดตอสื่อสาร ของระบบคอมพิวเตอรนั้น “ผูใหบริการ” หมายความวา
  • 22. ห น า | 22ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ (1) ผูใหบริการแกบุคคลอื่นในการเขาสูอินเทอรเน็ต หรือใหสามารถติดตอถึง กันโดยประการอื่น โดยผานทางระบบคอมพิวเตอร ทั้งนี้ ไมวาจะเปนการใหบริการในนาม ของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น (2) ผูใหบริการเก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น “ผูใชบริการ” หมายความวา ผูใชบริการของผูใหบริการไมวาตองเสียคาใช บริการหรือไมก็ตาม “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 4 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได หมวด 1 ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร มาตรา 5 ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอรที่มีมาตรการปองกัน การเขาถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหก เดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 6 ผูใดลวงรูมาตรการปองกันการเขาถึงระบบคอมพิวเตอรที่ผูอื่น จัดทําขึ้นเปนการเฉพาะ ถานํามาตรการดังกลาวไปเปดเผยโดยมิชอบในประการที่นาจะเกิด ความเสียหายแกผูอื่น ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 7 ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรที่มีมาตรการปองกัน การเขาถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน สองป หรือปรับไมเกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 8 ผูใดกระทําดวยประการใดโดยมิชอบดวยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิกสเพื่อดักรับไวซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรของผูอื่นที่อยูระหวางการสงในระบบ คอมพิวเตอร และขอมูลคอมพิวเตอรนั้นมิไดมีไวเพื่อประโยชนสาธารณะหรือเพื่อให บุคคลทั่วไปใชประโยชนได ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่น บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
  • 23. ห น า | 23ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ แนวขอสอบคอมพิวเตอร ชุดที่ 1 1. คอมพิวเตอรกระเปาหิ้ว แบบพกพาได (Portable Computer) เปนคอมพิวเตอรขนาดใด ก. Mainframe Computer ข. Supercomputer ค. Microcomputer ง. Minicomputer ตอบ ค. Microcomputer Microcomputer หรือคอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ เปนคอมพิวเตอรขนาดเล็ก ซึ่งแบง ออกไดเปน 2 ประเภท คือ 1. Personal Computers (PCs) เปนคอมพิวเตอรตั้งโตะที่เคลื่อนยายไดสะดวก เหมาะกับการใชในสํานักงานหรือใชงานคนเดียว เชนNotebook Computer, Pocketbook Computer, Portable Computer เปนตน 2. Workstations เปนคอมพิวเตอรตั้งโตะที่มีประสิทธิภาพสูง และราคาแพง สวนมาก จะนํามาใชในงานที่มีความยุงยากซับซอน เชน งานวิศวกรรมศาสตร วิทยาศาสตร เปน ตน 2.คอมพิวเตอรขนาดใดตอไปนี้ที่เหมาะสําหรับงานคาดคะเนอากาศ งานสํารวจอวกาศ งาน ทางดานวิจัยที่ตองการความเร็วสูงมาก ก. Mainframe Computer ข. Supercomputer ค. Microcomputer ง. Minicomputer ตอบ ข. Supercomputer Supercomputer เปนคอมพิวเตอรขนาดใหญที่สามารถจุขอมูลไดเปนจํานวนมากและ มีความเร็วในการประมวลผลสูงมาก ซึ่งเหมาะสําหรับงานออกแบบขนาดใหญและซับซอน โดยเฉพาะงานวิจัยทางวิทยาศาสตร เชน การพยากรณอากาศ การสํารวจอวกาศ เปนตน 3. สวนใดตอไปนี้ในระบบคอมพิวเตอรที่เปรียบเสมือนสมองของเครื่องคอมพิวเตอร มีความ สามารถในการจดจําขอมูล และสามารถคํานวณและเปรียบเทียบได ก. Input Unit ข. Output Unit ค. Processor ง. Secondary Storage ตอบ ค. Processor
  • 24. ห น า | 24ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ตัวประมวลผล (The Processor) หรืออาจเรียกอีกอยางหนึ่งวา หนวยประมวลผล กลาง หรือซีพียู (CPU) หมายถึง สมองของระบบคอมพิวเตอร ซึ่งมีหนาที่ควบคุมและ จัดการขอมูล(Data) ที่ปอนเขามาใหเปนสารสนเทศ (Information) 4.