SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 501
Baixar para ler offline
พุทธประวัติ          จาก      พระโอษฐwww.buddhadasa.info
พุทธประวัติจากพระโอษฐ                                    โดย                                   อ.ป.www.buddhadasa.info    ธรรมทานมูลนิธิ จัดพิมพดวยดอกผลทุนพระยาลัดพลีธรรมประคัล   เปนหนังสืออันดับที่หนึ่ง ในหนังสือชุด “ลัดพลีธรรมประคัลอนุสรณ”                 เปนการพิมพครั้งที่ ๘ ของหนังสือเลมนี้                           จํานวน ๑,๐๐๐ เลม   (ลิขสิทธิ์ไมสงวนสําหรับการพิมพแจกเปนธรรมทาน, สงวนเฉพาะการพิมพจาหนาย)                                                                     ํ                       พิมพที่ หางหุนสวนจํากัด การพิมพพระนคร              ๙๒ - ๙๔ ถนนบุญศิริ นครหลวง ฯ โทร. ๒๑๒๓๓๗, ๒๒๑๖๗๔          นายบุญธรรม สุนทรวาที ผูพิมพและโฆษณา ๑ พฤศจิกายน ๒๕๑๕
คณะธรรมทานไชยา                            จัดพิมพ    พิมพครั้งที่แรก      ๑ พฤษภาคม ๒๔๗๙    พิมพครั้งที่สอง      ๑ มกราคม    ๒๔๙๕    พิมพครั้งที่สาม      ๑๔ มกราคม ๒๔๙๘    พิมพครั้งที่สี่      ๒๗ ตุลาคม   ๒๕๐๓    พิมพครั้งที่หา      ๑๐ ตุลาคม   ๒๕๐๘    พิมพครั้งที่หก       ๒๓ มกราคม ๒๕๑๓    พิมพครั้งที่เจ็ด     ๓ ธันวาคม   ๒๕๑๓www.buddhadasa.info    พิมพครั้งที่แปด      ๓ พฤศจิกายน ๒๕๑๕
www.buddhadasa.info
www.buddhadasa.info
www.buddhadasa.info
การรอยกรองหนังสือเลมนี้                            อุทิศ             เปนถามพลี แดพระผูมีพระภาคเจา                            และ    เพื่อเปนรอยพระพุทธบาท แดเพื่อนสัตวผูเดินคนหาพระองคwww.buddhadasa.info                              (๓)
ใจความสําคัญ   เป น พระประวั ติ ต รั ส เล า ไม มี คํา เรี ย บเรี ย งของผู แ ต ง คละปน   เพราะเปนที่รวบรวมเฉพาะพระพุทธภาษิตที่ตรัสถึงประวัติของ   พระองค เ อง, จากคั ม ภี ร พ ระไตรป ฏ กล ว น เลื อ กเก็ บ เอามา   ร อ ยกรองให เ ป น หมวดหมู ติ ด ต อ กั น เป น ลํา ดั บ , มุ ง แสดง   หลั ก ธรรมที่ แ นบอยู ใ นพระชนม ชี พ ของพระองค แทนการมุ ง   ทางตํา นานประวั ติ หรื อ นิ ย ายประวั ติ เพื่ อ ให เ ป น หนั ง สื อ   สงเสริมปฏิบัติธรรมเลมหนึ่ง เปนสวนใหญ รวมทั้งเปนแกน   แหงเรื่องพุทธประวัติดวย, เปนสวนพิเศษ.                                               -ผูรวบรวม-www.buddhadasa.info   มีปทานุกรมคําสําคัญ, , ลําดับหมวดธรรม อยูทายเลม                                     (๔)
พุ ท ธประวั ติ จ ากพระโอษฐwww.buddhadasa.info                 (๕)
อักษรยอ    (เพื่อความสะดวกแกผูที่ยังไมเขาใจในเรื่องอักษรยอที่ใชหมายเลขแทนคัมภีร ซึ่งมีอยูโดยมาก )   มหาวิ.วิ. มหาวิภังค         วินัยปฏก.            ฉกฺ.อํ.           ฉักกนิบาต อังคุตตรนิกาย   ภิกขุนี.วิ. ภิกขุนีวิภังค        ”                สตฺ.อํ.           สัตตกนิบาต            ”   มหา.วิ        มหาวัคค            ”                อฏ.อํ            อัฏฐกนิบาต           ”   จุลล.วิ.      จุลลวัคค           ”                นว.อํ             นวกนิบาต             ”   ปริวาร.วิ ปริวารวัคค             ”                ทส.อํ.            ทสกนิบาต             ”   สีล.ที.       สีลักขันธวัคค ทีฆนิกาย              เอกาทส.อํ.        เอกาทสกนิบาต         ”   มหา.ที.       มหาวัคค             ”               ขุ.ขุ.            ขุ ททกปาฐ              ขุ ททก   นิกาย   ปา.ที.        ปาฏิกวัคค          ”                ธ.ขุ.             ธัมมบท               ”   มู.ม.         มูลปณณาสก มัชฌิมนิกาย              อุ.ขุ.            อุทาน                ”   ม.ม.          มัชฌิมปณณาสก ”                     อิติ.ขุ.          อิติวุตตก            ”   อุปริ.ม.      อุปริปณณสก        ”                สุตฺต.ขุ.         สุตตนิบาต            ”   สคาถ.สํ สคาถวัคค สังยุตตนิกาย                     วิมาน.ขุ.         วิมานวัตถุ           ”   นิทาน.สํ. นิทานวัคค              ”                เปต.ขุ.           เปตวัตถุ             ”   ขนฺธ.สํ.      ขันธวารวัคค        ”                เถร.ขุ.           เถรคาถา              ”www.buddhadasa.info   สฬ.สํ.        สฬายตนวัคค         ”                เถรี.ขุ.          เถรีคาถา             ”   มหาวาร.สํ. มหาวัคค               ”                ชา.ขุ.            ชาดก                 ”   เอก.อํ        เอกนิบาต       อังคุตตรนิกาย         นิท.ขุ.           นิทเทส               ”   ทุก.อํ.       ทุกนิบาต            ”                ปฏิสมฺ.ขุ.        ปฏิสัมภิทา           ”   ติก.อํ.       ติกนิบาต            ”                อปทาน.ขุ.         อปทาน                ”   จตุก.อํ.      จตุกกนิบาต          ”                พุทธว.ขุ.         พุทธวงค             ”   ปญจ.อํ. ปญจกนิบาต. ”                              จริยา.ขุ.         จริยาปฏก            ”            ตัวอยาง: ๑๔/๑๗๑/๒๔๕ ใหอานวา ไตรปฏก เลม ๑๔ หนา ๑๗๑ ขอที่ ๒๔๕                           (พ.ม.)       = เรื่องเพิ่มใหม เมื่อพิมพครั้งที่สอง                           (พ.ม.อ.) = เรื่องเพิ่มใหม เมื่อพิมพครั้งที่สาม                                   ท.           = ทั้งหลาย                                                 (๖)
คํานํา                                             (เมื่อพิมพครั้งที่ ๑ )                                                ____________                  พระประวัติตรัสเลา หรือพุทธประวัติจากพระพุทธโอษฐนี้                          เลื อ กเก็ บ  จากบาลี พ ระไตรป ฎ ก รวบรวมเอามาเฉพาะตอนที่ พ ระองค ต รั ส เล า ถึ ง ป ร ะ วั ติ  ของพระองค เอง.                  พระประวั ติ ของพระองค ทุ กๆ                   ตอน ทั้ งที่ ทรงเล าเอง และเป น คํ า ของ  พระสัง คีติก าจารยผูรอ ยกรองบาลีพ ระไตรปฎ ก ยอ มมีอ ยูเ ปน แห ง ๆ                           ตอนๆ  ไมติดตอกันไปจนตลอดเรื่องเปนการลําบากแกผูศึกษา.                           สมเด็จพระมหาสมณะเจา  กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เคยทรงพบเหตุแหงความไมสะดวกขอนี้                                    ดั ง ที่ ต รั ส ไว  ในตอนคํา ปรารภ ที่หนาหนังสือพุทธประวัติเลม ๑ ของพระองควา :-                  “…น า เสี ย ดายว า เรื่ อ งพุ ท ธพระวั ติ นั้ น ไม ป รากฏในบาลี ที่ ขึ ้น สูส ั ง คี ติ  จนตลอดเรื่ องสั กแห งเดี ยว มี มาในบาลี ประเทศนั้ นๆ เพี ยงเป นท อนๆ เช นเรื ่อ งประสูติwww.buddhadasa.info  มาในมหาปทานสู ต รแห ง ที ฆ นิ ก ายมหาวรรค เรื่ อ งครั้ ง ยั ง ทรงพระเยาว ม าในติก นิบ าต  อั ง คุ ต ตรนิ ก าย เรื่ อ งตั้ ง แต ป รารภเหตุ ที่ เ สด็ จ ออกบรรพชา จนภิ ก ษุ ป ญ จวัค คีย สํ า เร็จ  พระอรหั ต ตผล มาในปาสราสิ สู ต รแห ง มั ช ฌิ ม นิ ก ายมู ล ป ณ ณาสก เรื่ อ งเสด็จ ออก  บรรรพชาแล ว บํ าเพ็ ญทุ กกรกริ ยาจนได ตรั สรู มาในมหาสั จจกสู ตร แห งมั ชฌิ มนิ ก า ย มู ล  ป ณ ณาสก เรื่ อ งตั้ ง แต ต รั ส รู แ ล ว จนถึ ง อั ค รสาวกบรรพชา มาในมหาวรรคแหง วิน ัย  การทรงบํ าเพ็ ญพุ ทธกิ จนั้ นๆ มาในพระสู ตรต างๆ หลายสถาน, ตอนใกล จ ะปริน ิพ พาน  จนถึ งปริ นิ พพานแล ว มั ลลกษั ตริ ย ในกุ สิ นาราทํ าการถวายพระเพลิ งพระพุท ธสรีร ะแลว  แบ ง พระสารี ริ ก ธาตุ ไ ว บ า ง แจกไปในนครอื่ น บ า ง มาในมหาปริ นิ พ พานสู ต ร แ ห ง  ที ฆ นิ ก าย มหาวรรค.เป น อย า งนี้ เข า ใจว า พระคั น ถรจนาจารย มุ ง จะกลา ว เ ท ศ น า  บางอยาง จึงชักเรื่องมากลาวพอเปนเหตุปรารภเทศนา ที่เรียกวา “อัตถุปปตติ”.                                                       (๗)
