SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 20
Baixar para ler offline
ผักสมุนไพร 
รวบรวมโดย บุษราคัม อุดมศักดิ์ 
สมุนไพรไทยนี้มีค่ามาก 
พระเจ้าอยู่หัวทรงฝากให้รักษา 
แต่ปู่ย่าตายายใช้กันมา 
ควรลูกหลานรู้รักษาใช้สืบไป 
เป็นเอกลักษณ์ของชาติควรศึกษา 
วิจัยยาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมัย 
รู้ประโยชน์รู้โทษสมุนไพร 
เพื่อคนไทยอยู่รอดตลอดกาล 
พระราชนิพนธ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี
ผักสมุนไพร 
๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 
2 
คำ นำ 
สมุนไพรเป็นตำ รับยาพื้นบ้านที่คนไทยรู้จักและใช้กันมานานตั้งแต่สมัย 
ปู่ย่าตายาย ซึ่งการรักษาทางการแพทย์แผนใหม่ยังไม่พัฒนา คนไทยโดยเฉพาะใน 
ชนบทได้รู้จักนำ เอาของที่มีอยู่ใกล้ตัวมาใช้รักษาโรคภัยไข้เจ็บ โดยเริ่มจากประสบการณ์ 
การลองผิดลองถูกและได้มีการบอกเล่าต่อๆกัน และได้มีการรวบรวมเป็นตำ ราเกิดขึ้น 
จนกระทั่งถึงยุคการแพทย์ก้าวหน้าสมุนไพรดูจะห่างหายไปจากชีวิตประจำ วันของคน 
ไทย การรักษาโดยยาที่เป็นสารสังเคราะห์ต่างๆ ได้เข้ามามีบทบาทแทน จะหลงเหลือ 
อยู่บ้างก็เฉพาะชนบทที่ห่างไกลเท่านั้น แต่ในปัจจุบันคนทั่วไปรวมถึงวงการแพทย์ เริ่ม 
ตระหนักถึงพิษภัยการรักษาด้วยยาที่เป็นสารสังเคราะห์ทางเคมีว่ามีการตกค้างและ 
ผลข้างเคียงในอันที่จะก่อให้เกิดโรคอื่นตามมาสมุนไพรจึงกลับมาได้รับความสนใจ 
อีกครั้ง เช่นเมื่อไม่นานนี้ทางองค์การเภสัชก็ได้ผลิตขมิ้นชันเป็นยาแคปซูลเพื่อรักษา 
โรคระบบกระเพาะอาหารขึ้นจำ หน่ายแล้ว 
ในการรวบรวมผักที่เป็นสมุนไพรขึ้นมานี้ก็เพื่อให้เห็นประโยชน์ของผัก 
ต่างๆ นอกจากคุณค่าทางอาหารที่มีประโยชน์แล้ว ผักหลายชนิดก็ยังมีสรรพคุณทางยา 
อีกด้วย ถึงแม้ว่าบางครั้งอาจจะไม่ช่วยรักษาให้หายโดยเฉียบพลัน แต่อย่างน้อยก็ช่วย 
บรรเทาอาการลงได้ และเป็นสิ่งซึ่งมีใกล้ตัวอยู่แล้ว เนื่องจากเป็นอาหารในชีวิตประจำ 
วัน อย่างน้อยก็เพื่อบำ รุงสุขภาพ อีกทั้งไม่ก่อให้เกิดอันตรายใดๆ ถ้ารู้จักเลือกใช้ให้เป็น 
ประโยชน์ 
❦กระเจี๊ยบ 
❦กระชาย 
❦กระเทียม 
❦กระเพรา 
❦ขมิ้นชัน 
❦ข้าวโพด 
❦ขิง 
❦แครอท 
❦คื่นไฉ่ 
❦ตะไคร้ 
❦ตำ ลึง 
❦แตงกวา 
❦ถั่วฝักยาว 
❦บัวบก 
❦ผักชี 
❦ผักบุ้ง 
❦พริกขี้หนู 
❦ฟัก 
❦ฟักทอง 
❦มะกรูด 
❦มะเขือเทศ 
❦มะเขือพวง 
❦มะนาว 
❦มะระ 
❦มะละกอ 
❦แมงลัก 
❦สะระแหน่ 
❦ผักสมุนไพรอื่นๆ
ผักสมุนไพร 
บทนำ 
๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 
3 
ผักเป็นพืชที่มีคุณค่าทางอาหารมากมาย ผักเกือบทุกชนิดมีสารอาหาร 
ที่มีประโยชน์ หลายชนิดมีวิตามินที่มีประโยชน์สูงเช่น ผักบุ้ง ตำ ลึง หรือ ผักที่มีใบ 
สีเขียว บางชนิดมีโปรตีนสูงถึง 30% เช่นผักตระกูลถั่ว หรือในผักพื้นบ้าน เช่น มะรุม 
มีโปรตีนสูงถึง 26.8% ของนํ้าหนักแห้ง วิตามินเอ 45,200 หน่วยสากล (IU) วิตามิน 
ซี 440 มิลลิกรัม แคลเซียม 1,760 มิลลิกรัม บางชนิดนอกจากมีสารอาหารต่างๆ 
แล้วยังมีสารประกอบอื่นที่มีสรรพคุณทางยา เช่น มะระมีสาร โพลีเปปไทด์-พี ซึ่งมีคุณ 
สมบัติคล้ายอินซูลินซึ่งช่วยลดนํ้าตาลในคนที่เป็นโรคเบาหวานได้ หรือในผักที่รสเปรี้ยว 
เช่น มะนาว ซึ่งอุดมไปด้วยวิตามินซีก็ช่วยบรรเทาอาการจาก ไข้หวัดได้เช่นกัน 
จากสารอาหารต่างๆในผักนั่นเองที่มีคุณสมบัติในการรักษาโรคได้ 
หลายชนิดโดยที่เมื่อร่างกายได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ เช่น วิตามินเข้าไปก็เป็นการ 
ช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง หรือบางชนิดมีสรรพคุณรักษาโรคได้โดยตรง ซึ่งใน 
การรักษาโรคนั้นก็อาจจะได้จากที่เราได้ รับประทานเป็นอาหารในชวีติประจาํวนัหรอื 
ปรุงแต่งร่วมกับอาหารอื่น เช่น นํ้าผึ้ง เกลือ นํ้ามะนาว หรือ สกัดเอานํ้าคั้นมาถูทาตรง 
ส่วนที่เกิดโรค เป็นต้น 
กระเจี๊ยบ 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Abelmoschus esculentus (L.) 
ลักษณะ 
เป็นพืชล้มลุก ใบมีขน ดอกมี กลีบสีเหลือง 
โคนกลีบด้านในสีม่วงแดง ปลายผลแหลม 
แก่จัดผลจะแตก มีเมล็ดจำ นวนมาก 
ผล 
ผลสดรับประทานเป็นผักสดหรือต้มจิ้มนํ้า 
พริก 
แก้ผลในกระเพาะ 
1. ผลแห้งน้ำ มาป่นผสมกับน้ำ รับประทาน 
แก้แผลในกระเพาะ 
2. รับประทานผลสดซึ่งมีสารเมือกจะไป 
ช่วยเคลือบกระเพาะ 
Ladies’ fingers กระเจี๊ยบ
ผักสมุนไพร 
๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 
4 
กระชาย 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Kaempferia pandurata Roxb. 
ลักษณะ 
เป็นไม้ล้มลุก ลงหัว ใบยาวคล้ายใบข่า ดอกสีม่วง 
แดงลำ ต้นอยู่ใต้ดิน เรียกว่า เหง้า มีสีเหลือง 
เหง้า (หัว) 
เป็นเครื่องปรุง เช่นเครื่องแกง 
แก้ปากเปื่อย ปากเป็นแผลขี้กลาก บำ รุงกำ ลัง 
1. นำ เหง้าฝนกับนํ้าฝนให้ข้นๆ ทาแผลในปาก 
หรือบริเวณที่เป็นกลาก 
2. เหง้าสด นำ มาปิ้งให้สุกตำ ละเอียดใส่นํ้าปูนใส 
ครึ่งแก้วรับประทานแก้ปวดทืองเหง้า สดต้ม 
กบันา ํ้รวมกบัหญา้ขดัมอญ ดมื่บาํรงุกาํลงั 
กระเทียม 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Allium sativum Linn. 
ลักษณะ 
ใบสีเขียว แข็งยาว หัวอยู่ใต้ดินมีกลีบเกาะกันมีเยื่อ 
บางๆหุ้ม หัวเป็นชั้นๆ ดอกเป็นช่อสีขาว 
หัว ใบ ต้น 
ใบ หัวต้นประกอบเป็นอาหารหรือเป็นผักสด 
ขับลม ขับเสมหะ ขับเหงื่อ ขับปัสสาวะ ลดไข้ ขับ 
พยาธิเส้นด้าย คออักเสบ แก้หืด อัมพาต จุกแน่น 
ปวดสะโพก ทาแก้ โรคเกลื้อนโรคผิวหนัง 
1. หัวกระเทียม 2 ช้อนโต๊ะทุบให้แตก แช่
ผักสมุนไพร 
๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 
5 
แอลกอฮอล์ 80% 10 ช้อนโต๊ะ ทิ้งไว้ 7 วัน รับ 
ประทานครึ่งช้อนโต๊ะ ทุก 3 ชั่วโมง แก้ไข้ตัว 
ร้อนจัด 
2. กระเทียมแห้ง 1-2 หัว โขลกกับนมสดหรือกะทิ 
สด 10 ช้อนโต๊ะ กรองเอานํ้ามาดื่มช้าๆ อาทิตย์ 
ละ 3-4 ครั้ง ช่วยขับพยาธิเส้นด้าย 
3. หัวกระเทียม 1-2 หัวโขลกกับนํ้าส้ม 1 ช้อนโต๊ะ 
กวาดในคอเป็นยาสมานแก้เจ็บคอ 
4. โขลกกระเทียมละเอียด ขยี้ผมหลังสระผม 
5. รับประทานหัวกระเทียมบ่อยๆ ช่วยรักษาโรค 
ปอดบวม แก้ฟกชํ้า ปวดมวนท้อง 
6. หัวกระเทียมสด ทารักษาโรคเกลื้อนบางชนิดให้ 
หายได้ 
กระเพรา 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Ocimum sanctum L. 
ลักษณะ 
เป็นพุ่มเตี้ย ใบสีแดงคล้ายสะระแหน่ ต้นสีแดง ดอก 
เป็นช่อคล้ายโหระพาถ้าเขียว ใบเขียว เรียก 
กระเพราขาว 
ใบ 
ใบใช้ปรุงอาหาร เช่นผัดกับเนื้อ หมู ไก่ 
แก้ปวดท้อง ท้องขึ้น จุกเสียด 
1. กระเพราสด 3 ใบ ผสมเกลือเล็กน้อยให้ละเอียด 
ละลายด้วยนํ้าสุกหรือนํ้าผึ้งรับประทานแก้ปวด 
ท้อง ท้องอืด 
2. ใบนำ มาแกงเลียงรับประทานหลังคลอดช่วย 
ขับลม บำ รุงธาตุ หืด ไอ แก้ฝีพุพอง
ผักสมุนไพร 
๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 
6 
ขมิ้นชัน 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Curcuma lonnga linn. 
ลักษณะ 
เป็นพืชล้มลุก มีเหง้าอยู่ใต้ดินสีเหลืองฤดูแล้งใบจะ 
แห้งตาย แต่จะแตกใหม่เมื่อฝนตกชุก 
เหง้า 
เหง้าใช้แต่งสีอาหาร เช่น ข้าวหมกไก่ แกงเหลือง 
แกงกะหรี่ 
แก้ท้องอืดเฟ้อ ลดการจุกเสียด แน่นท้อง ท้องผูก 
ปวดศรีษะ แก้โรคผิวหนัง ผื่นคัน 
1. ขมิ้นชันแก่จัดนำ มารับประทานเป็นผักสดช่วย 
ขับลม แก้ท้องอืดเฟ้อ จุกเสียดแน่นท้อง 
2. เหง้าขมิ้นชันตากแห้ง ป่นเป็นผง ทาแก้โรคผิว 
หนัง 
3 . ปัจจุบันองค์การเภสัชผลิตเป็นแคปซูล รับ 
ประทานครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 4 ครั้งหลัง 
อาหารและก่อนนอน บรรเทาอาการท้องอืด 
ท้องเฟ้อ จุกเสียด 
ข้าวโพด 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Zea may L. 
ลักษณะ 
เป็นพืชไร่ล้มลุก ลำ ต้นตั้งตรง เป็นข้อๆ ใบยาวเรียว 
มีขน ผลออกระหว่างกานใบ ผลมีเปลือกสีเขียวหุ้ม 
เป็นชั้นๆ ส่วนปลายมีเส้นไหมสีแดงอมม่วง เมล็ด 
เรียงเป็นแถวสีขาว สีเหลือง
ผักสมุนไพร 
๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 
7 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ผลที่เรียกฝัก ไหม 
ผลหรือฝักอ่อนรับประทานเป็นผัก ฝักแก่ต้ม 
รับประทานหรือปรุงเป็นขนม 
บรรเทาโรคไตอักเสบ กระเพาะปัสสาวะ อักเสบ 