สวนใดตอไปนี้ที่ทําหนาที่ในการลําเลียงขอมูลหรือตําแหนงที่อยูของขอมูลตาง ๆ เพื่อ กระทํากิจกรรมตาง ๆ ในระบบคอมพิวเตอร ก. CPU ข. ALU ค. Control Unit ง. Bus ตอบ ง. Bus บัส (Bus) หมายถึง วงจรไฟฟาซึ่งจะทําหนาที่สงขอมูลและขอความระหวางสวนประกอบ อื่น ๆ ของระบบคอมพิวเตอร โดยบัสนี้สามารถแบงออกไดเปน 3 ประเภท คือ 1. บัสขอมูล (Data Bus) ใชสําหรับสงขอมูลระหวางหนวยความจําและไมโคร โพรเซสเซอร 2. บัสเลขที่อยู (Address Bus) ใชเพื่อระบุตําแหนงของหนวยความจําที่จะนํามาใช 3. บัสควบคุม (Control Bus) ใชสําหรับสงสัญญาณควบคุมไปยังหนวยตาง ๆ 5. อุปกรณใดตอไปนี้เปน Input Device ก. Keyboard ข. Mouse ค. Plotter ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ Input Hardware เปนอุปกรณที่รับขอมูลเขาสูเครื่องคอมพิวเตอรโดยการปอนขอมูล จากผูใชคอมพิวเตอร ไดแก Keyboard, Mouse, Trackball, Scanning Devices, Fax Machines และImage Scanners สวน Plotter จัดเปน Output Hardware และ Modem จัดเปน Communication Devices 6. อุปกรณใดตอไปนี้ที่มีการแสดงผลออกมาในรูปของ Soft Copy ก. Plotter ข. Printer ค. Hard Disk ง. Display Screen ตอบ ง. Display Screen การนําเสนอผลขอมูล (Output) แบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ
  • 25. ห น า | 25ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ 16.ถาทานตองการหาคาเฉลี่ยของขอมูลในขอบเขตที่ตองการทานใชฟงกชันในขอใดถูกตอง ที่สุด ก. =Average (B2) ข. =Average (B2..B8) ค. =Average (B2:B8) ง. =Average (B2–B8) ตอบ ค. จากสูตร =Average (B2:B8) เปนการหาคาเฉลี่ยของคาที่อยูในเซลล B2 ถึง B8 17.ขอใดกลาวถูกตอง ก. การใช Integrated Package ชวยลดจํานวนโปรแกรมประเภทตาง ๆ ลง ข. การใชโปรแกรมสําเร็จรูปประเภทตาง ๆ จะชวยใหประหยัดคาใชจายมากกวาการใช Integrated Software ค. การใช Integrate Software มีขนาดเล็กสามารถใชงานไดโดยทั่วไปกับเครื่อง คอมพิวเตอรระดับพีซีทั่วไป ง. Desktop Manager จัดวาเปน Integrated Software ตอบ ก. โปรแกรมเบ็ดเสร็จ (Integrated Program) คือ โปรแกรมที่รวมหนาที่ของซอฟตแวร ตั้งแต 2 หนาที่ขึ้นไปใหอยูในโปรแกรมเดียวกัน เชน มีการประมวลผลคําและการจัดการ ฐานขอมูลรวมอยูดวยกัน ตัวอยางของโปรแกรมเบ็ดเสร็จ ไดแก Microsoft Works ซึ่งมี ขอดี คือ ชวยลดจํานวนโปรแกรมประเภทตาง ๆ ที่จะตองใชลง 18.ขอใดตอไปนี้ไมจัดเปนเครื่องมือของระบบสํานักงาน (Office Tools) ก. Clock ข. Notepad ค. Calendar ง. Microsoft Office ตอบ ง. Desktop Manager เปนโปรแกรมประเภทฝงตัวที่จะอํานวยความสะดวก โดยใชเปนเครื่องมือของระบบ สํานักงาน (Office Tools) โดยมีคุณสมบัติดังนี้คือ 1. Appointment Book 2. Calendar 3. Clock 4. Notepad
  • 26. ห น า | 26ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ 5. Phone Book and Dialer 6. Stop Watch 7. Text Editor 19.โปรแกรมในขอใดตอไปนี้สามารถจัดลําดับของงานที่พิมพแตละงานได และสามารถ ยกเลิกการพิมพได ก. Ram Disk ข. Print Spooler ค. Project Management ง. Sidekick ตอบ ข. Print Spooler เปนซอฟตแวรในระบบปฏิบัติการหรือระบบปฏิบัติการเครือขายที่ จัดการแถวรอการพิมพ และใหพิมพงานตอกันตามลําดับ โดยจะสงงานเหลานั้นให เครื่องพิมพไปอยูเบื้องหลัง 20.แผนภาพในขอใดที่ใชในการวางแผน โดยแสดงทิศทางและความสัมพันธของงานแตละ อยางของขายงานภายในระบบ โดยแจงรายละเอียดวางานใดเปนงานที่จัดวาเปนงานวิกฤติ และงานแตละงานใชเวลาเทาใดเพื่อกําหนดและควบคุมโครงการใหสําเร็จทันเวลาที่กําหนด ก. PERT ข. Gantt Chart ค. Critical ง. CAD ตอบ ก. แผนภาพของ PERT เปนแผนภาพที่แสดงทิศทางและความสัมพันธของงานแตละ อยางของขายงานภายในระบบ โดยแจงรายละเอียดวางานใดเปนงานที่จัดวาเปนงานวิกฤติ และงานแตละงานใชเวลาเทาไร สวน Gantt Chart จะแสดงรายละเอียดในแตละขั้นตอน ยอยของขั้นตอนการออกแบบระบบ โดยแสดงระยะเวลาที่คาดวาจะดําเนินงานในแตละงาน จนเสร็จทั้งนี้เพื่อใชในการวางแผนและควบคุมงานในแตละขั้นตอน 21.ขอใดกลาวผิด ก. ผูที่เกี่ยวของกับการใช CAD มากที่สุดคือวิศวกร และสถาปนิก ข. ความสามารถพิเศษของ CAM คือการวาดรูป ค. อุปกรณที่ใชสําหรับการแสดงผลจากการวาดรูปคือ Plotter ง. โดยปกติเราจะใช CAD และ CAM คูกัน ตอบ ข.
  • 27. ห น า | 27ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ สั่งซื้อไดที่ www.SheetRam.com โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422, 085-9679080,085-9993722,085-9993740 แจงการโอนเงิน พรอมชื่อ และอีเมลลที่ LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740