(๘)                               พุ ท ธประวั ติ จ ากพระโอษฐ - คํา นํา  อีกอยางหนึ่ง ไดเรื่องมาเพียงใด ก็รจนาไวเพียงนั้นเปนคราวๆ             เพราะเหตุ นี้  ในปกรณ เ ดี ย วควรจะเรียงเรื่องไวในสูตรเดียวกัน ก็ยังเรียงกระจายกันไว…”                   แต ในหนั งสื อพุ ทธประวั ติ ที่ พะรมหาสมณะเจ าพระองค นี้ ทรงเรีย บเรีย ง  นั ้น ทรงเก็บ ความในบาลีม าคละปนกัน ไป ทั ้ง ที ่ต รัส เลา โดยพ ร ะ โ อ ษ ฐ เ อ ง  และที่ เ ป น คํ า ของสั ง คี ติ ก าจารย บางแห ง ก็ ร วมทั้ ง อรรถกถา ทั้ ง ไม ไ ด ท รงหมาย  เหตุไวใหชัดวาตอนไหนเปนคําตรัสเลา ตอนไหนเปนคําของรจนา                                      เพราะทรง  แตง ใหเ ปน หนัง สือ เลม ใหมขึ ้น ตา งหาก พรอ มทั ้ง มีอ ธิบ ายและค ว า ม เ ห็ น  สันนิษฐาน.               สวนเรื่องจากพระโอษฐ ที่ขาพเจารวบรวมมานี้ เลือกเก็บและแปล  ออกเฉพาะตอนที่ พ ระศาสดาตรั ส เล า เรื่ อ งของพระองค เ อง จากบาลี อ ย า ง เ ดี ย ว  ไม มี คํ า ของพระสั ง คี ติ ก าจารย ห รื อ คั น ถรจนาจารย ป นอยู เ ลย เพื่ อ ไม ใ ห ค ละกั น  ด วยหวั งว าจะเป นการสะดวกแก ผู ที่ จะศึ กษา และสั นนิ ษฐานคั มภี ร พุ ทธประวัต ิส ืบ ไป,  แม เ มื่ อ ไปอ า นคั ม ภี ร พุ ท ธประวั ติ อื่ น ๆ ที่ ท า นรวบรวมขึ้ น ใหม เช น ปฐมสมโพธิwww.buddhadasa.info  เป นต นก็ ดี ตลอดจนพุ ทธประวั ติ ต างประเทศก็ ดี จะเข าใจได ง ายว า อะไรเปน แกน  และอะไรเปนเกร็ดของเรื่อง.                   เพราะฉะนั้ น เรื่ อ งพุ ท ธประวั ติ จ ากพระโอษฐ ก็ ห มายความว า เรื ่ อ งที่  ทรงเล า เอง มี น้ํ า หนั ก ยิ่ ง กว า บาลี ธ รรมดาทั่ ว ไป เพื่ อ ให ไ ด ห ลั ก แห ง พุ ท ธประวั ติ  แทๆ สําหรับศึกษาในขั้นแรกเสียกอน.                              ในลําดับตอไปจึงจะไดศึ ก ษาส ว นที่  เป น คํ า ของพระสั ง คี ติ ก าจารย ตลอดมาจนถึ ง อรรถกถา และเรื่ อ งเล า กั น ปรั ม ปรา  อัน เกี่ย วดว ยพุทธประวัติทุก อยาง.                      เมื่อ เปน เชน นี้ เราจะรูเรื่อ งพุ ท ธประวั ติ  ไดอ ยา งทั่ว ถึง เปน หลัก ฐานมั่น คง,                        และรูวา ไหนเปน แกน ไหนเป น กะพี้  ไหนเปนเปลือกเพียงไรดวย, ซึ่งถามีโอกาสก็ควรจะไดศึกษากันใหค รบทุ ก ชนิ ด
คํา นํา                                  (๙ )   จากที่เปนหลักฐานที่สุด ไปหาที่มีหลักฐานเบาบาง. ในบัดนี้ ขอเชิญทา นผูอา น   ศึกษาแกนแทของพุทธประวัติ คือบาลีจากพระพุทธโอษฐเปนขั้นแรก.              ขออุทิศกุศลเกิดแตการเผยแผธรรมอันนี้ เปนปฏิบัติบูชาแดพ ระผู มี   พระภาคเจ า ใจอภิลักขิตสมัยตรงกับวันประสูติ - ตรัสรู - นิพพานนี้ดวย.                                                 อ.ป. เปรียญ และ น.ธ. เอก                                                    ไชยา ๑ พฤษภาคม ๒๔๗๗www.buddhadasa.info
คํานํา                                                       (เมื่อพิมพครั้งที่ ๒)                                                          ___________                    ข า พเจ า เห็ น ว า เป น การสมควรอย า งยิ่ ง ที่ จ ะกล า วไว เ สี ย ในคราวนี้  ถึงมูลเหตุที่จะเกิดหนังสื อเลมนี้ขึ้น.                             ในชั้นแรกที่สุ ด เนื่องจากข า พเจ า มี ค วาม  สนใจในการค น หาร อ งรอยแห ง การศึ ก ษาค น คว า การปฏิ บั ติ และการเ ป น อ ยู  ประจํ า วั น ตลอดจนถึ ง วิ ธี ก ารอบรมสั่ ง สอน และการแก ป ญ หาเฉพาะห น า ต า ง ๆ  ของสมเด็ จ พระผู มี พ ระภาคเจ า โดยประสงค จ พนํ า เอาหลั ก เกณฑ เ หล า นั้ น มามาใชใ น  การที่ จ ะทํ า ความเข า ใจในพระองค และทํ า ตามรอยพระยุ ค ลบาท หรื อ ที ่ เ รี ย ก  ต า ม ค ว า ม ห ม า ย อัน ก วา ง ข ว า ง อ ยา ง ห นึ ่ง วา ก า ร ต า ม ร อ ย พ ร ะ อ ร หั น ต  ข า พเจ า จึ ง พยายามเลื อ กเก็ บ เรื่ อ งราวต า ง ๆ ที่ จ ะเป น ประโยชน แ ก ค วามมุ ง หมายอั น นี้  เสมอมาจากที่ทุกแหง.                              ครั้นไดมีการพยายามลองเก็บเรื่องราวจากพระไตรป ฎ ก  โ ด ย ต ร ง ก็ ไ ด พ บ เ รื ่ อ ง ร า ว อั น มี ค  า ม า ก ใ น ท า ง ที ่ จ ะ แ ส ด ง แ น ว ก า ร ป ฏิ บ ั ติ  และยังแถมอยูในพระพุทธภาษิตโดยตรงดวย,                                ขาพเจาจึงไดตั้งใจใหม         คือ ในชั้น นี้  จะเลื อ กเก็ บ เอาเฉพาะที่ เ ป น พระพุ ท ธภาษิ ต ล ว น ๆ ก อ นพวกหนึ่ ง เว น คํ า พ ร ะ สั ง คี -www.buddhadasa.info  ติก าจารยเ สีย .                         ในที่สุด ก็ไ ดเ รื่อ งราวตา งๆ ที่อ ยูใ นรูป ตรัส เองพอแกค วามต อ ง  การจริ ง ๆ .                    สํ า หรั บ ผู ที่ อ ยู น อกวั ด ไม คุ น กั บ พระไตรป ฏ กนั้ น ควรจะท ร า บ เ สีย กอ น  ว า พระไตรป ฏ กนั้ น พระสั ง คี ติ ก าจารย ผู ร อ ยกรอง ท า นเรี ย งเป น คํ า สอนของทา นเอ ง  เล า เรื่ อ งราวต า ง ๆ อั น เกี่ ย วกั บ พระผู มี พ ระภาคเจ า ว า เมื่ อ ประทั บ อยู ที่ นั ่น ไ ดมี  เหตุ ก ารณ เ กิ ด ขึ้ น อย า งนั้ น ๆ และได ต รั ส ถ อ ยคํ า อย า งนั้ น ๆ เป น เ รื ่ อ ง ๆ ไ ป  เปนสวนใหญ.                          ที่กลาวถึงพระสาวกหรื อคนสําคัญบางคนโดยเฉพาะนั้ น มี เ ป น  สวนนอย และนอกจากนั้นก็มีขอความพวกที่เปนคําอธิบายศัพทลึกซึ้งตาง ๆ คือพวกคัมภีร  นิเทศ. ในบรรดาสูตรตาง ๆ ที่พระสังคีติกาจารยเลาเรื่ อ งพระผู มี                                                        (๑๐)