ความดันโลหิตสูง ลดคลอเลสเตอรอล 
1. รับประทานเป็นประจำ แก้โรคความดันโลหิตสูง 
และช่วยลดคลอเรสเตอรอล 
2. ไหมข้าวโพดแห้ง 1 หยิบมือชงกับนํ้าเดือด 
ดื่มแทนนํ้าชาช่วยบรรเทาโรคไต 
3. ซังนำ มาต้มกับนํ้าใส่เกลือเล็กน้อย ให้เด็กดื่ม 
แก้ปัสสาวะ รดที่นอน 
ขิง 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Zingiber officinale roscoe 
ลักษณะ 
เป็นพืชอายุหลายปี มีลำ ต้นใต้ดินเรียกว่าเหง้า มี 
กลิ่นหอมฉุน ใบออกสลับกัน ดอกออกเป็นช่อจาก 
ลำ ต้นใต้ดิน มีสีเหลือง 
เหง้า ใบ 
เหง้าสดใช้ปรุงอาหาร หรือรับประทานสด 
แก้อาเจียน ไข้หวัดใหญ่ ไอ จุกแน่นหน้าอก ปวด 
ข้อ ท้องอืด 
1. เหง้าสดคั้นเอานํ้า 1-2 ช้อนโต๊ะ ผสมนํ้าผึ้ง 
กินหรือเหง้าสดต้มดื่มแทนนํ้าชา แก้ไข้หวัด 
2. เหง้าสดต้มกับนํ้าส้มสายชู รินเอาแต่นํ้าดื่ม 
แก้อาเจียน 
3. เหง้าสดตำ ละเอียด เคี่ยวให้ข้นทาท้องอุ่นๆ 
แก้ท้องอืด
ผักสมุนไพร 
๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 
8 
แครอท 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Daucus carota Linn. 
ลักษณะ 
เป็นพืชล้มลุก อายุ 1-2 ปี มีรากใต้ดินที่เรียกว่าหัว 
มีสีส้มลักษณะยาวเรียว ใบเป็นฝอย 
ราก (หัว) เมล็ด 
ปรุงเป็นแกงจืด หรือเป็นผักสด เช่น สลัดหรือ 
แต่งหน้าอาหาร 
บำ รุงสายตา บำ รุงผิว ย่อยอาหาร 
1. รับประทานเป็นประจำ ช่วยบำ รุงสายตา แก้โรค 
ตาฟาง ขับปัสสาวะ ย่อยอาหาร 
2. นํ้าคั้นจากหัวแครอทผสมกับนํ้ามะนาวทาผิว 
หน้าช่วยลบรอยเหี่ยวย่น 
คื่นไฉ่ 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Apium graveolens Linn. 
ลักษณะ 
เป็นพืชล้มลุกอายุ 2 ปี ใบย่อย เป็นรูปลิ่มขอบใบ 
หยักแบบซี่ฟัน ดอกสีขาว ช่อดอกเป็นแบบซี่ร่มซ้อน 
ผลมีขนาดเล็กเป็นเส้น สีนํ้าตาล ทั้งต้นมีกลิ่นหอม 
ลำ ต้น ใบ และเมล็ดแก่ 
ทั้งต้นและใบรับประทานเป็นผักสด เช่น เป็นผักโรย 
หน้าอาหารพวกยำ ต่างๆ หรือ ใส่แกงจืด 
ขับปัสสาวะ ขับลม ไขข้ออักเสบ 
1. รับประทานบ่อยๆ ช่วยเจริญอาหาร ช่วยขับ 
ปัสสาวะ
ผักสมุนไพร 
๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 
9 
2. นํ้าคั้นจากลำ ต้น รับประทานแก้อาการบวมนํ้า 
ปวดข้อจากอาการไขข้ออักเสบ 
ตระไคร้ 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Cymbopogon citratus (DC.) 
ลักษณะ 
เป็นพืชล้มลุกขึ้นอยู่เป็นกอ ใบยาวแคบและคาย 
มีหัวอยู่ที่ผิวดิน เรียกว่า หน่อ มีกลิ่นหอมแรง 
ทั้งต้น 
ลำ ต้นนำ มาปรุงเป็นเครื่องแกง พล่า ต้มยำ 
ขับลม ขับเหงื่อ แก้ปวดเมื่อย แน่นท้อง ลดไข้ แก้ 
ประจำ เดือนไม่ปกติ 
1. รับประทานสด หรือนำ มาต้นกับนํ้า สูดดมช่วย 
ขับลม ขับเหงื่อ ลดไข้ แน่นท้อง 
2. คั้นนํ้าทาแก้ปวดเมื่อย 
3. โคนต้น (ที่เรียกหัว) ผสมกับพลิกไทยดำ รับ 
ประทานแก้ ประจำ เดือนไม่ปกติ 
ตำ ลึง 
ส่วนที่ใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Cocinia grandis (L.) Voig 
ลักษณะ 
เป็นไม้เถาเลื้อย ใบมี 2 ชนิด ชนิดแรกใบจักเว้าลึก 
เกือบถึงโคนเรียกตำ ลึงตัวผู้ อีกชนิดหนึ่งใบเว้าเล็ก 
น้อย เรียกตำ ลึงตัวเมีย ดอกสีขาว ห้าแฉก ผลอ่อนสี 
เขียว เมื่อแก่มีสีแดง 
ยอด ใบ เถา
ผักสมุนไพร 
๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 
10 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ใบ ยอดปรุงเป็นอาหาร 
ลมพิษ แก้ตาแดง บำ รุงสายตา 
1. ใบนำ มาตำ ให้ละเอียดผสมนํ้าเล็กน้อย ดื่มหรือ 
เอานํ้ามาทาบริเวณที่เป็นลมพิษ ถูกขนบุ้งหรือ 
อาการแพ้ต่างๆ 
2. เถาตำ ลึงนำ มาตัด 2 ข้าง คลึงให้บวม แล้วเป่า 
ฟองออกมาหยอดตา แก้ตาแดง ตาแฉะ 
3. รับประทานเป็นอาหารประจำ ช่วยบำ รุงสายตา 
แตงกวา 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Cucunis sativus L. 
ลักษณะ 
เป็นพืชเถาเลื้อย อายุ 1 ปี ต้นมีขนหยาบ ใบออก 
สลับกับทรงสามเหลี่ยม เว้าเข้าขอบใบหยัก ดอกมี 
สีเหลือง ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีเหลือง เมล็ดรีแบน 
สีขาว 
ผล ใบ เถา และราก 
ผลสดรับประทานเป็นผักสด หรือต้มจืด 
ขับปัสสาวะ แก้ไข้ คอเจ็บ ตาแดง ไฟลวก ผื่นคัน บิด 
บวม 
1. รับประทานผลสดเป็นประจำ ช่วยขับปัสสาวะ 
แก้ไข้ คอเจ็บ 
2. ใบสดต้มหรือคั้นเอานํ้ากินแก้ท้องเสีย บิด 
3. เถาสด 30-60 กรัมต้มนํ้าพอก แก้โรคผิวหนัง 
4. รากตำ มาพอกแก้บวมอักเสบ
ผักสมุนไพร 
๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 
11 
ถั่วฝักยาว 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Vigna sinensis Savi 
ลักษณะ 
เป็นไม้เถา ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย 3 ใบ ช่อ 
ดอกสั้นกว่าใบ มีดอกย่อย 2-3 ดอก กลีบดอก 
มีลักษณะคล้ายผีเสื้อสีม่วงอ่อน สีขาวหรือเหลือง 
มีฝักยาว 20-60 ซม. ห้อยลงมา 
ราก ใบ เมล็ด ฝัก 
ฝักสดนำ มาปรุงอาหารหรือรับ ประทานสด เป็น 
ผักแกล้ม 
บำ รุง ม้าม ไต แก้บิด อาเจียน ระงับปวด แก้บวม 
แก้หนองใน ทำ ให้เจริญอาหาร 
1. ฝักสดรับประทานแก้ท้องอืด 
2. ฝักสดต้มผสมเกลือ กินทุกวัน บำ รุงไต 
3 . เมล็ดนํ ามาตุ๋นกับเนื้อ ไ ก่แ ล ะ ผักบุ้ง 
รับประทานลดระดูขาว 
บัวบก 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Centella asiatica (Linn.) Urban 
ลักษณะ 
เป็นพืชเลื้อยตามดินแฉะๆ มีรากงอกตามข้อของลำ ต้น 
ใบคล้ายไต ปลายใบกลม ก้านยาว ขอบใบหยัก ดอก 
สีม่วงแดง 
ทั้งต้น 
รับประทานเป็นผักสด หรือต้มนํ้าดื่ม 
ยาบำ รุง กระตุ้นความจำ โรคเรื้อน วัณโรค
ผักสมุนไพร 
๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 
12 
วิธีใช้ นำ ใบมารับประทานเป็นผักสด หรือคั้นนํ้าทำ เป็น 
เครื่องดื่ม ใช้เป็นยาบำ รุง กระตุ้นความจำ บำ บัดโรค 
เรื้อนและวัณโรค 
ผักชี 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Coriandrum sativum L. 
ลักษณะ 
เป็นพืชปีเดียว ลำ ต้นตั้งตรงมีรากฝอยมาก ใบมี 
ก้านยาวใบย่อย 2 ชั้น ขอบใบหยัก ดอกออกเป็นช่อ 
สีขาวหรือชมพู ผลกลมออกดอก ฤดูร้อน ออกผลฤดู 
หนาว 
ทั้งต้นและผล 
ใบใส่โรยอาหารเพิ่มความหอม และดับกลิ่นคาวปลา 
และเนื้อ 
ขับเหงื่อ ขับลม แก้ผื่นหัด ท้องอืด ละลายเสมหะ 
ผักชีสด 60-150 กรัมต้ม หรือคั้นนํ้าก็ได้ นำ นํ้ามา 
ดื่ม ช่วยขับเหงื่อ ขับลม ท้องอืด หรือ ทาแก้ผื่นหัด 
(ถ้าผลให้ใช้ 6-12 กรัม ต้มนํ้า หรือ บดเป็นผง) 
ผักบุ้ง 
ส่วนที่ใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Ipomoea aquatica Forsk 
ลักษณะ 
เป็นพืชเลื้อยตามโคลนหรือลอยอยู่ในนํ้าจืด ใบมี 
ก้านยาว ปลายแหลม ฐานใบเป็นรูปลูกศร หรือกลม 
ขอบใบเรียบหรือเป็นเหลี่ยม ดอกสีขาวหรือม่วงแดง 
ข้อล่างๆ จะมีรากงอก 
ยอดอ่อน ใบ ดอกตูม
ผักสมุนไพร 
๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 
13 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
เป็นผักสดหรือต้มสุก หรือนำ มาปรุงอาหาร 
ยาระบาย บำ รุงสายตา ริดสีดวงทวาร กลากเกลื้อน 
1. รับประทานประจำ ช่วยบำ รุงสายตา และเป็นยา 
ระบาย 
2. ตำ ผักบุ้งให้ละเอียด พอกรักษาโรคสีดวงทวาร 
3. นํ้าคั้นจากดอกตูมช่วยรักษา โรคกลากเกลื้อน 
พรกิขี้หนู 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Capsicum frutescens L. 
ลักษณะ 
เป็นพืชปีเดียวใบยาวรี ปลายใบแหลม ดอกสีขาวออก 
ตามง่าม ผลกลมยาวปลายแหลม สีเขียวเมื่อแก่มี 
สีแดง ก้านผลยาว เมล็ดมีจำ นวนมากลักษณะกลม 
แบนสีเหลืองอ่อน 
ผล รากและต้น 
ใช้ปรุงหรือประกอบอาหารเพื่อเพิ่มรสเผ็ด 
ช่วยเจริญอาหาร ช่วยย่อย บิดท้องเสีย ไตและอัณฑะ 
บวม 
1. บิด ท้องเสีย ใช้พริก 1 ผล บด เป็นผงสอดใน 
เต้าหู้รับประทาน 
2. รับประทานเป็นอาหารช่วย เจริญอาหาร และ 
ช่วยย่อย 
3 . ไตและอัณฑะบวมใช้รากและเนื้อหมูต้ม 
รับประทาน
ผักสมุนไพร 
๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 
14 
ฟัก 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Benincasa hispida Cogn. 
ลักษณะ 
เป็นไม้เลื้อยอายุ 1 ปี ลำ ต้นและใบมีขน ลักษณะ 
กลมชอบใบเป็นแฉก ดอกมี 5 กลีบสีเหลือง ผลอ่อน 
มีขนมากลักษณะยาวหัวท้ายมน เมื่อแก่ขนจะหลุด 
ไปเมล็ดแบนรีลิบ 
ผล เมล็ด ใบและเถา 
ปรุงเป็นอาหาร เช่น ต้มจืด 
แก้ไข้ กระหายนํ้า ริดสีดวง ผดผื่นคัน ได 
1. เด็กอายุ 1-5 เดือนมีไข้ให้กินนํ้าต้มฟัก บ่อยๆ 
2. ริดสีดวงทวาร คั้นเอานํ้าจากผลมาชะล้าง 
3. เป็นผด ผื่นคัน หั่นผลฟักเป็นแผ่น ถูทาบริเวณที่ 
คัน 
4. ไอ ใช้เปลือกผลแห้ง 15 กรัมผสมนํ้าผึ้งกรองนํ้า 
มาดื่ม 
5. ฝ้า หรือจุดด่างดำ บนผิวหนังใช้นํ้าคั้นจากไส้ใน 
ผลสด ทาบ่อยๆ 
ฟักทอง 
ส่วนที่ใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Cucurbita maxima Duchesne 
ลักษณะ 
เป็นไม้เถาขนาดยาวมาก ใบมี 5 หยัก สากมือ ดอกสี 
เหลืองรูปกระดิ่ง ผลมีขนาดใหญ่เป็นพูเปลือกผลค่อน 
ข้างแข็ง บางชนิดมีสีเขียว บางชนิดสีนํ้าตาลแดง 
ผล ดอก ยอดอ่อน
ผักสมุนไพร 
๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 
15 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ใช้ปรุงอาหาร หรือทำ ขนมหวาน 
บำ รุงสายตา โรคพยาธิตัวตืด 
1. รับประทานเป็นประจำ ช่วยบำ รุงสายตา 
2. เมล็ดมีนํ้ามันใช้ถ่ายพยาธิตัวตืด โดยใช้เมล็ดฟัก 
ทอง 60 กรัม ป่นให้ละเอียดผสม นํ้าตาล เล็ก 
น้อย เติมนมครึ่งลิตร ดื่ม 3 ครั้งทุก 2 ชั่วโมง 
แล้วดื่มนํ้ามันละหุ่งเพื่อถ่ายออก 
มะกรูด 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Citrus hustrix D.C. 
ลักษณะ 
เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กลำ ต้นและกิ่งมีหนามใบเรียว 
หนาคอด กิ่วตรงกลางใบ ดอกสีขาวเกสรสีเหลือง ผล 
โตกว่ามะนาว ผิวขรุขระ มีกลิ่นหอม 
ใบ ผล ราก 
ใบปรุงอาหารดับกลิ่นคาว เช่น ต้มยำ 
ผิวมะกรูดผสมเป็นเครื่องแกง 
ขับลม แก้จุกเสียด เลือดออกไรฟัน แก้ลม วิงเวียน 
1. นํ้ามะกรูดใช้ถูฟัน แก้เลือดออกตามไรฟัน 
2. ผลนำ มาดองเปรี้ยว รับประทานขับลม ขับระดู 
3. เปลือกผล ฝานบางๆ ชงนํ้า เดือดใส่การะบูเล็ก 
น้อยรับประทานแก้ลมวิงเวียน 
มะเขือเทศ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Lycopersicon esculentum Mill. 
ลักษณะ 
เป็นพืชปีเดียว ลำ ต้นตั้งตรงสูง 1-2 เมตร ใบรูปขนน
ผักสมุนไพร 
๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 
16 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
กออกสลับกัน ขอบใบหยัก ดอกสีเหลือง ผลมีหลาย 
ลักษณะ เช่น กลม กลมรี ผิวเรียบ เป็นมัน สีแดงหรือ 
สีเหลือง เนื้อผลฉํ่านํ้าภายในมีเมล็ดมาก 
ผล 
รับประทานสด เช่น สลัด ปรุง 
ยาระบายอ่อนๆ แก้กระหายนํ้า เบื่ออาหาร ปวดฟัน 
ล้างแผลจากถูกความเย็น บำ รุง กระเพาะอาหาร ไต 
ลำ ไส้ ขับสารพิษ 
1 . ผลรับปะทานสดหรือต้มนํ้า ช่วยบำ รุงไต 
กระเพาะ ลำ ไส้ และขับสารพิษ 
2. ใบบดละเอียด ใช้ทาแก้ผิวหนังถูกแดดเผา 
3. ราก ลำ ต้น และใบแก่ ต้มนํ้ารับประทาน แก้ปวด 
ฟัน และล้างแผลที่เกิดจากความเย็น 
มะเขือพวง 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Solanum torvum Swartz 
ลักษณะ 
เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูง 1-3 เมตร ใบรูปไข่ดอกสี 
ขาว ผลอ่อนสีเขียวออกเป็นพวง ผลแก่มีสีเหลืองปน 
ส้ม 
ผล ราก 
รับประทานเป็นผักจิ้ม ใส่แกง 
ขับเสมหะ ขับปัสสาวะ ช่วยย่อยอาหาร 
ห้ามเลือด แก้ปวดฟัน แก้เท้าแตกเป็นแผล 
1. ผลนำ มาต้มรับประทานขับเสมหะ แก้ไอ 
2. ต้น ผล ราก ต้มรับประทาน ช่วยย่อยอาหารและ 
ห้ามเลือด 
3. ควันจากเมล็ดที่เผาใช้สูดดมแก้ปวดฟัน 
4. รากตำ พอกแก้เท้าแตกเป็นแผล
ผักสมุนไพร 
๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 
17 
มะนาว 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Citrus aurantifolia Swing 
ลักษณะ 
เป็นไม้พุ่ม ต้นมีหนามแหลมคล้ายมะกรูดแต่เล็กและ 
สั้นกว่าดอกสีขาวอมเหลือง ผลกลม เปลือก บาง ผิว 
เรียบ รสเปรี้ยวจัด 
ผล ใบ ราก 
นํ้ามะนาวประกอบอาหาร เครื่องดื่ม ผลดอง 
เป็นมะนาวดอง หรือทำ เป็นอาหารแห้ง 
แก้ไอ เสียงแห้ง แก้บวม ทาฝี แก้ปวด 
1. นํ้ามะนาวละลายดินสอพอง พอกแก้บวม 
2. นํ้ามะนาวผสมกับนํ้าผึ้งอย่างละ 1 ช้อนชา แก้ 
เจ็บคอ 
3. มะนาวสดใส่นํ้าตาล เกลือ ดื่มระบายท้อง 
4. ใบหั่นฝอยชงด้วยนํ้าเดือด ดื่มลดไข้ หรือ อมกลั้ว 
คอฆ่าเชื้อ 
มะระ 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Momordica charantia Linn. 
ลักษณะ 
เป็นไม้เลื้อย ใบมี 5-7 หยัก ดอกเดี่ยวมีสีเหลือง ปล 
มีรูปร่างขรุขระ รสขมมาก 
ผล ใบ ราก 
ผลและยอดรับประทานเป็นผักต้ม หรือแกงจืดกับซี่ 
โครงหมู 
แก้ไข้หวัด แก้หิด โรคผิวหนัง โรคเบาหวาน
ผักสมุนไพร 
๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 
18 
1. นำ ผล ใบ ดอก และเถามาอย่างละ 1 กำ มือ ต้ม 
ให้เดือด 20-30 นาที กินครั้งละ ½-1 แก้ก่อน 
อาหาร ช่วยแก้ไข้ 
2. ผู้ป่วยโรคเบาหวานรับประทานมะระอย่างน้อย 
สัปดาห์ละครั้งจะเป็นผลดี 
มะละกอ 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Carica papaya L. 
ลักษณะ 
เป็นไม้เนื้ออ่อนยืนต้น ใบหยัก ออกที่ยอดก้าน ใบกลม 
ยาว ผลดิบมีสีเขียว แก่จัดสีเหลือง 
ใบ ผล เมล็ด ยอดอ่อน ราก 
ผลดิบใช้ปรุงอาหารเช่นแกงส้มยางช่วยทำ ให้เนื้อเปื่อย 
ผลสุกเป็นผลไม้ 
แก้กระหายนํ้า บำ รุงหัวใจ เป็นยาระบายอ่อนๆ 
1. มะละกอสุกรับประทานช่วยย่อยอาหาร 
2. เมล็ดใช้ขับพยาธิ ใบแก่บำ รุงหัวใจ 
3. รากเป็นยาขับปัสสาวะ 
4. ต้นอ่อนต้มรับประทานขับระดูขาว 
แมงลัก 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Ocimum sanctum L. 
ลักษณะ 
เป็นพืชล้มลุก สูงประมาณ 1-2 ฟุต ดอกชูเป็นชั้นๆ 
ขาวเมล็ดเล็ก เมื่อแก่จะมีสีนํ้าตาลหรือสีดำ แช่นํ้าจะ 
พองเป็นเมือกเยื่อขาว
ผักสมุนไพร 
๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 
19 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
เมล็ด ใบ 
เมล็ดทำ ขนม ใบรับประทานเป็นผักใส่ขนมจีนหรือแกง 
เลียง 
เป็นยาระบาย ห้ามเลือกกำ เดาขับลม แก้ไอ 
1. เมล็ดแช่นํ้ารับประทานกับนํ้าเชื่อมช่วยหยุดเลือด 
กำ เดา และเป็นยาระบาย 
2. ใบรับประทานช่วยขับลม 
3. ต้นต้มกับนํ้ารับประทานแก้ไอ 
สะระแหน่ 
ส่วนที่ใช้ 
ประโยชน์ทางอาหาร 
สรรพคุณทางยา 
วิธีใช้ 
ชื่อวิทยาศาสตร์ 
Mentha arvensis L. 
ลักษณะ 
เป็นต้นไม้เล็กๆ เลื้อยตามดินลำ ต้นสี่เหลี่ยม ขอบใบ 
หยัก มีกลิ่นหอมฉุน 
ใบ 
ใบสดรับประทานเป็นผักสด โรยหน้าอาหารพวกยำ 
พล่า ลาบ ให้น่ารับประทาน 
ขับลม แก้ท้องอืดเฟ้อ และปวดท้อง 
รับประทานใบสดจากการประกอบอาหารหรือเมื่อ 
ท้องอืดท้องเฟ้อช่วยขับลดบรรเทาอาการปวดท้อง 
ผักสุมนไพร อื่นๆ 
ชื่อผักสมุนไพร สรรพคุณ ส่วนที่ใช้ประโยชน์ 
แค 
พริกไทย 
ถั่วเหลือง 
ริดสีดวงจมูก 
ปวดฟัน 
ลดเบาหวาน ลดการอุดตัน 
ของไขมันในเส้นเลือด 
นํ้าคั้นจากดอกไม้หยอดจมูก 
ผสมกับถั่วเขียวกัดไว้ตรงฟัน 
ซี่ที่ปวด 
เมล็ดนำ มารับประทานเป็น 
อาหาร เช่น นํ้านมถั่วเหลือง
ผักสมุนไพร 
๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 
20 
พริกหยวก 
หัวผักกาด 
งา 
มะรุม 
สะเดา 
หอมหัวแดง 
ขี้เหล็ก 
หอมหัวแดง 
ถั่วพู 
มะพร้าว 
บัว 
โหระพา 
ช่วยกระตุ้นนํ้าย่อย ช่วยเจริญ 
อาหาร 
แก้โรคลักปิดลักเปิด 
เป็นยาบำ รุง ช่วยให้ร่างกาย 
แข็งแรง ช่วยให้ผิวพรรณผุด 
ผ่อง 
ลดไข้ บำ รุงหัวใจ ช่วยระบาย 
อ่อนๆ 
ช่วยเจริญอาหาร ช่วยระบาย 
ขับปัสสาวะ ท้องอืด ลดไขมัน 
ในเลือด 
แก้นอนไม่หลับ 
ช่วยย่อย แก้บิด ท้องเสีย 
แกอ้อ่นเพลยี บาํรงุกาํลงั 
แก้โรคผิวหนัง กลากเกลื้อน 
แผลจากไฟไหม้ 
ลดเสมหะ แก้ไอ บำ รุงกำ ลัง 
ขับลม ลดอาการจุกเสียด แก้ 
ปวดหัว ช่วยเจริญอาหาร 
นำ ผลมาปรุงเป็นอาหาร 
ปรุงเป็นอาหาร เช่นแกงจืด 
แกงส้ม 
นำ เมล็ดมาปรุงอาหาร เช่น 
ขนม 
นำ ผลมาปรุงอาหาร เช่น แกง 
ส้ม 
นำ ใบหรือช่อดอกมารับ 
ประทาน 
นำ มาปรุงเป็นอาหาร 
ใบอ่อนลวกจิ้มนํ้าพริก 
หัวหอมปรุงเป็นอาหาร 
ฝัก ดอก ยอดอ่อน หัวใต้ดิน 
นำ มาปรุงเป็นอาหาร เช่น 
ต้มจิ้มนํ้าพริก สลัด แกงจืด 
แกงเลียง 
นํ้ามันจากมะพร้าว 
รากบัว(ไหล) นำ มาผัดกุ้ง 
แกงส้ม ต้มยำ 
นำ ใบและต้นมาปรุงเป็น 
อาหาร หรือรับประทานเป็น 
ผักสด หรือผักโรยหน้า 
จัดทำ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์โดย : สำ นักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยguesta30f391
 