คํา นํา                                      (๑๑ )  พระภาคเจาโดยตรงนั้น ก็มีนอยสูตรที่ไดเลาถึงเรื่องที่พระผูมีพระภาคเจา                   ตรัส เลา  ถึงพระประวัติ หรือการกระทําของพระองคเอง โดยพระองคเอง                                      และยั ง  แถมเป น การมี ที่ ก ระจั ด กระจายอยู ทั่ ว ไป แห ง ละเล็ ก ละน อ ย ที่ นั้ น บ า ง ที่ นี้ บ  า ง  เลยกลายเปนของที่ยังเรนลับ.                        ฉะนั้นเมื่อใครอยากทราบวา ถอยคําเฉพาะที่  พระองคไ ดต รัส เลา ถึง เรื ่อ งราวของพระองคเ อง มีอ ยู อ ยา งไรและเทา ไรแลว  ผู นั้ น จะต อ งทํ า การสํ า รวจพระไตรป ฎ ก ผ า นไปที ล ะหน า ทุ ก ๆ หน า ด ว ยความ  ระมั ด ระวั ง และเลื อ กเก็ บ เอาออกมารวบรวมไว จนกว า การสํ า รวจจะทั ่ ว ตลอด  พระไตรปฎ ก แลว จึง เอาเรื ่อ งทั ้ง หมดนั ้น มาพิจ ารณาดูว า เรื ่อ งอะไรเกิ ด ก อ น  เกิด หลัง หรือ คาบเกี ่ย วกัน อยา งไร อีก ตอ หนึ ่ง จึง จะไดเ รื ่อ งราวเหล า นั ้ น ต า ม  ความประสงค.                     ความยากลําบากอยูตรงที่เรื่องราวเหลานี้มิไดรวมอยูที่ต อนใด  ตอนหนึ่ ง ของพระไตรป ฎ กด ว ยกั น ทั้ ง หมด แต ไ ปมี แ ทรกอยู ที่ นั้ น บ า งที่ นี ้ บ  า ง  และบางแหง ก็ม ีนิด หนอ ยและเรน ลับ ตอ งตั้ง อกตั้ง ใจเลือ กเก็บ กัน จริง ๆ                        :  เรื่องจึงตองใชเวลาแรมปในการเลือกเก็บ มารอยกรองใหติดตอ กัน.                        ในชั้ นแรกที เดี ยว ข าพเจ ามิ ได มี ความตั้ งใจจะรวบรวมพระประวัต ิต รัส  เองเหลา นี ้ เพราะไมไ ดน ึก คิด วา จะมีอ ยู โ ดยคิด เสีย วา พระประวัต ิต  า ง ๆ นั ้ นwww.buddhadasa.info  มี เท าที่ มี ผู นํ ามาร อยกรองและศึ กษากั นอยู แล วเท านั้ น,และอี กอย างหนึ่ งในขณะนั ้น  ขา พเจา มุง มายแตจ ะคน หารอ งรอยของการปฏิบัติธ รรมที่ยัง เรน ลับ                         เป น  ปญ หาอยู อ ยา งเดีย ว,การคน เรื ่อ งจากพระไตรปฎ ก จึง มุ ง เลือ กเ ก็ บ เ ฉ พ า ะ  เรื่องที่แสดงรองรอยของการปฏิบัติธรรมเรื่อยมา.                           เรื่องไดเปนไปเอง ในการที่  ได พ บเรื่ อ งการปฏิ บั ติ ธ รรมที่ ป ระสงค จ ะพบ จากบางตอนของคํ า ตรั ส เล า ถึ ง การ  ปฏิ บั ติ ข องพระองค เ องในระยะต า ง ๆ ทั้ ง ในระยะที่ ท รงทํ า ความเพี ย รเพื ่ อ ตรั ส รู  และตรัสรูแลวทําการสั่งสอนคนนานาชนิด.                            เรื่องที่ตรัสเลาถึงพระองค เ อง  ในขณะที่ทรงทําความเพียร เพื่อตรัสรูนั้น เผอิญมีมากมาย เกินกว า ที่
คํา นํา   (๑๒ )www.buddhadasa.info
(๑๒ )                        พุทธประวัติจากพระโอษฐ - คํานํา  ข า พเจ า เคยนึ ก ฝ น และได เ กิ ด เป น เรื ่ อ งที ่ เ ป น ประโยชน อ ย า ง ยิ ่ ง  แก บุ ค คลที่ ป ระสงค จะ “ตามรอยพระยุ ค ลบาท” ห รื อ ต า ม  รอยพระอรหั น ต ;           และได ทํา ให เ กิ ด ความอิ่ ม ใจแก ข า พ เ จ า  เปน ลน พน จนหายเหนื่อ ย.           และขา พเจา กลา ยืน ยัน เฉพาะในส ว นนี้ ว า  ยั ง ไม เ คยมี ใ ครที่ ไ ด แ ต ง หนั ง สื อ พุ ท ธประวั ติ เ ล ม ใด ได นํ า เอาเรื่ อ งราวตอนที ่เ ปน  การคนควาทดลองกอนการตรัสรู ของพระผูมี พระภาคเจา มาแสดงไวอ ย า งครบถ ว น  เหมือ นที่ขา พเจา นํา มาแสดงไวใ นหนัง สือ เลม นี้เ ลย.                         ทั้ง นี้ไ ดแ ก ข อ ความ  ตั้งแตหนา ๔๙ ถึงหนา ๑๐๔ แหงหนังสือเลมนี้, และเปนขอความที่ต รั ส เ อ ง ล ว น  โดยไม มี คํ า ของพระสั ง คี ติ ก าจารย และอรรถกาเข า รวมอยู ด วย เหมื อ นหนัง สือ  พุท ธประวัต ิทั ้ง หลาย ที ่ม ีอ ยู แ ตก อ นๆ โดยเฉพาะเรื ่อ งราวภายใตห ั ว ข อ  วา “การทรงกําหนดสมาธิ นิมิตกอนตรัสรู”, “การทรงพยายามในญาณทัสนะ  เปนขั้น ๆ กอนการตรัสรู”,                    “การทรงทําลายความขลาดกอนตรัสรู ” ฯลฯ  เหล า นี ้ ปรากฏว า เป น ที ่ ส บใจละอนุ โ มทนาแก เ พื ่ อ นั ก ป ฏิ บ ั ต ิ ด  ว ย กั น  เปนอยางสูง ถึงกับใชเปนคูมือ.                ถึงแมเรื่องราวที่กลาวถึงเหตุการณหลังจากการ  ตรั ส รู แ ล ว เช น การทรมานเจ า ลั ท ธิ ต า ง ๆ ในการสั่ ง สอน หรื อ อุ บ ายวิ ธ ี แ ห ง การwww.buddhadasa.info  สั ่ง สอน ก็ล ว นแตเ ปน เรื ่อ งแสดงรอยแหง การปฏิบ ัต ิธ รรมอยู ไ มน อ ย อยา ง  เดียวกัน.และยังมีเรื่องประเภทที่แสดงใหเราทราบถึง “ชีวิตประจําวั น ”              ของพระองค  จนถึงกั บทํ าให เรารู สึ กว า เราไดอยูใกลชิ ดกับพระองค ชนิดที่ได เห็ นการเคลื่อ นไหวเป น  ประจําวันของพระองคดวย                    การที ่ห นัง สือ เลม นี ้เ ต็ม ไปดว ยขอ ธรรมะ มากกวา เรื ่อ งราวที ่ เ ป น  ประวั ติ นั้ น ก็ เป นเพราะมู ลเหตุ ที่ มี การค นเพื่ อหาร องรอยแห ง การปฏิ บ ั ต ิ ธ รรมใน  พระชีว ประวัต ิด ัง กลา วแลว นั ่น เอง แลอีก ประการหนึ ่ง ซึ ่ง ขา พเจา เพิ ่ ง จะ  ตัดสินใจลงไปในภายหลังเมื่อไดพบความจริงอันนี้แลว ก็คือ การตั้งใจว า จะให
คํา นํา                                    (๑๓ )  หนังสือเลมนี้เปน “พุทธประวัติแหงการปฏิบัติธรรม”                     หรือ “พุทธประวัติที่มุ ง  แสดงไปในทางธรรม” นั้นเอง.                      การรอ ยกรองหนัง สือ พุท ธประวัต ิ เมื ่อ สัง เกตดูเ ปน อ ย า ง ดี แ ล ว  ปรากฏวา มีท างที ่จ ะรอ ยกรองหนัง สือ พุท ธประวัต ิไ ดถ ึง ๓ แนวด ว ยกั น เป น  อยางนอย. แนวที่หนึ่ง เปนหนังสือมุงโดยตรง ในการที่จะชักชวนคนใหเ ลื่อ มใส  และโดยเฉพาะคนสวนใหญที่ไมใชนักศึกษา ไดแกคนชาวบานทั่วๆ ไป                             ซึ่ ง ต อ ง  หนั ก ไปในทางปาฏิ ห าริ ย เช น หนั ง สื อ ปฐมสมโพธิ แ ละลลิ ต วิ ศ ตระเป น ตั ว อย า ง  จัด เปน หนัง สือ สรรเสริญ พระคุณ หรือ Gospel                    ไปพวกหนึ่ง ซึ่ง นับ ว า เป น ผล  ดี เ ลิ ศ ไปทางหนึ่ ง คื อ ยึ ด เหนี่ ย วน้ํ า ใจคนให ติ ด แน น ในศาสนาของตนไ ด นั ้ น เ อ ง .  แต เนื่ องจากมุ งหนั กไปในทางปาฏิ หาริ ย เกิ นไปนั่ นเอง ทํ าให เกิ ดความเบื ่อ หนา ยขึ ้น  แก พ วกนั ก ศึ ก ษาหรื อ นั ก ปฏิ บ ั ต ิ ธ รรมโดยตรง การมี ห นั ง สื อ พุ ท ธป ร ะ วั ติ  แตป ระเภทนี ้ป ระเภทเดีย วจึง ไมเ ปน หารเพีย งพอ ทํ า ใหต อ งมีป ระเภทอื ่น ดว ย.  แนวที่สอง                 มุงแสดงไปในทางตํานานหรือประวัติศาสตร ซึ่งมุงแสดงแต เ รื่ อ งราว  ที ่ใ หค นทั ้ง หลายเห็น วา เปน ความจริง และมีห ลัก ฐานตามกฎเกณฑแ หง วิ ช า  ประวั ติ ศ าสตร ห รื อ วิ ท ยาศาสตร อั น เป น ที่ ส บใจของนั ก ศึ ก ษาแห ง สมั ย ป จ จุ บ ั น นี้www.buddhadasa.info  ซึ่ ง มี ห นั งสื อ พุ ท ธประวั ติ ของสมเด็ จ พระมหาสมณเจ า กรมพระยาวชิ ร ญาณวโรส  หรือหนังสือ Life of Buddha ของ ดร. E.J. Thomas เปนตัวอยาง แตอยางไรก็ตาม  ทั้ งสองแนวนี้ ยั งไม เ ป นที่ สบใจของคนอี กพวกหนึ่ ง คื อพวกนั กปฏิ บั ติ ธรรมที ่ใ ครจ ะ  ทราบว าพระองค ทรงมี ชี วิ ตแห งการปฏิ บั ติ ธรรมเป นมาตั้ งแต ออกผนวช จนถึง ตรัส รู  ประกาศพระศาสนาและกระทั่ ง ถึ ง วาระสุ ด ท า ยคื อ การปริ นิ พ พาน เป น อย า งไร  โดยไมม ีค วามสนใจในเรื ่อ งการปาฏิห าริย  หรือ ขอ เท็จ จริง ทางป ร ะ วั ต ิ ศ า ส ต ร  เหตุนี้จึงเปนความจําเปน ตามธรรมชาติที่จะตองมีหนังสือพุทธประวัติแ นวอื่ น จาก
(๑๔ )                      พุทธประวัติจากพระโอษฐ - คํานํา  สองแนวนี้ตอไปอีก อันไดแก แนวที่สาม.               แนวที่สาม             มุงแสดงแตใ นทาง  ธรรมลว น ๆ คือ แสดงขอ ธรรมะใหป รากฏชัด อยู ท ุก ๆ อากัป กิร ิย าของพระองค  เพื่อ เปน หลัก การแกผูห วัง จะดํา เนิน ตาม เราจะเห็น ไดชัด เจนวา                   หนั ง สื อ  พวกที่ มุ งแสดงทางปาฏิ หาริ ย ก็ แสดงหรื อเลื อกแสดงให ละเอี ยดแต ตอนที ่ จ ะจู ง ใจคน  ได ด ว ยปาฏิ ห าริ ย แ สดงคร า ว ๆ หรื อ กระโดดข า มไปในตอนที่ จ ะแสดงเป น ธรรม-  บรรยาย และไมแสดงสวนที่เปนแงคิดทางตํานานหรือประวัติศาสตรเลย.                              และ  หนั งสื อพวกที่ แสดงทางตํ านานหรื อประวั ติ ศาสตร นั้ นเล า ก็ วิ นิ จฉั ยแต ในแงที ่จ ะเปน  ไปได ในทางตํ านานหรื อประวั ติ ศาสตร ไม แสดงทางปาฏิ หาริ ย หรื อทางธรรมบรรยายเลย.  อั นนี้ เป นการชี้ ชั ดถึ งความต างออกไปของหนั งสื อพุ ทธประวั ติ ประเภทที่ มุ งแสดงใน  ทางธรรม หรื อชี้ ร องรอยแห งการปฏิ บั ติ ธรรมโดยตรง ซึ่ งข าพเจ าปรารถนาอย างยิ่ ง  ในระยะที่ ทํ าการค นควา และได ตั ดสิ นใจทําทั นที ในเมื่ อได พบว ามี อยู มากพอที่ จ ะทํ า ขึ ้น  เปนหนังสื อพุทธประวัติ สักเลมหนึ่ ง และก็ได ปรากฏขึ้ นจริ ง ๆ ดังที่ ทานไดเห็นอยูในบัดนี้ .  ขาพเจายังไมอาจยืนยันวา หนั งสือเลมนี้ เปนหนังสือที่ควรจะถื อไดว าเปนพุท ธประวัติ  ที่ มุ งแสดงในทางธรรมโดยสมบู รณ เพราะเหตุ ว าข าพเจ าทํ าได เพี ยงในวงจํ ากั ด คื อ  เท าที่ มี อ ยู ในรู ป แห ง คํ า ตรั ส เล า และเท าที่ จ ะเลื อ กเก็ บ เอามาจากพระไตรปฎ กwww.buddhadasa.info  โดยเฉพาะเท านั้ น เพราะหลั กการในการทํ า หนั งสื อเล มนี้ มี ความจํ ากั ดไว เ พีย งเทา นี ้.  ถ าจะให สมบู รณ ก็ ต องไม จํ ากั ดว าเท าที่ ตรั สไว จากพระโอษฐ แต ต องรวบรวมเอา  ชั้ น ที่ เ ป น คํ า สั ง คี ติ ก าจารย ทั่ ว ไป และอรรถกถาและฎี ก าทั่ ว ไปเข า มาด ว ย ซึ่ ง จะมี  เรื่องราวมากกวาหนังสือเลมที่ทานถือ อยูนี้หลายเทานัก,                      แตอ ย า งไรก็ ต าม  ขาพเจาพอจะยืนยันไดวา สวนที่เปนคําตรัสเลาไวดวยพระองคเองนั้น                        ข า พเจ า  ไดพยายามรวบรวมมาจนหมดสิ้น,                            และพอใจที่จะยืนยันวา ดวยความมุงหมาย  ที่ จ ะให เปนหนังสือที่มุงแสดงไปในทางธรรม ดังที่กลาวแลว.
คํา นํา                                    (๑๕ )                   แม ว า ในหนั ง สื อ เล ม นี้ มี เ รื่ อ งราวบางตอนไปในทํ า นองป า ฏิ ห า ริ ย  ติดเจืออยูบาง เชนตอนอันวาดวยการอยูในชั้นดุสิต การจุติลงสูครรภ                       และการ  ประสู ติ เป นต นนั้ น ท านย อมเห็ นได อยู เองแล ว ว าเป นจํ านวนเ พี ย ง ๗ -๘ ห น า  ในหนั งสื อ ๓๕๗ หน า และยิ่ งกว านั้ นท านยั งจะเห็ นได สื บไปอี กว า ข อความที่ เ ป น  ปาฏิ หาริ ย ตอนนี้ ถ าใครพิ จารณาดู ให ดี แล วจะเห็ นว า เป นสิ่ งที่ เราไม จํ าเปน จะตอ ง  ถื อ เอาตามตั ว หนั ง สื อ เหล า นั้ น เพราะเป น สิ่ ง ที่ อ ธิ บ ายให เ ห็ น เป น ธรรมาธิ ษ ฐาน  ไดโดยงาย; เชนการที่พอประสูติออกมาก็ดําเนินได ๗ กาว ไปทางทิ ศ เหนื อ  เปลงคํายืนยันไดวาเปนผูชนะโลกทั้งปวง และไมมีการเกิดอีก; นี้เราเห็ น ได ว า  ผู กล าวมุ งจะกล าวถึ งการที่ พระองค เกิ ดขึ้ นเป นพระพุ ทธเจ า ซึ่ งเป นการเกิ ดทางใจ  ตางหาก หาใชการเกิดทางเนื้อหนังไม, จํานวน กาว ๗ กาวนั้น พระอรรถกถาจารย  ให คํ าอธิ บายว า เป นการแสดงถึ งข อปฏิ บั ติ ๗ ขั้ นที่ ทํ าคนให ตรั สรู (เช นโพชฌงค ๗)  ก็มี,           หรือนักวินิจฉัยบางทาน วาหมายถึงชนบทใหญ ๗ ชนบท ที่พระองค ท รง  จาริกไปทําการประกาศคําสั่งสอนของพระองคก็มี,                           ที่วาเดินไปทางทิ ศ เหนื อ  ย อมหมายถึ งการกล ามุ งหน าเข าไปประกาศตามกลุ มศาสดาต าง ๆ ที่ ม ีค นนับ ถือ  อยูกอนแลวในสมัยนั้น,            ที่วาเปนผูชนะโลกทั้งหมด นี้เปนการยืนยั น ถึ ง ข อ ที่www.buddhadasa.info  คํ า สอนนี้ เป น คํ า สอนสุ ด ท า ยของโลก ที่ ใ คร ๆ ไม อ าจขุ ด ค น คํ า สอนอั น ใด  มาสอนโลกใหสูงยิ่งขึ้นกวานี้ไดอีกตอไป,            และที่วาพระองคไมมีการเกิดอีก นั้น  ยอมหมายถึ งขอที่พระองค ไดทรงพบความจริ งขอที่ว า ที่แทไม มีคนเกิ ดคนตาย เพราะ  ไมมีคน, มีแตสังขารที่เกิดดับอยูตามธรรมดาเทานั้น. (สําหรับผูที่สนใจและวินิจฉัย  เรื่ องปาฏิ หาริ ย ต าง ๆ ทํ านองนี้ ข าพเจ าขอแนะให อ านหนั งสื อพุ ทธประวั ติ เ ลม หนึ ่ง  ของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส.                               สําหรับขาพเจาเองเห็นวา  ปาฏิ หาริ ย นั้ น เป นสิ่ งที่ จํ าเป นจะต องวิ นิ จฉั ย เพราะท านผู ร อยกรองทา นมุ ง หมาย  จะจูงใจคนดวยอุบายวิธีเชนนั้น ทานจึงไดดัดแปลง หรือรอยกรองขึ้ น เช น นั้ น
(๑๖ )                           พุทธประวัติจากพระโอษฐ - คํานํา  ผู ที่ ต อ งการจะปฏิ บั ติ ธ รรม ไม ต อ งเอาใจใส ก็ ไ ด โดยข า มไปเอาใจใส ใ นเรื ่อ งการ  ปฏิบัติธรรมเสียทีเดียว.                           เรื่องปาฏิหาริยตาง ๆ ก็เพื่อจูงคนเขามาหาการปฏิ บั ติ  ธรรมนี่ เ อง ก็ เ มื่ อ เราเข า ถึ ง ตั ว การปฏิ บั ติ ธ รรมเสี ย ที่ เ ดี ย วแล ว จะมี ป  ญ หาอะไร  ดวยเรื่องอันเกี่ยวกับปาฏิหาริย.                             ขืนไปวินิจฉัย ก็มีแตจะเสียเวลาจนหมดอายุ  แล วมิ หนํ ายั งจะมี ทางวิ นิ จฉั ยผิ ดมากกว าถู ก เพราะเป นเรื่ องที่ ท านมี ค วามมุ ง หมาย  อีกอยางหนึ่งดังกลาวแลว.                          ฉะนั้น หนังสือพุทธประวัติเลมใด มุงแสดงไปในทาง  ปาฏิหาริย ก็ขอใหไดทําหนาที่ของหนังสือเลมนั้น ใหยิ่ง ๆ ขึ้นไปก็แลวกัน).                       แต ยั ง มี ข อ พิ เ ศษอยู ข อ หนึ่ ง สํ า หรั บ ข อ ความที่ เ ป น ทํ า นองป า ฏิ ห า ริ ย  ๗ - ๘ หนาที่พลัดเขามาอยูในหนังสือเลมที่ขาพเจารวบรวมขึ้นมานี้ ซึ่งทานผูอานควรจะ  สังเกตไวดวย.                         ความแปลกอยูที่วา ขอความอันวาดวยเรื่องการอยูใ นสวรรค  การจุ ติ และการประสู ติ อย า งมี ป าฏิ ห าริ ย นี้ มี ร วมอยู ใ นบาลี อั จ ฉริ ย ภู ต ธัม มสูต ร  มัชฌิมนิกาย,                     แตเปนถอยคําของพระอานนทกลาว ทานกลาววาไดฟงขอความเชน นี้  มาจากพระพุท ธโอษฐเ อง แลว นํา มาเลา อีก ตอ หนึ่ง ,                                  ไมเ หมือ นกับ เรื่ อ งราว  ตอนอื่ น ๆ จากนี้ ซึ่ งเป นถ อยคํ าที่ พระสั งคี ติ กาจารย ทั้ งหลาย ระบุ ลงไปวา พระผู มี  พระภาคเจาไดตรัสเลาเองโดยตรง.                                 ทําไมพระสังคีติกาจารยทั้งหลายจึงรอยกรองwww.buddhadasa.info  ให เ รื่ อ งที่ มี ป าฏิ ห าริ ย รุ น แรงเช น นั้ น อยู ใ นถ อ ยคํ า ของพระอานนท เ สี ย ชั ้น หนึ ่ง กอ น   (ซึ่ งตามธรรมดาเราก็ ทราบกั นอยู แล วว าในจํ านวนพระสั งคี ติ กาจารย ทั้ งหลายนั ้น ก็มี  พระอานนทรวมอยูดวยองคหนึ่ง)                               แทนที่จะกลาวใหเปนคําที่พระองคตรัสโดยตรง  เหมือนสูตรอื่น ๆ ,                    หรือยิ่งขึ้นไปกวานั้น เมื่อทานลองอานบาลีอัจฉริยภูต ธัม มสูต ร  ตอนนี้ ดู ท า นจะสงสั ย ต อ ไปว า ทํ า ไมเรื่ อ งจึ ง ต อ งถู ก จั ด ให เ ป น ว า ให พ ระอานนท  มากราบทู ลเรื่ องที่ ท านได ฟ งมาจากพระองค ต อหน าภิ กษุ ทั้ งหลาย และต อพระพั กตร  พระผูมีพระภาคเจาดวยพรอมกันอีกครั้งหนึ่ง. ปญหาขอนี้ ไดเกิดแกขาพเจาแลว