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑tommy
 
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานUdomsak Chundang
 
ติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสดติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสดMa' Nor
 
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้งติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้งMa' Nor
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖Utai Sukviwatsirikul
 
ลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรaromdjoy
 
สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด Patcha Linsay
 
โครงงานต้นสะเดา
โครงงานต้นสะเดาโครงงานต้นสะเดา
โครงงานต้นสะเดาAom Warisara
 
Thai herbs @home
Thai herbs @homeThai herbs @home
Thai herbs @homePim_sai
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานTiwapon Wiset
 
Thai herbal-treatment-for-depression
Thai herbal-treatment-for-depressionThai herbal-treatment-for-depression
Thai herbal-treatment-for-depressionWarakamon Udomsri
 
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรคหญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรคหญ้าปักกิ่ง จตุกา
 
สมุนไพรไล่ยุง
สมุนไพรไล่ยุงสมุนไพรไล่ยุง
สมุนไพรไล่ยุงGuenu Nam
 

Mais procurados (20)

พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
 
HERB
HERBHERB
HERB
 
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
 
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
 
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
ติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสดติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสด
 
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้งติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
 
ลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพร
 
สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด
 
โครงงานต้นสะเดา
โครงงานต้นสะเดาโครงงานต้นสะเดา
โครงงานต้นสะเดา
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
Thai herbs @home
Thai herbs @homeThai herbs @home
Thai herbs @home
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Thai green th
Thai green thThai green th
Thai green th
 
Thai herbal-treatment-for-depression
Thai herbal-treatment-for-depressionThai herbal-treatment-for-depression
Thai herbal-treatment-for-depression
 
สมุนไพรไทยโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน
สมุนไพรไทยโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสนสมุนไพรไทยโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน
สมุนไพรไทยโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน
 
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรคหญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
 
สมุนไพรไล่ยุง
สมุนไพรไล่ยุงสมุนไพรไล่ยุง
สมุนไพรไล่ยุง
 

Destaque

เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Utai Sukviwatsirikul
 
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทย
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทยEbooksint ตำรายาสมุนไพรไทย
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทยRose Banioki
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมguestefb2bbf
 
ตำราวิชาการสุคนธบำบัด
ตำราวิชาการสุคนธบำบัดตำราวิชาการสุคนธบำบัด
ตำราวิชาการสุคนธบำบัดNoiRr DaRk
 
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
 ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น  ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น Utai Sukviwatsirikul
 
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...Vorawut Wongumpornpinit
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1Utai Sukviwatsirikul
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2 ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2 Utai Sukviwatsirikul
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3 ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3 Utai Sukviwatsirikul
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา Newพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา NewNickson Butsriwong
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนVorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...Utai Sukviwatsirikul
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาNickson Butsriwong
 
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP Vorawut Wongumpornpinit
 
Cpg นวดไทย
Cpg นวดไทยCpg นวดไทย
Cpg นวดไทยChio Naja
 
PCM IS สมุนไพรดับกลิ่น
PCM IS สมุนไพรดับกลิ่นPCM IS สมุนไพรดับกลิ่น
PCM IS สมุนไพรดับกลิ่นSupaporn Kornkhonburi
 
คุณค่าทางโภชนาการในผลไม้
คุณค่าทางโภชนาการในผลไม้คุณค่าทางโภชนาการในผลไม้
คุณค่าทางโภชนาการในผลไม้Vorawut Wongumpornpinit
 
คัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่าง
คัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่างคัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่าง
คัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่างUNDP
 
Medicinal Mushroom Preparations against Lung Cancer
Medicinal Mushroom Preparations against Lung CancerMedicinal Mushroom Preparations against Lung Cancer
Medicinal Mushroom Preparations against Lung CancerNeven Jakopovic
 

Destaque (20)

เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทย
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทยEbooksint ตำรายาสมุนไพรไทย
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทย
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
 
ตำราวิชาการสุคนธบำบัด
ตำราวิชาการสุคนธบำบัดตำราวิชาการสุคนธบำบัด
ตำราวิชาการสุคนธบำบัด
 
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
 ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น  ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
 
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2 ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3 ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา Newพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
 
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
 
Cpg นวดไทย
Cpg นวดไทยCpg นวดไทย
Cpg นวดไทย
 
PCM IS สมุนไพรดับกลิ่น
PCM IS สมุนไพรดับกลิ่นPCM IS สมุนไพรดับกลิ่น
PCM IS สมุนไพรดับกลิ่น
 
คุณค่าทางโภชนาการในผลไม้
คุณค่าทางโภชนาการในผลไม้คุณค่าทางโภชนาการในผลไม้
คุณค่าทางโภชนาการในผลไม้
 
คัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่าง
คัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่างคัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่าง
คัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่าง
 
Medicinal Mushroom Preparations against Lung Cancer
Medicinal Mushroom Preparations against Lung CancerMedicinal Mushroom Preparations against Lung Cancer
Medicinal Mushroom Preparations against Lung Cancer
 

Semelhante a สมุนไพรไทย

เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร สิรินธร สุรินทร์
เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร  สิรินธร สุรินทร์เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร  สิรินธร สุรินทร์
เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร สิรินธร สุรินทร์Prasong Somarat
 
โครงงานสะเดา
โครงงานสะเดาโครงงานสะเดา
โครงงานสะเดาAngkhana Nuwatthana
 
เห็ดหลินจือ22
เห็ดหลินจือ22เห็ดหลินจือ22
เห็ดหลินจือ22sirinapa12
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..preeyanuch2
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..preeyanuch2
 
ความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพรความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพรWaree Wera
 
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทยจู ล่ง
 
งาน
งานงาน
งานDARAGA
 
Samunpai
SamunpaiSamunpai
Samunpaimuisza
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพรguestccf562
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยguestd908c1
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพรguestd908c1
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพรguestd908c1
 
T1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจT1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจkhuwawa
 

Semelhante a สมุนไพรไทย (20)

เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร สิรินธร สุรินทร์
เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร  สิรินธร สุรินทร์เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร  สิรินธร สุรินทร์
เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร สิรินธร สุรินทร์
 
โครงงานสะเดา
โครงงานสะเดาโครงงานสะเดา
โครงงานสะเดา
 
เห็ดหลินจือ22
เห็ดหลินจือ22เห็ดหลินจือ22
เห็ดหลินจือ22
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..
 
ความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพรความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพร
 
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมดโครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
11
1111
11
 
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
 
งาน
งานงาน
งาน
 
Samunpai
SamunpaiSamunpai
Samunpai
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
T1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจT1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจ
 