คํา นํา                                          (๑๗ )  ในเมื่อไดพบเรื่องราวตอนนี้ และจะนํามารวมไวในหนังสือเลมนี้.                                เมื่ อ ข า พเจ า  ยัง คิด ไมต กและเห็น วา เปน เรื ่อ งไมม ากมาย ก็ต ัด สิน ใจในการที ่จ ะรวบรวมเอา  มาแตก็ไดบันทึกไวใหทานผูอานไดตั้งขอสังเกตไวเปนพิเศษ                           เฉพาะตอนนี้ แ ล ว  ดังปรากฏอยูเชิงอรรถแหงเรื่องนั้นเอง.                           และใหสังเกตไวดวยวา เรื่อ งตอนนี้  จั ดเป นเรื่ องจากพระโอษฐ โดยอ อม ดั งที่ ถ อยคํ าในตั วเรื่ องตอนนั้ น ก็ บ งใหเ ห็น ชัด  อยูแลว. รวมความวาในหนังสือเลมนี้ซึ่งมี ๓๕๗ หนา ๑                            มีเรื่องจากพระพุทธโอษฐ  โดยออมเสีย ๗ หนาเศษ                   ที นี้ ก็ มาถึ งเรื่ องบางเรื่ อง ที่ ควรผนวกเข าไว ในพุ ทธประวั ติ จากพระโอษฐ  คือเรื่องตางๆ ที่คนภายนอกศาสนาเปนผูกลาว.                                  ขาพเจาถือวาเรื่องที่ค นนอก  หรื อ คนที่ เ ป น ปฏิ ป ก ษ ต อ กั น กล า วนั้ น เป น เรื่ อ งที่ มี ค วามจริ ง อั น จะพึ ง เชื ่ อ ถื อ ได  ไมนอยกวาที่พระองคตรัสเอง.                       ขอนี้โดยเหตุที่วา คนภายนอกที่เ ป น ปฏิ ป ก ษ  ต อกั น ย อมลํ าเอี ยงเพื่ อละโอกาสแต ในทางที่ จะสรรเสริ ญ ย อมไม ลํ าเอี ยงในทางที่ จ ะ  ตําหนิ.             เมื่อมีความจําเปนที่จะกลาวออกมา ยอมไมลําเอียงไปในทางที่ จ ะยกยอ  ใหเลิศลอย มีแตจะเพงตําหนิ เมื่อหาชองตําหนิไมได ก็ไดแตกลาวตามตรง.                                เราพอ  ที่ จะถื อเป นหลั กไดว า เสี ยงสรรเสริ ญลั บหลั งของศั ตรู นั้ น มี ความจริ งอยา งน อ ยwww.buddhadasa.info  ๑๐๐ เปอรเซ็นต.                  ดวยเหตุนี้ขาพเจาจึงถือวาเสียงจากคนนอกที่กลาวถึงพระองคนั้น   มี น้ํ าหนั กพอที่ จะเชื่ อถื อได เท ากั บที พระองค ตรั สเอง จึ งได นํ ามารวมไว ใ นหนั ง สื อ  เล ม นี้ แต เพราะมิ ใ ช เป นเรื่ องออกจากพระโอษฐ จึ ง จั ดไว ในฐานะเป นเรื ่อ งผนวก  ของพุทธประวัติจากพระโอษฐดังที่กลาวแลว.                               ทั้งหมดมีอยู ๒๗ หนาดว ยกัน .  เฉพาะตอนนี้ มีเรื่องที่แสดงถึงพุทธอิริยาบถตาง ๆ อยางนาสนใจที่สุด                                 และบาง  เรื่องจะหาไมไดจากผูอื่น, จึงขอใหนักศึกษาทําการศึกษาดวยความสนใจเปนพิเศษ.          ๑. ในการพิมพครั้งที่สาม หนังสือเพิ่มขึ้นเปน ๓๙๖ หนา
(๑๘ )                      พุทธประวัติจากพระโอษฐ-คํานํา                รวมความวา หนัง สือ เลม นี ้ เกิด ขึ ้น เพราะมุ ง หมายจะรวบรวม  หลักแหงการปฏิบัติ อันจะพึงหาไดจากตัวอยางที่แสดงอยูที่พ ระวรกาย  ของพระพุ ท ธองค ,        และถื อ เอาเฉพาะที่ พ ระพุ ท ธภาษิ ต ตรั ส เล า ถึ ง  พระองคเอง เทาที่ปรากฏอยูในพระไตรปฏก,      มีเรื่องปาฏิหาริยแทรกอยู เ พี ย ง  ๗ สวน ในเรื่องราว ๓๕๗ สวน, มีเรื่องราวที่เปนคํากลาวของคนนอก ซึ่ง มีน้ํา หนัก  ควรเชื่อถือไดไมนอยไปกวาที่พระองคตรัสเองรวมอยูดวย ๒๗ สวน ใน ๓๕๗ สวนนั้น.                 หนังสือเรื่องนี้ พิมพครั้งแรก เมื่อ พ.ศ.    ๒๔๗๙ มีเรื่องรวมทั้ ง หมด  ๑๕๑ เรื่อง,            ในการพิมพครั้งนี้ ไดเพิ่มใหมอีก ๔๘ เรื่อง รวมทั้งหมดเป น  ๒๓๖ เรื่อง, เรื่องที่นํามาเพิ่มเติมเขามาใหมในการพิมพครั้งหลังนี้ เป น เรื่ อ งที่  เพิ่งคนพบหลังจากการพิมพครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๙ บาง, เปน เรื่ อ งปลี ก ย อ ย  ซึ่งในการพิมพครั้งแรกเห็นวายังไมจําเปนจะตองนํามาใสไว แตในครั้งนี้นํา มาใสไ ว  ทั้ง หมด เพื่อ ความสมบูร ณข องเรื่อ งบา ง,             รวมทั้ง เรื่อ งซึ่ง เปน พุท ธประวั ติ  จากพระโอษฐโดยออม คือบาลีอัจฉริยภูตธัมมสูตรที่กลาวขางตนนั้นดวย.                   เรื่องใด  เพิ่มเขาใหมในการพิมพคราวนี้ ไดทําเครื่องหมาย (พ.ม.)                           ไวที่สารบาญ  ท า ยชื่ อ เรื่ อ งนั้ น ๆ แลว.www.buddhadasa.info                 ในการพิ มพ ครั้ งนี้ ได ทํ าปทานุ กรมท ายเรื่ องอย างละเอี ยดทั่ วถึ งยิ่ งกว า  ครั้งกอน จึงมีทั้งหมดดวยกันถึง ๑๘๘๘ คํา มีลักษณะแยกเปนพวก ๆ ในตัว คือ  คําที่เปนชื่อของบุคคลและสถานที่ นี้พวกหนึ่ง.             คําที่เปนชื่อของเหตุก ารณ ต อนที่  สําคัญ ๆ ในพระชนมชีพ พวกหนึ่ง, ศัพทธรรมะตามปรกติพวกหนึ่ง,                                   ศั พ ท  ธรรมะพิเศษ โดยเฉพาะคือคําบัญญัติของการปฏิบัติธรรมทางจิต                              ส ว นมาก  เกี่ยวกับสมาธิ และวิปสสนา อีกพวกหนึ่ง ซึ่งเปนที่สบใจของนักปฏิบัติธรรมทั้งหลาย.
คํา นํา                                       (๑๙ )  จากข อสั งเกตที่ ได จากการพิ มพ ครั้ งที่ หนึ่ งนั่ นเอง ทํ าให ข าพเจ าได ทราบความสํ า คัญ  ของลํ า ดั บ คํ า หรื อ ปทานุ ก รมท า ยเล ม ว า มี อ ยู ม ากเพี ย งไร ในการพิ ม พ ค รั ้ ง นี้  จึงได จั ดให ช วยกั นทํ าอย างละเอี ยด เท าที่ จะทํ าได ซึ่ งหวั งวานั กศึ กษา จะไดพ ยายาม  ใชปทานุกรมทายเลมนี้ใหเปนประโยชนมาก เทากับความยากลําบากของผูทํา. ในการ  พิมพครั้งแรก มีเพียง ๖๕๓ คํา                    สํ า หรั บ หมวดธรรม ที่ เ ป น พวก ๆ ได เ พิ่ ม ขึ้ น จากที่ เ คยมี ใ นการพิ ม พ  ครั้งแรกเพียง ๖๙ หมวด เปน ๑๕๗ หมวด,                               ทั้งนี้เนื่องจากการเพิ่มเนื้ อ เรื่ อ ง  มากขึ้น และสํารวจเก็บเอามาอยางทั่วถึงยิ่งกวาในการพิมพคราวกอนดวย.                    สารบาญเรื่ อง ได จั ดตามลํ าดั บภาค และเรื่ องในภาค ที่ จั ดเปลี ่ย นแปลง  และเพิ่มเติมเขามาใหม เพื่อความสมบูรณ และสะดวกแกการศึกษา.                                 ในการ  พิมพคราวนี้ ไดเพิ่มภาคนําขึ้นอีกภาคหนึ่ง เปนภาคพิเศษ,                             และในตั ว เรื่ อ ง  ก็ไดเพิ่มภาคขึ้นอีกภาคหนึ่ง จากที่เคยมีเพียง ๕ ภาค เปนมีขึ้น ๖ ภาค, โดยที่  จั ดเรื่ องอั นเกี่ ยวกั บการปริ นิ พพานแยกออกไปเป นอี กภาคหนึ่ ง เพราะรวบรวมเรื ่อ ง  มาไดมากขึ้น.                และในภาคตาง ๆ ก็ไดโยกยายเรื่องบางเรื่อง ใหไปอยูในภาคซึ่งควร  จะรวมอยู, และเรื่องภาคผนวกอันวาดวยเรื่องตามเสียงคนภายนอกนั้น ก็ไ ดย กเอามาwww.buddhadasa.info  ไวกอนหนาภาคอันวาดวยปรินิพพาน.                       ผูศึกษาจะตองทําความเขาใจเสี ย ใหม  กั น ความสั บ สน.                    ในการจั ด ทํ า ต นฉบั บ พุ ท ธประวั ติ จ ากพระโอษฐ ฉบั บ แก ไ ขเพิ ่ ม เติ ม นี้  ขาพเจารูสึกวา เปนการสมควรที่จะตองกลาวถึงความเหน็ดเหนื่อย                           ของเพื่ อ น  สหธรรมิก ๒-๓ รูปที่อาศัยอยูดวยกัน ในการชวยคัดลอกตนฉบับ,                                  การทํา  ปทานุกรมทายเลม,                 การจัดลําดับหมวดธรรมและอื่น ๆ ไวในที่นี้ดวย.                 ขอให  กําลังศรัทธาปสาทะ และความเสียสละเหน็ดเหนื่อยรวมแรงกันในคราวนี้, จงเปน
(๒๐ )                   พุทธประวัติจากพระโอษฐ - คํานํา   อุปนิสัยแหงความเปน “สหายธรรมทาน” อันยิ่งขึ้นไปในอนาคตกาลนานไกล   และอุปนิสัยแหงความเสียสละเพื่องานเผยแพรพระศาสนา ยิ่งขึ้นในอนาคตอันใกล   นี้ ด ว ย.               ในที่สุดนี้ ขาพเจาขออุทิศสวนกุศลอันเกิดแตความตรากตรําในงานชิ้น นี้   เปนถามพลีบูชาพระคุณแหงสมเด็จพระผูมีพระภาคเจา ดงที่เคยตั้งเปนปณิธานไวแลว   แตหนหลัง ทุกประการ.                                          อ.ป. เปรียญ และ น.ธ. เอก.                                             ไชยา ๑ ธันวาคม ๒๔๔๙www.buddhadasa.info