สมุนไพรไทย

  • 1. ผักสมุนไพร รวบรวมโดย บุษราคัม อุดมศักดิ์ สมุนไพรไทยนี้มีค่ามาก พระเจ้าอยู่หัวทรงฝากให้รักษา แต่ปู่ย่าตายายใช้กันมา ควรลูกหลานรู้รักษาใช้สืบไป เป็นเอกลักษณ์ของชาติควรศึกษา วิจัยยาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมัย รู้ประโยชน์รู้โทษสมุนไพร เพื่อคนไทยอยู่รอดตลอดกาล พระราชนิพนธ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี
  • 2. ผักสมุนไพร ๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 2 คำ นำ สมุนไพรเป็นตำ รับยาพื้นบ้านที่คนไทยรู้จักและใช้กันมานานตั้งแต่สมัย ปู่ย่าตายาย ซึ่งการรักษาทางการแพทย์แผนใหม่ยังไม่พัฒนา คนไทยโดยเฉพาะใน ชนบทได้รู้จักนำ เอาของที่มีอยู่ใกล้ตัวมาใช้รักษาโรคภัยไข้เจ็บ โดยเริ่มจากประสบการณ์ การลองผิดลองถูกและได้มีการบอกเล่าต่อๆกัน และได้มีการรวบรวมเป็นตำ ราเกิดขึ้น จนกระทั่งถึงยุคการแพทย์ก้าวหน้าสมุนไพรดูจะห่างหายไปจากชีวิตประจำ วันของคน ไทย การรักษาโดยยาที่เป็นสารสังเคราะห์ต่างๆ ได้เข้ามามีบทบาทแทน จะหลงเหลือ อยู่บ้างก็เฉพาะชนบทที่ห่างไกลเท่านั้น แต่ในปัจจุบันคนทั่วไปรวมถึงวงการแพทย์ เริ่ม ตระหนักถึงพิษภัยการรักษาด้วยยาที่เป็นสารสังเคราะห์ทางเคมีว่ามีการตกค้างและ ผลข้างเคียงในอันที่จะก่อให้เกิดโรคอื่นตามมาสมุนไพรจึงกลับมาได้รับความสนใจ อีกครั้ง เช่นเมื่อไม่นานนี้ทางองค์การเภสัชก็ได้ผลิตขมิ้นชันเป็นยาแคปซูลเพื่อรักษา โรคระบบกระเพาะอาหารขึ้นจำ หน่ายแล้ว ในการรวบรวมผักที่เป็นสมุนไพรขึ้นมานี้ก็เพื่อให้เห็นประโยชน์ของผัก ต่างๆ นอกจากคุณค่าทางอาหารที่มีประโยชน์แล้ว ผักหลายชนิดก็ยังมีสรรพคุณทางยา อีกด้วย ถึงแม้ว่าบางครั้งอาจจะไม่ช่วยรักษาให้หายโดยเฉียบพลัน แต่อย่างน้อยก็ช่วย บรรเทาอาการลงได้ และเป็นสิ่งซึ่งมีใกล้ตัวอยู่แล้ว เนื่องจากเป็นอาหารในชีวิตประจำ วัน อย่างน้อยก็เพื่อบำ รุงสุขภาพ อีกทั้งไม่ก่อให้เกิดอันตรายใดๆ ถ้ารู้จักเลือกใช้ให้เป็น ประโยชน์ ❦กระเจี๊ยบ ❦กระชาย ❦กระเทียม ❦กระเพรา ❦ขมิ้นชัน ❦ข้าวโพด ❦ขิง ❦แครอท ❦คื่นไฉ่ ❦ตะไคร้ ❦ตำ ลึง ❦แตงกวา ❦ถั่วฝักยาว ❦บัวบก ❦ผักชี ❦ผักบุ้ง ❦พริกขี้หนู ❦ฟัก ❦ฟักทอง ❦มะกรูด ❦มะเขือเทศ ❦มะเขือพวง ❦มะนาว ❦มะระ ❦มะละกอ ❦แมงลัก ❦สะระแหน่ ❦ผักสมุนไพรอื่นๆ
  • 3. ผักสมุนไพร บทนำ ๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 3 ผักเป็นพืชที่มีคุณค่าทางอาหารมากมาย ผักเกือบทุกชนิดมีสารอาหาร ที่มีประโยชน์ หลายชนิดมีวิตามินที่มีประโยชน์สูงเช่น ผักบุ้ง ตำ ลึง หรือ ผักที่มีใบ สีเขียว บางชนิดมีโปรตีนสูงถึง 30% เช่นผักตระกูลถั่ว หรือในผักพื้นบ้าน เช่น มะรุม มีโปรตีนสูงถึง 26.8% ของนํ้าหนักแห้ง วิตามินเอ 45,200 หน่วยสากล (IU) วิตามิน ซี 440 มิลลิกรัม แคลเซียม 1,760 มิลลิกรัม บางชนิดนอกจากมีสารอาหารต่างๆ แล้วยังมีสารประกอบอื่นที่มีสรรพคุณทางยา เช่น มะระมีสาร โพลีเปปไทด์-พี ซึ่งมีคุณ สมบัติคล้ายอินซูลินซึ่งช่วยลดนํ้าตาลในคนที่เป็นโรคเบาหวานได้ หรือในผักที่รสเปรี้ยว เช่น มะนาว ซึ่งอุดมไปด้วยวิตามินซีก็ช่วยบรรเทาอาการจาก ไข้หวัดได้เช่นกัน จากสารอาหารต่างๆในผักนั่นเองที่มีคุณสมบัติในการรักษาโรคได้ หลายชนิดโดยที่เมื่อร่างกายได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ เช่น วิตามินเข้าไปก็เป็นการ ช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง หรือบางชนิดมีสรรพคุณรักษาโรคได้โดยตรง ซึ่งใน การรักษาโรคนั้นก็อาจจะได้จากที่เราได้ รับประทานเป็นอาหารในชวีติประจาํวนัหรอื ปรุงแต่งร่วมกับอาหารอื่น เช่น นํ้าผึ้ง เกลือ นํ้ามะนาว หรือ สกัดเอานํ้าคั้นมาถูทาตรง ส่วนที่เกิดโรค เป็นต้น กระเจี๊ยบ ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Abelmoschus esculentus (L.) ลักษณะ เป็นพืชล้มลุก ใบมีขน ดอกมี กลีบสีเหลือง โคนกลีบด้านในสีม่วงแดง ปลายผลแหลม แก่จัดผลจะแตก มีเมล็ดจำ นวนมาก ผล ผลสดรับประทานเป็นผักสดหรือต้มจิ้มนํ้า พริก แก้ผลในกระเพาะ 1. ผลแห้งน้ำ มาป่นผสมกับน้ำ รับประทาน แก้แผลในกระเพาะ 2. รับประทานผลสดซึ่งมีสารเมือกจะไป ช่วยเคลือบกระเพาะ Ladies’ fingers กระเจี๊ยบ
  • 4. ผักสมุนไพร ๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 4 กระชาย ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Kaempferia pandurata Roxb. ลักษณะ เป็นไม้ล้มลุก ลงหัว ใบยาวคล้ายใบข่า ดอกสีม่วง แดงลำ ต้นอยู่ใต้ดิน เรียกว่า เหง้า มีสีเหลือง เหง้า (หัว) เป็นเครื่องปรุง เช่นเครื่องแกง แก้ปากเปื่อย ปากเป็นแผลขี้กลาก บำ รุงกำ ลัง 1. นำ เหง้าฝนกับนํ้าฝนให้ข้นๆ ทาแผลในปาก หรือบริเวณที่เป็นกลาก 2. เหง้าสด นำ มาปิ้งให้สุกตำ ละเอียดใส่นํ้าปูนใส ครึ่งแก้วรับประทานแก้ปวดทืองเหง้า สดต้ม กบันา ํ้รวมกบัหญา้ขดัมอญ ดมื่บาํรงุกาํลงั กระเทียม ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Allium sativum Linn. ลักษณะ ใบสีเขียว แข็งยาว หัวอยู่ใต้ดินมีกลีบเกาะกันมีเยื่อ บางๆหุ้ม หัวเป็นชั้นๆ ดอกเป็นช่อสีขาว หัว ใบ ต้น ใบ หัวต้นประกอบเป็นอาหารหรือเป็นผักสด ขับลม ขับเสมหะ ขับเหงื่อ ขับปัสสาวะ ลดไข้ ขับ พยาธิเส้นด้าย คออักเสบ แก้หืด อัมพาต จุกแน่น ปวดสะโพก ทาแก้ โรคเกลื้อนโรคผิวหนัง 1. หัวกระเทียม 2 ช้อนโต๊ะทุบให้แตก แช่
  • 5. ผักสมุนไพร ๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 5 แอลกอฮอล์ 80% 10 ช้อนโต๊ะ ทิ้งไว้ 7 วัน รับ ประทานครึ่งช้อนโต๊ะ ทุก 3 ชั่วโมง แก้ไข้ตัว ร้อนจัด 2. กระเทียมแห้ง 1-2 หัว โขลกกับนมสดหรือกะทิ สด 10 ช้อนโต๊ะ กรองเอานํ้ามาดื่มช้าๆ อาทิตย์ ละ 3-4 ครั้ง ช่วยขับพยาธิเส้นด้าย 3. หัวกระเทียม 1-2 หัวโขลกกับนํ้าส้ม 1 ช้อนโต๊ะ กวาดในคอเป็นยาสมานแก้เจ็บคอ 4. โขลกกระเทียมละเอียด ขยี้ผมหลังสระผม 5. รับประทานหัวกระเทียมบ่อยๆ ช่วยรักษาโรค ปอดบวม แก้ฟกชํ้า ปวดมวนท้อง 6. หัวกระเทียมสด ทารักษาโรคเกลื้อนบางชนิดให้ หายได้ กระเพรา ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Ocimum sanctum L. ลักษณะ เป็นพุ่มเตี้ย ใบสีแดงคล้ายสะระแหน่ ต้นสีแดง ดอก เป็นช่อคล้ายโหระพาถ้าเขียว ใบเขียว เรียก กระเพราขาว ใบ ใบใช้ปรุงอาหาร เช่นผัดกับเนื้อ หมู ไก่ แก้ปวดท้อง ท้องขึ้น จุกเสียด 1. กระเพราสด 3 ใบ ผสมเกลือเล็กน้อยให้ละเอียด ละลายด้วยนํ้าสุกหรือนํ้าผึ้งรับประทานแก้ปวด ท้อง ท้องอืด 2. ใบนำ มาแกงเลียงรับประทานหลังคลอดช่วย ขับลม บำ รุงธาตุ หืด ไอ แก้ฝีพุพอง
  • 6. ผักสมุนไพร ๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 6 ขมิ้นชัน ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Curcuma lonnga linn. ลักษณะ เป็นพืชล้มลุก มีเหง้าอยู่ใต้ดินสีเหลืองฤดูแล้งใบจะ แห้งตาย แต่จะแตกใหม่เมื่อฝนตกชุก เหง้า เหง้าใช้แต่งสีอาหาร เช่น ข้าวหมกไก่ แกงเหลือง แกงกะหรี่ แก้ท้องอืดเฟ้อ ลดการจุกเสียด แน่นท้อง ท้องผูก ปวดศรีษะ แก้โรคผิวหนัง ผื่นคัน 1. ขมิ้นชันแก่จัดนำ มารับประทานเป็นผักสดช่วย ขับลม แก้ท้องอืดเฟ้อ จุกเสียดแน่นท้อง 2. เหง้าขมิ้นชันตากแห้ง ป่นเป็นผง ทาแก้โรคผิว หนัง 3 . ปัจจุบันองค์การเภสัชผลิตเป็นแคปซูล รับ ประทานครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 4 ครั้งหลัง อาหารและก่อนนอน บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด ข้าวโพด ชื่อวิทยาศาสตร์ Zea may L. ลักษณะ เป็นพืชไร่ล้มลุก ลำ ต้นตั้งตรง เป็นข้อๆ ใบยาวเรียว มีขน ผลออกระหว่างกานใบ ผลมีเปลือกสีเขียวหุ้ม เป็นชั้นๆ ส่วนปลายมีเส้นไหมสีแดงอมม่วง เมล็ด เรียงเป็นแถวสีขาว สีเหลือง
  • 7. ผักสมุนไพร ๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 7 ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ผลที่เรียกฝัก ไหม ผลหรือฝักอ่อนรับประทานเป็นผัก ฝักแก่ต้ม รับประทานหรือปรุงเป็นขนม บรรเทาโรคไตอักเสบ กระเพาะปัสสาวะ อักเสบ ความดันโลหิตสูง ลดคลอเลสเตอรอล 1. รับประทานเป็นประจำ แก้โรคความดันโลหิตสูง และช่วยลดคลอเรสเตอรอล 2. ไหมข้าวโพดแห้ง 1 หยิบมือชงกับนํ้าเดือด ดื่มแทนนํ้าชาช่วยบรรเทาโรคไต 3. ซังนำ มาต้มกับนํ้าใส่เกลือเล็กน้อย ให้เด็กดื่ม แก้ปัสสาวะ รดที่นอน ขิง ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Zingiber officinale roscoe ลักษณะ เป็นพืชอายุหลายปี มีลำ ต้นใต้ดินเรียกว่าเหง้า มี กลิ่นหอมฉุน ใบออกสลับกัน ดอกออกเป็นช่อจาก ลำ ต้นใต้ดิน มีสีเหลือง เหง้า ใบ เหง้าสดใช้ปรุงอาหาร หรือรับประทานสด แก้อาเจียน ไข้หวัดใหญ่ ไอ จุกแน่นหน้าอก ปวด ข้อ ท้องอืด 1. เหง้าสดคั้นเอานํ้า 1-2 ช้อนโต๊ะ ผสมนํ้าผึ้ง กินหรือเหง้าสดต้มดื่มแทนนํ้าชา แก้ไข้หวัด 2. เหง้าสดต้มกับนํ้าส้มสายชู รินเอาแต่นํ้าดื่ม แก้อาเจียน 3. เหง้าสดตำ ละเอียด เคี่ยวให้ข้นทาท้องอุ่นๆ แก้ท้องอืด
  • 8. ผักสมุนไพร ๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 8 แครอท ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Daucus carota Linn. ลักษณะ เป็นพืชล้มลุก อายุ 1-2 ปี มีรากใต้ดินที่เรียกว่าหัว มีสีส้มลักษณะยาวเรียว ใบเป็นฝอย ราก (หัว) เมล็ด ปรุงเป็นแกงจืด หรือเป็นผักสด เช่น สลัดหรือ แต่งหน้าอาหาร บำ รุงสายตา บำ รุงผิว ย่อยอาหาร 1. รับประทานเป็นประจำ ช่วยบำ รุงสายตา แก้โรค ตาฟาง ขับปัสสาวะ ย่อยอาหาร 2. นํ้าคั้นจากหัวแครอทผสมกับนํ้ามะนาวทาผิว หน้าช่วยลบรอยเหี่ยวย่น คื่นไฉ่ ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Apium graveolens Linn. ลักษณะ เป็นพืชล้มลุกอายุ 2 ปี ใบย่อย เป็นรูปลิ่มขอบใบ หยักแบบซี่ฟัน ดอกสีขาว ช่อดอกเป็นแบบซี่ร่มซ้อน ผลมีขนาดเล็กเป็นเส้น สีนํ้าตาล ทั้งต้นมีกลิ่นหอม ลำ ต้น ใบ และเมล็ดแก่ ทั้งต้นและใบรับประทานเป็นผักสด เช่น เป็นผักโรย หน้าอาหารพวกยำ ต่างๆ หรือ ใส่แกงจืด ขับปัสสาวะ ขับลม ไขข้ออักเสบ 1. รับประทานบ่อยๆ ช่วยเจริญอาหาร ช่วยขับ ปัสสาวะ
  • 9. ผักสมุนไพร ๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 9 2. นํ้าคั้นจากลำ ต้น รับประทานแก้อาการบวมนํ้า ปวดข้อจากอาการไขข้ออักเสบ ตระไคร้ ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Cymbopogon citratus (DC.) ลักษณะ เป็นพืชล้มลุกขึ้นอยู่เป็นกอ ใบยาวแคบและคาย มีหัวอยู่ที่ผิวดิน เรียกว่า หน่อ มีกลิ่นหอมแรง ทั้งต้น ลำ ต้นนำ มาปรุงเป็นเครื่องแกง พล่า ต้มยำ ขับลม ขับเหงื่อ แก้ปวดเมื่อย แน่นท้อง ลดไข้ แก้ ประจำ เดือนไม่ปกติ 1. รับประทานสด หรือนำ มาต้นกับนํ้า สูดดมช่วย ขับลม ขับเหงื่อ ลดไข้ แน่นท้อง 2. คั้นนํ้าทาแก้ปวดเมื่อย 3. โคนต้น (ที่เรียกหัว) ผสมกับพลิกไทยดำ รับ ประทานแก้ ประจำ เดือนไม่ปกติ ตำ ลึง ส่วนที่ใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Cocinia grandis (L.) Voig ลักษณะ เป็นไม้เถาเลื้อย ใบมี 2 ชนิด ชนิดแรกใบจักเว้าลึก เกือบถึงโคนเรียกตำ ลึงตัวผู้ อีกชนิดหนึ่งใบเว้าเล็ก น้อย เรียกตำ ลึงตัวเมีย ดอกสีขาว ห้าแฉก ผลอ่อนสี เขียว เมื่อแก่มีสีแดง ยอด ใบ เถา
  • 10. ผักสมุนไพร ๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 10 ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ใบ ยอดปรุงเป็นอาหาร ลมพิษ แก้ตาแดง บำ รุงสายตา 1. ใบนำ มาตำ ให้ละเอียดผสมนํ้าเล็กน้อย ดื่มหรือ เอานํ้ามาทาบริเวณที่เป็นลมพิษ ถูกขนบุ้งหรือ อาการแพ้ต่างๆ 2. เถาตำ ลึงนำ มาตัด 2 ข้าง คลึงให้บวม แล้วเป่า ฟองออกมาหยอดตา แก้ตาแดง ตาแฉะ 3. รับประทานเป็นอาหารประจำ ช่วยบำ รุงสายตา แตงกวา ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Cucunis sativus L. ลักษณะ เป็นพืชเถาเลื้อย อายุ 1 ปี ต้นมีขนหยาบ ใบออก สลับกับทรงสามเหลี่ยม เว้าเข้าขอบใบหยัก ดอกมี สีเหลือง ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีเหลือง เมล็ดรีแบน สีขาว ผล ใบ เถา และราก ผลสดรับประทานเป็นผักสด หรือต้มจืด ขับปัสสาวะ แก้ไข้ คอเจ็บ ตาแดง ไฟลวก ผื่นคัน บิด บวม 1. รับประทานผลสดเป็นประจำ ช่วยขับปัสสาวะ แก้ไข้ คอเจ็บ 2. ใบสดต้มหรือคั้นเอานํ้ากินแก้ท้องเสีย บิด 3. เถาสด 30-60 กรัมต้มนํ้าพอก แก้โรคผิวหนัง 4. รากตำ มาพอกแก้บวมอักเสบ
  • 11. ผักสมุนไพร ๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 11 ถั่วฝักยาว ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Vigna sinensis Savi ลักษณะ เป็นไม้เถา ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย 3 ใบ ช่อ ดอกสั้นกว่าใบ มีดอกย่อย 2-3 ดอก กลีบดอก มีลักษณะคล้ายผีเสื้อสีม่วงอ่อน สีขาวหรือเหลือง มีฝักยาว 20-60 ซม. ห้อยลงมา ราก ใบ เมล็ด ฝัก ฝักสดนำ มาปรุงอาหารหรือรับ ประทานสด เป็น ผักแกล้ม บำ รุง ม้าม ไต แก้บิด อาเจียน ระงับปวด แก้บวม แก้หนองใน ทำ ให้เจริญอาหาร 1. ฝักสดรับประทานแก้ท้องอืด 2. ฝักสดต้มผสมเกลือ กินทุกวัน บำ รุงไต 3 . เมล็ดนํ ามาตุ๋นกับเนื้อ ไ ก่แ ล ะ ผักบุ้ง รับประทานลดระดูขาว บัวบก ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา ชื่อวิทยาศาสตร์ Centella asiatica (Linn.) Urban ลักษณะ เป็นพืชเลื้อยตามดินแฉะๆ มีรากงอกตามข้อของลำ ต้น ใบคล้ายไต ปลายใบกลม ก้านยาว ขอบใบหยัก ดอก สีม่วงแดง ทั้งต้น รับประทานเป็นผักสด หรือต้มนํ้าดื่ม ยาบำ รุง กระตุ้นความจำ โรคเรื้อน วัณโรค
  • 12. ผักสมุนไพร ๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 12 วิธีใช้ นำ ใบมารับประทานเป็นผักสด หรือคั้นนํ้าทำ เป็น เครื่องดื่ม ใช้เป็นยาบำ รุง กระตุ้นความจำ บำ บัดโรค เรื้อนและวัณโรค ผักชี ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Coriandrum sativum L. ลักษณะ เป็นพืชปีเดียว ลำ ต้นตั้งตรงมีรากฝอยมาก ใบมี ก้านยาวใบย่อย 2 ชั้น ขอบใบหยัก ดอกออกเป็นช่อ สีขาวหรือชมพู ผลกลมออกดอก ฤดูร้อน ออกผลฤดู หนาว ทั้งต้นและผล ใบใส่โรยอาหารเพิ่มความหอม และดับกลิ่นคาวปลา และเนื้อ ขับเหงื่อ ขับลม แก้ผื่นหัด ท้องอืด ละลายเสมหะ ผักชีสด 60-150 กรัมต้ม หรือคั้นนํ้าก็ได้ นำ นํ้ามา ดื่ม ช่วยขับเหงื่อ ขับลม ท้องอืด หรือ ทาแก้ผื่นหัด (ถ้าผลให้ใช้ 6-12 กรัม ต้มนํ้า หรือ บดเป็นผง) ผักบุ้ง ส่วนที่ใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Ipomoea aquatica Forsk ลักษณะ เป็นพืชเลื้อยตามโคลนหรือลอยอยู่ในนํ้าจืด ใบมี ก้านยาว ปลายแหลม ฐานใบเป็นรูปลูกศร หรือกลม ขอบใบเรียบหรือเป็นเหลี่ยม ดอกสีขาวหรือม่วงแดง ข้อล่างๆ จะมีรากงอก ยอดอ่อน ใบ ดอกตูม
  • 13. ผักสมุนไพร ๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 13 ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ เป็นผักสดหรือต้มสุก หรือนำ มาปรุงอาหาร ยาระบาย บำ รุงสายตา ริดสีดวงทวาร กลากเกลื้อน 1. รับประทานประจำ ช่วยบำ รุงสายตา และเป็นยา ระบาย 2. ตำ ผักบุ้งให้ละเอียด พอกรักษาโรคสีดวงทวาร 3. นํ้าคั้นจากดอกตูมช่วยรักษา โรคกลากเกลื้อน พรกิขี้หนู ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Capsicum frutescens L. ลักษณะ เป็นพืชปีเดียวใบยาวรี ปลายใบแหลม ดอกสีขาวออก ตามง่าม ผลกลมยาวปลายแหลม สีเขียวเมื่อแก่มี สีแดง ก้านผลยาว เมล็ดมีจำ นวนมากลักษณะกลม แบนสีเหลืองอ่อน ผล รากและต้น ใช้ปรุงหรือประกอบอาหารเพื่อเพิ่มรสเผ็ด ช่วยเจริญอาหาร ช่วยย่อย บิดท้องเสีย ไตและอัณฑะ บวม 1. บิด ท้องเสีย ใช้พริก 1 ผล บด เป็นผงสอดใน เต้าหู้รับประทาน 2. รับประทานเป็นอาหารช่วย เจริญอาหาร และ ช่วยย่อย 3 . ไตและอัณฑะบวมใช้รากและเนื้อหมูต้ม รับประทาน