คํานํา                                       (เมื่อพิมพครั้งที่ ๓)                                      _________________                  ในการพิ ม พ ค รั้ ง ที่ ๓ นี้ ไม มี อ ะไรที่ จ ะต อ งบอกกล า วเป น พิ เ ศษ   นอกจากการเพิ่มเรื่องเขามาใหมอีก ๑๒ เรื่อง เทาที่เพิ่งคนพบในระยะสุ ด ท า ย.   ด ว ยเหตุ นี้ ปทานุ กรมและหมวดธรรมท า ยเล ม จึ ง เพิ่ ม ขึ้ นตามส วน ตามหน า   หนังสือที่เพิ่มขึ้นจาก ๓๕๗ หนา เปน ๓๙๖ หนา โดยไมนับรวมปทานุ ก รม   และอื่ น ๆ .                  ขาพเจามีความสนใจที่จะกลาววา พุทธประวัติจากพระโอษฐ เท า ที่   จะเลือ กเก็บ ขึ ้น มาได จากพระไตรปฏ กฝา ยเถรวาทเรานั ้น มีค วามสมบู ร ณ   เพียงเทานี้, เปนอันยุติการทําหนังสือพุทธประวัติจากพระโอษฐ ซึ่งทํามาเรื่ อ ย ๆ   เทาที่เวลาวางจะอํานวยให เปนเวลานานถึง ๒๒ ป กันเสียที.                  คําปรารภความสําคัญอยางอื่น ๆ ปรากฏชัดแจงอยูแลวในคํา นํา แห ง   การพิมพครั้งที่หนึ่ง และครั้งที่สอง, ขอใหนํามาใชในโอกาสนี้ดวยโดยครบถว น.www.buddhadasa.info   ขาพเจาขอโอกาสปดฉากแหงการทําหนังสือพุทธประวัติจากพระโอษฐลง ด ว ยการ   ขอรองตอผูศึกษาทั้งหลาย ใหชวยกันทําการคนหารอยพระพุทธบาท สํา หรั บ สั ต ว   ผูปรารถนาจะเดินตามรอยพระพุทธองค โดยวิธีที่ไดกลาวมาแลวในที่นั้น ๆ ใหเ ต็ม   ตามความปรารถนาของตน ๆ สืบไป โดยเฉพาะในสมัยที่เราสมมติกันวา เปน ยุค   กึ่งพุทธกาลนี้เปนพิเศษ.   อ.ป.                                                                    ๑ เมษายน ๒๔๙๘                                               (๒๑)
คํานํา                                            (เมื่อพิมพครั้งที่ ๖)                                                 _________               การพิ ม พ ห นั ง สื อ พุ ท ธประวั ติ จ ากพระโอษฐ เ ป น ครั้ ง ที่ ห กนี้ ได เ ปลี ่ย นไป  เปนการพิมพดวย “ทุนพระยาลัดพลีธรรมประคัลภ”                                 เปนเรื่องอั น ดั บ ที่ ห นึ่ ง  ของหนั ง สื อ ชุ ด       “ลัดพลีธรรมประคัลภอนุสรณ”                   มีรายละเอียดดังกลาวไวใน  คําปรารภตอนตนของหนังสือนี้แลว.                 ในการพิมพครั้งนี้ มิไดมีการแกไขเพิ่มเติมแตประการใด                   เพี ย งแต มี  การตรวจสอบการพิม พผ ิด พลาดตกหลน ของตัว เลขที ่บ อกหนา แหง ที ่ ม า ใ น  พระไตรปฏก อยางทั่วถึงอีกครั้งหนึ่ง เทานั้น.                ดังนั้น ถาทานผูใดสังเกตเห็น ความ  เปลี่ ย นแปลงอั น นี้ อย า ได เ ข า ใจเป น อย า งอื่ น ขอให ถื อ เอาการแก ไ ขใหม ใ นครั ้ ง นี้  ว า เป น การถูกตอง.                                                                    กองตําราคณะธรรมทาน, ไชยาwww.buddhadasa.info                                                                              ๒๓ มกราคม ๒๕๑๓                                                     (๒๒)
สารบัญ                        พุทธประวัติจากพระโอษฐวิธีใชหนังสือเลมนี้                                ๑ภาคนํา                                               ๗ขอความใหเกิดความสนใจในพระพุทธประวัติ               ๗โลกธาตุหนึง มีพระพุทธเจาเพียงองคเดียว          ่                                          ๗การปรากฏของพระตถาคต มีไดยากในโลก                    ๘โลกที่กําลังมัวเมา ก็ยังสนใจในธรรมของพระตถาคต        ๘การมีธรรมของพระตถาคตอยูในโลก คือความสุขของโลก       ๙พระตถาคตเกิดขึ้นเพื่อความสุขของโลก                   ๑๐พระตถาคตเกิดขึ้นในโลกเพื่อแสดงแบบแหงการครองชีวิตอันประเสริฐแกโลก                                    ๑๑พระตถาคตเกิดขึ้น แสดงธรรมเพื่อความรํางับ, ดับ, รู   ๑๒ผูเชื่อฟงพระตถาคต จะไดรับประโยชนสุขสิ้นกาลนาน    ๑๒ทรงขนานนามพระองคเองวา “พุทธะ                       ๑๓เรื่องยอ ที่ควรทราบกอน                             ๑๔เรื่องสั้น ๆ ที่ควรทราบกอน (อีกหมวดหนึ่ง)           ๑๕
ภาค ๑เริ่มแตการเกิดแหงสากยวงศเรื่องกอนประสูติ จนถึงออกผนวช.   ๑๙การเกิดแหงวงศสากยะ                                         ๑๙พวกสากยะอยูใตอํานาจพระเจาโกศล                             ๒๐แดนสากยะขึ้นอยูในแควนโกศล                                  ๒๑แดนสากยะขึ้นอยูในแควนโกศล                                  ๒๑การจุติจากดุสิตลงสูครรภ                                    ๒๒เกิดแสงสวางเนื่องดวย การจุติจากดุสติ                       ๒๓แผนดินไหว เนื่องดวยการจุติ                                 ๒๔การลงสูครรภ                                                ๒๔การอยูในครรภ                                               ๒๔การประสูติ                                                   ๒๖เกิดแสงสวาง เนื่องดวยการประสูติ                            ๒๘แผนดินไหว เนื่องดวยการประสูติ                              ๒๘ประกอบดวยมหาปุริสลักขณะ ๓๒                                  ๒๙บุรพกรรมของการไดมหาปุริสลักขณะ                              ๓๑ประสูติได ๗ วัน พระชนนีทิวงคต                               ๓๘ทรงไดรับการบําเรอ                                           ๓๘กามสุขกับความหนาย                                           ๔๐ทรงหลงกามและหลุดจากกาม                                       ๔๒ความรูสึก ที่ถึงกับทําใหออกผนวช                            ๔๒การออกผนวช                                                   ๔๕ออกผนวชเมือพระชนม ๒๙              ่                                              ๔๕
ภาค ๒เริ่มแตออกผนวชแลวเที่ยวเสาะแสวงหาความรู ทรมานพระองคจนไดตรัสรู.                                             ๔๙เสด็จสํานักอาฬารดาบส                                      ๔๙เสด็จสํานักอุทกดาบส                                       ๕๑เสด็จไปอุรุเวลาเสนานิคม                                   ๕๓ทรงประพฤติอัตตกิลมถานุโยค (วัตรของเดียรถีย)              ๕๔อุปมาปรากฏแจมแจง                                        ๕๙ทุกรกิริยา                                                ๖๑ทรงกลับพระทันฉันอาหารหยาบ                                 ๖๕ภิกษุปญจวัคคียหลีก                                      ๖๖ทรงตริตรึกเพื่อตรัสรู                                    ๖๗ทรงเที่ยวแสวงเพื่อความตรัสรู                             ๖๘ทรงคอยควบคุมวิตก กอนตรัสรู                              ๖๙ทรงกําหนดสมาธินิมิต กอนตรัสรู                           ๗๓ทรงกั้นจิตจากกามคุณในอดีต กอนตรัสรู                     ๗๗ทรงคนวิธีแหงอิทธิบาท กอนตรัสรู                        ๗๘ทรงคิดคนเรื่องเบญจขันธ กอนตรัสรู                      ๗๙ทรงแสวงเนืองดวยเบญจขันธ กอนตรัสรู            ่                                             ๘๐ทรงคนลูกโซแหงทุกข กอนตรัสรู                         ๘๑ทรงพยายามในญาณทัศนะเปนขั้นๆ กอนตรัสรู                  ๘๔ทรงทําลายความขลาด กอนตรัสรู                             ๘๖ธรรมที่ทรงอบรมอยางมาก กอนตรัสรู                        ๘๙วิหารธรรมที่ทรงอยูมากที่สุด กอนตรัสรู                  ๙๐ทรงพยายามในเนกขัมมจิตและอนุปุพพวิหารสมาบัติ กอนตรัสรู   ๙๔ทรงอธิษฐานความเพียร                                       ๑๐๔