  • 14. ผักสมุนไพร ๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 14 ฟัก ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Benincasa hispida Cogn. ลักษณะ เป็นไม้เลื้อยอายุ 1 ปี ลำ ต้นและใบมีขน ลักษณะ กลมชอบใบเป็นแฉก ดอกมี 5 กลีบสีเหลือง ผลอ่อน มีขนมากลักษณะยาวหัวท้ายมน เมื่อแก่ขนจะหลุด ไปเมล็ดแบนรีลิบ ผล เมล็ด ใบและเถา ปรุงเป็นอาหาร เช่น ต้มจืด แก้ไข้ กระหายนํ้า ริดสีดวง ผดผื่นคัน ได 1. เด็กอายุ 1-5 เดือนมีไข้ให้กินนํ้าต้มฟัก บ่อยๆ 2. ริดสีดวงทวาร คั้นเอานํ้าจากผลมาชะล้าง 3. เป็นผด ผื่นคัน หั่นผลฟักเป็นแผ่น ถูทาบริเวณที่ คัน 4. ไอ ใช้เปลือกผลแห้ง 15 กรัมผสมนํ้าผึ้งกรองนํ้า มาดื่ม 5. ฝ้า หรือจุดด่างดำ บนผิวหนังใช้นํ้าคั้นจากไส้ใน ผลสด ทาบ่อยๆ ฟักทอง ส่วนที่ใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Cucurbita maxima Duchesne ลักษณะ เป็นไม้เถาขนาดยาวมาก ใบมี 5 หยัก สากมือ ดอกสี เหลืองรูปกระดิ่ง ผลมีขนาดใหญ่เป็นพูเปลือกผลค่อน ข้างแข็ง บางชนิดมีสีเขียว บางชนิดสีนํ้าตาลแดง ผล ดอก ยอดอ่อน
  • 15. ผักสมุนไพร ๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 15 ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ใช้ปรุงอาหาร หรือทำ ขนมหวาน บำ รุงสายตา โรคพยาธิตัวตืด 1. รับประทานเป็นประจำ ช่วยบำ รุงสายตา 2. เมล็ดมีนํ้ามันใช้ถ่ายพยาธิตัวตืด โดยใช้เมล็ดฟัก ทอง 60 กรัม ป่นให้ละเอียดผสม นํ้าตาล เล็ก น้อย เติมนมครึ่งลิตร ดื่ม 3 ครั้งทุก 2 ชั่วโมง แล้วดื่มนํ้ามันละหุ่งเพื่อถ่ายออก มะกรูด ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus hustrix D.C. ลักษณะ เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กลำ ต้นและกิ่งมีหนามใบเรียว หนาคอด กิ่วตรงกลางใบ ดอกสีขาวเกสรสีเหลือง ผล โตกว่ามะนาว ผิวขรุขระ มีกลิ่นหอม ใบ ผล ราก ใบปรุงอาหารดับกลิ่นคาว เช่น ต้มยำ ผิวมะกรูดผสมเป็นเครื่องแกง ขับลม แก้จุกเสียด เลือดออกไรฟัน แก้ลม วิงเวียน 1. นํ้ามะกรูดใช้ถูฟัน แก้เลือดออกตามไรฟัน 2. ผลนำ มาดองเปรี้ยว รับประทานขับลม ขับระดู 3. เปลือกผล ฝานบางๆ ชงนํ้า เดือดใส่การะบูเล็ก น้อยรับประทานแก้ลมวิงเวียน มะเขือเทศ ชื่อวิทยาศาสตร์ Lycopersicon esculentum Mill. ลักษณะ เป็นพืชปีเดียว ลำ ต้นตั้งตรงสูง 1-2 เมตร ใบรูปขนน
  • 16. ผักสมุนไพร ๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 16 ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ กออกสลับกัน ขอบใบหยัก ดอกสีเหลือง ผลมีหลาย ลักษณะ เช่น กลม กลมรี ผิวเรียบ เป็นมัน สีแดงหรือ สีเหลือง เนื้อผลฉํ่านํ้าภายในมีเมล็ดมาก ผล รับประทานสด เช่น สลัด ปรุง ยาระบายอ่อนๆ แก้กระหายนํ้า เบื่ออาหาร ปวดฟัน ล้างแผลจากถูกความเย็น บำ รุง กระเพาะอาหาร ไต ลำ ไส้ ขับสารพิษ 1 . ผลรับปะทานสดหรือต้มนํ้า ช่วยบำ รุงไต กระเพาะ ลำ ไส้ และขับสารพิษ 2. ใบบดละเอียด ใช้ทาแก้ผิวหนังถูกแดดเผา 3. ราก ลำ ต้น และใบแก่ ต้มนํ้ารับประทาน แก้ปวด ฟัน และล้างแผลที่เกิดจากความเย็น มะเขือพวง ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Solanum torvum Swartz ลักษณะ เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูง 1-3 เมตร ใบรูปไข่ดอกสี ขาว ผลอ่อนสีเขียวออกเป็นพวง ผลแก่มีสีเหลืองปน ส้ม ผล ราก รับประทานเป็นผักจิ้ม ใส่แกง ขับเสมหะ ขับปัสสาวะ ช่วยย่อยอาหาร ห้ามเลือด แก้ปวดฟัน แก้เท้าแตกเป็นแผล 1. ผลนำ มาต้มรับประทานขับเสมหะ แก้ไอ 2. ต้น ผล ราก ต้มรับประทาน ช่วยย่อยอาหารและ ห้ามเลือด 3. ควันจากเมล็ดที่เผาใช้สูดดมแก้ปวดฟัน 4. รากตำ พอกแก้เท้าแตกเป็นแผล
  • 17. ผักสมุนไพร ๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 17 มะนาว ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus aurantifolia Swing ลักษณะ เป็นไม้พุ่ม ต้นมีหนามแหลมคล้ายมะกรูดแต่เล็กและ สั้นกว่าดอกสีขาวอมเหลือง ผลกลม เปลือก บาง ผิว เรียบ รสเปรี้ยวจัด ผล ใบ ราก นํ้ามะนาวประกอบอาหาร เครื่องดื่ม ผลดอง เป็นมะนาวดอง หรือทำ เป็นอาหารแห้ง แก้ไอ เสียงแห้ง แก้บวม ทาฝี แก้ปวด 1. นํ้ามะนาวละลายดินสอพอง พอกแก้บวม 2. นํ้ามะนาวผสมกับนํ้าผึ้งอย่างละ 1 ช้อนชา แก้ เจ็บคอ 3. มะนาวสดใส่นํ้าตาล เกลือ ดื่มระบายท้อง 4. ใบหั่นฝอยชงด้วยนํ้าเดือด ดื่มลดไข้ หรือ อมกลั้ว คอฆ่าเชื้อ มะระ ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Momordica charantia Linn. ลักษณะ เป็นไม้เลื้อย ใบมี 5-7 หยัก ดอกเดี่ยวมีสีเหลือง ปล มีรูปร่างขรุขระ รสขมมาก ผล ใบ ราก ผลและยอดรับประทานเป็นผักต้ม หรือแกงจืดกับซี่ โครงหมู แก้ไข้หวัด แก้หิด โรคผิวหนัง โรคเบาหวาน
  • 18. ผักสมุนไพร ๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 18 1. นำ ผล ใบ ดอก และเถามาอย่างละ 1 กำ มือ ต้ม ให้เดือด 20-30 นาที กินครั้งละ ½-1 แก้ก่อน อาหาร ช่วยแก้ไข้ 2. ผู้ป่วยโรคเบาหวานรับประทานมะระอย่างน้อย สัปดาห์ละครั้งจะเป็นผลดี มะละกอ ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Carica papaya L. ลักษณะ เป็นไม้เนื้ออ่อนยืนต้น ใบหยัก ออกที่ยอดก้าน ใบกลม ยาว ผลดิบมีสีเขียว แก่จัดสีเหลือง ใบ ผล เมล็ด ยอดอ่อน ราก ผลดิบใช้ปรุงอาหารเช่นแกงส้มยางช่วยทำ ให้เนื้อเปื่อย ผลสุกเป็นผลไม้ แก้กระหายนํ้า บำ รุงหัวใจ เป็นยาระบายอ่อนๆ 1. มะละกอสุกรับประทานช่วยย่อยอาหาร 2. เมล็ดใช้ขับพยาธิ ใบแก่บำ รุงหัวใจ 3. รากเป็นยาขับปัสสาวะ 4. ต้นอ่อนต้มรับประทานขับระดูขาว แมงลัก ชื่อวิทยาศาสตร์ Ocimum sanctum L. ลักษณะ เป็นพืชล้มลุก สูงประมาณ 1-2 ฟุต ดอกชูเป็นชั้นๆ ขาวเมล็ดเล็ก เมื่อแก่จะมีสีนํ้าตาลหรือสีดำ แช่นํ้าจะ พองเป็นเมือกเยื่อขาว
  • 19. ผักสมุนไพร ๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 19 ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ เมล็ด ใบ เมล็ดทำ ขนม ใบรับประทานเป็นผักใส่ขนมจีนหรือแกง เลียง เป็นยาระบาย ห้ามเลือกกำ เดาขับลม แก้ไอ 1. เมล็ดแช่นํ้ารับประทานกับนํ้าเชื่อมช่วยหยุดเลือด กำ เดา และเป็นยาระบาย 2. ใบรับประทานช่วยขับลม 3. ต้นต้มกับนํ้ารับประทานแก้ไอ สะระแหน่ ส่วนที่ใช้ ประโยชน์ทางอาหาร สรรพคุณทางยา วิธีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ Mentha arvensis L. ลักษณะ เป็นต้นไม้เล็กๆ เลื้อยตามดินลำ ต้นสี่เหลี่ยม ขอบใบ หยัก มีกลิ่นหอมฉุน ใบ ใบสดรับประทานเป็นผักสด โรยหน้าอาหารพวกยำ พล่า ลาบ ให้น่ารับประทาน ขับลม แก้ท้องอืดเฟ้อ และปวดท้อง รับประทานใบสดจากการประกอบอาหารหรือเมื่อ ท้องอืดท้องเฟ้อช่วยขับลดบรรเทาอาการปวดท้อง ผักสุมนไพร อื่นๆ ชื่อผักสมุนไพร สรรพคุณ ส่วนที่ใช้ประโยชน์ แค พริกไทย ถั่วเหลือง ริดสีดวงจมูก ปวดฟัน ลดเบาหวาน ลดการอุดตัน ของไขมันในเส้นเลือด นํ้าคั้นจากดอกไม้หยอดจมูก ผสมกับถั่วเขียวกัดไว้ตรงฟัน ซี่ที่ปวด เมล็ดนำ มารับประทานเป็น อาหาร เช่น นํ้านมถั่วเหลือง
  • 20. ผักสมุนไพร ๐ กลบัไปหนา้กอ่นนี้ ๐ หน้าถัดไป ๐ กลับหน้าหลัก/สารบัญ 20 พริกหยวก หัวผักกาด งา มะรุม สะเดา หอมหัวแดง ขี้เหล็ก หอมหัวแดง ถั่วพู มะพร้าว บัว โหระพา ช่วยกระตุ้นนํ้าย่อย ช่วยเจริญ อาหาร แก้โรคลักปิดลักเปิด เป็นยาบำ รุง ช่วยให้ร่างกาย แข็งแรง ช่วยให้ผิวพรรณผุด ผ่อง ลดไข้ บำ รุงหัวใจ ช่วยระบาย อ่อนๆ ช่วยเจริญอาหาร ช่วยระบาย ขับปัสสาวะ ท้องอืด ลดไขมัน ในเลือด แก้นอนไม่หลับ ช่วยย่อย แก้บิด ท้องเสีย แกอ้อ่นเพลยี บาํรงุกาํลงั แก้โรคผิวหนัง กลากเกลื้อน แผลจากไฟไหม้ ลดเสมหะ แก้ไอ บำ รุงกำ ลัง ขับลม ลดอาการจุกเสียด แก้ ปวดหัว ช่วยเจริญอาหาร นำ ผลมาปรุงเป็นอาหาร ปรุงเป็นอาหาร เช่นแกงจืด แกงส้ม นำ เมล็ดมาปรุงอาหาร เช่น ขนม นำ ผลมาปรุงอาหาร เช่น แกง ส้ม นำ ใบหรือช่อดอกมารับ ประทาน นำ มาปรุงเป็นอาหาร ใบอ่อนลวกจิ้มนํ้าพริก หัวหอมปรุงเป็นอาหาร ฝัก ดอก ยอดอ่อน หัวใต้ดิน นำ มาปรุงเป็นอาหาร เช่น ต้มจิ้มนํ้าพริก สลัด แกงจืด แกงเลียง นํ้ามันจากมะพร้าว รากบัว(ไหล) นำ มาผัดกุ้ง แกงส้ม ต้มยำ นำ ใบและต้นมาปรุงเป็น อาหาร หรือรับประทานเป็น ผักสด หรือผักโรยหน้า จัดทำ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์โดย : สำ นักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์