ความฝนครั้งสําคัญ กอนตรัสรู                                  ๑๐๔อาการแหงการตรัสรู                                             ๑๐๖สิ่งที่ตรัสรู                                                  ๑๐๙เกิดแสงสวางเนื่องดวยการตรัสรู                                ๑๑๒แผนดินไหว เนื่องดวยการตรัสรู                                 ๑๑๓การรูสึกพระองควาไดตรัสรูแลว                               ๑๑๔                                       ภาค ๓เริ่มแตตรัสรูแลวทรงประกอบดวยพระคุณธรรมตาง ๆจนเสด็จไปโปรดปญจวัคคยบรรลุผล.                                              ๑๑๗ทรงเปนลูกไกตัวพี่ที่สุด                                       ๑๑๗ทรงเปนผูขมอินทรียได                                        ๑๑๘ทรงมีตถาคตพลญาณสิบอยาง                                         ๑๑๙ทรงมีเวสารัชชญาณสี่อยาง                                        ๑๒๑ทรงมีวิธี "รุก" ขาศึกใหแพภัยตัว                               ๑๒๒ทรงมีธรรมสีหนาททีทําเทวโลกใหสนสะเทือน                       ่          ั่                            ๑๒๔ทรงมีธรรมสีหนาทอยางองอาจ                                       ๑๒๕สิ่งที่ใคร ๆ ไมอาจทวงติงได                                   ๑๒๖ไมทรงมีความลับ ที่ตองใหใครชวยปกปด                          ๑๒๘ทรงเปนอัจฉริยมนุษยในโลก                                       ๑๒๙ทรงตางจากมนุษยธรรมดา                                          ๑๒๙ทรงบังคับใจไดเด็ดขาด                                           ๑๓๑ไมทรงติดแมในนิพพาน                                            ๑๓๑ทรงมีความคงที่ตอวิสัยโลก ไมมีใครยิ่งกวา                      ๑๓๒ทรงยืนยันในคุณธรรมของพระองคเองได                              ๑๓๓ทรงยืนยันพรหมจรรยของพระองควาบริสุทธิ์เต็มที่                 ๑๓๔สิ่งที่ไมตองทรงรักษาอีกตอไป                                  ๑๓๘
ทรงฉลาดในเรื่องซึ่งพนวิสัยโลก                                  ๑๓๙ทรงทราบทิฏฐิวัตถุที่ลึกซึ้ง (ทิฏฐิ ๖๒)                          ๑๔๐ทรงทราบสวนสุดและมัชฌิมา                                        ๑๔๔ทรงทราบพราหมณสัจจ                                              ๑๔๕ทรงทราบพรหมโลก                                                  ๑๔๗ทรงทราบคติหา และนิพพาน                                         ๑๔๙ทรงแสดงฤทธิ์ได เพราะอิทธิบาทสี่                                ๑๕๐ทรงมีอิทธิบาทเพื่ออยูไดถึงกัปป                               ๑๕๑ทรงเปลงเสียงคราวเดียว ไดยินตลอดทุกโลกธาตุ                     ๑๕๒ทรงมีปาฎิหาริยสามอยาง                                         ๑๕๓เหตุที่ทําใหไดทรงพระนามวา ตถาคต                              ๑๕๕ทรงเปนสัมมาสัมพุทธะ เมื่อทรงคลองแคลวใน อนุปุพพวิหารสมาบัติ   ๑๕๖ทรงปฏิญญาเปนอภิสัมพุทธะ เมื่อทรงทราบอริยสัจจหมดจดสิ้นเชิง     ๑๕๗ไมทรงเปนสัพพัญูทุกอิริยาบถ                                   ๑๕๗ทรงยืนยันความเปนมหาบุรุษ                                       ๑๕๘ไมมีใครเปรียบเสมอ                                              ๑๖๐ไมทรงอภิวาทผูใด                                               ๑๖๑ทรงเปนธรรมราชา                                                 ๑๖๑ทรงเปนธรรมราชาที่เคารพธรรม                                     ๑๖๒ทรงคิดหาที่พึ่งสําหรับพระองคเอง                                ๑๖๓ทรงถูกพวกพราหมณตัดพอ                                          ๑๖๕มารทูลใหนิพพาน                                                 ๑๖๖ทรงทอพระทัยในการแสดงธรรม                                       ๑๖๖พรหมอาราธนา                                                     ๑๖๗ทรงเห็นสัตวดุจดอกบัว ๓ เหลา                                   ๑๖๙ทรงแสดงธรรมเพราะเห็นความจําเปนของสัตวบางพวก                   ๑๗๐ทรงเห็นลูทางที่จะชวยปวงสัตว                                  ๑๗๐
ทรงระลึกหาผูรับปฐมเทศนา                                      ๑๗๑เสด็จพาราณสี – พบอุปกาชีวก                                    ๑๗๓การโปรดปญจวัคคียหรือการแสดงปฐมเทศนา                         ๑๗๔ทรงประกาศธรรมจักรที่อิสิปตนมฤคทายวัน                          ๑๗๘แผนดินไหวเนื่องดวยการแสดงธรรมจักร                           ๑๗๙เกิดแสงสวางเนื่องดวยการแสดงธรรมจักร                         ๑๗๙จักรของพระองคไมมีใครตานทานได                              ๑๘๐ทรงหมุนแตจักรที่มีธรรมราชา (เปนเจาของ)                     ๑๘๑การปรากฏของพระองคคือการปรากฏแหงดวงตาอันใหญหลวงของโลก       ๑๘๒                                      ภาค ๔เรื่องเบ็ดเตล็ดใหญนอยตาง ๆตั้งแตโปรดปญจวัคคียแลว ไปจนถึงจวนจะปรินิพพาน.                                                 ๑๘๗(ก. เกี่ยวกับการประกาศพระศาสนา ๒๓ เรื่อง)                     ๑๘๗การประกาศพระศาสนา                                             ๑๘๗หลักที่ทรงใชในการตรัส (๖ อยาง)                              ๑๘๘อาการที่ทรงแสดงธรรม                                           ๑๘๙ทรงแสดงธรรมดวยความระมัดระวังอยางยิ่ง                        ๑๘๙อาการที่ทรงบัญญัติวินัย                                       ๑๙๐หัวใจพระธรรมในคํา “บริภาส” ของพระองค                         ๑๙๒ทรงเปนยามเฝาตลิ่งใหปวงสัตว                                ๑๙๔ทรงสอนเชนเดียวกับพระพุทธเจาทั้งปวง                          ๑๙๕ทรงสามารถในการสอน                                             ๑๙๖ทรงสามารถยิ่ง ในการสอน                                        ๑๙๗สิ่งที่ตรัสรูแตไมทรงนํามาสอนมีมากกวาที่ทรงนํามาสอนนัก     ๑๙๙คําของพระองค ตรงเปนอันเดียวกันหมด                           ๒๐๑ทรงสอนเฉพาะแตเรื่องทุกขกับความดับสนิทของทุกข               ๒๐๑
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Kitab ul Hadees urdu with sharha
Kitab ul Hadees urdu with sharha Kitab ul Hadees urdu with sharha
Kitab ul Hadees urdu with sharha ghulamenabi786
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานPadvee Academy
 
DS-051-新產品發展與產品生命週期
DS-051-新產品發展與產品生命週期DS-051-新產品發展與產品生命週期
DS-051-新產品發展與產品生命週期handbook
 
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdfเลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdfThanuphong Ngoapm
 

Mais procurados (7)

Community
CommunityCommunity
Community
 
Kitab ul Hadees urdu with sharha
Kitab ul Hadees urdu with sharha Kitab ul Hadees urdu with sharha
Kitab ul Hadees urdu with sharha
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
 
DS-051-新產品發展與產品生命週期
DS-051-新產品發展與產品生命週期DS-051-新產品發展與產品生命週期
DS-051-新產品發展與產品生命週期
 
Ready for-cae-workbook
Ready for-cae-workbookReady for-cae-workbook
Ready for-cae-workbook
 
Ation
AtionAtion
Ation
 
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdfเลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
 

Destaque

Processing & milling of parboiled rice japan 1985
Processing & milling of parboiled rice japan 1985Processing & milling of parboiled rice japan 1985
Processing & milling of parboiled rice japan 1985Sarod Paichayonrittha
 
Handbook malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011
Handbook   malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011Handbook   malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011
Handbook malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011Sarod Paichayonrittha
 
Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012
Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012 Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012
Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012 Sarod Paichayonrittha
 
หลักการเขียนลายเซ็น
หลักการเขียนลายเซ็นหลักการเขียนลายเซ็น
หลักการเขียนลายเซ็นSarod Paichayonrittha
 
ครามรู้เรื่อง การทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ
ครามรู้เรื่อง การทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการครามรู้เรื่อง การทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ
ครามรู้เรื่อง การทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการSarod Paichayonrittha
 

Destaque (7)

Processing & milling of parboiled rice japan 1985
Processing & milling of parboiled rice japan 1985Processing & milling of parboiled rice japan 1985
Processing & milling of parboiled rice japan 1985
 
China bullet train population 2013
China bullet train population 2013China bullet train population 2013
China bullet train population 2013
 
Handbook malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011
Handbook   malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011Handbook   malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011
Handbook malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011
 
Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012
Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012 Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012
Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012
 
หลักการเขียนลายเซ็น
หลักการเขียนลายเซ็นหลักการเขียนลายเซ็น
หลักการเขียนลายเซ็น
 
Oil and gas thailand 2011 v f
Oil and gas thailand 2011 v fOil and gas thailand 2011 v f
Oil and gas thailand 2011 v f
 
ครามรู้เรื่อง การทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ
ครามรู้เรื่อง การทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการครามรู้เรื่อง การทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ
ครามรู้เรื่อง การทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ
 

Mais de Sarod Paichayonrittha

พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร What did the buddha teach
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  What did the buddha teachพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  What did the buddha teach
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร What did the buddha teachSarod Paichayonrittha
 
สูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุ
สูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุสูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุ
สูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุSarod Paichayonrittha
 
อานาปานสติสูตร
อานาปานสติสูตรอานาปานสติสูตร
อานาปานสติสูตรSarod Paichayonrittha
 
Ukti marketing brief make it happens -jan2014
Ukti marketing brief  make it happens  -jan2014Ukti marketing brief  make it happens  -jan2014
Ukti marketing brief make it happens -jan2014Sarod Paichayonrittha
 
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณรำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณSarod Paichayonrittha
 
Led lighting outdoor design challenge dec2013
Led lighting outdoor design challenge dec2013Led lighting outdoor design challenge dec2013
Led lighting outdoor design challenge dec2013Sarod Paichayonrittha
 
Kwater investor presentation oct2013
Kwater investor presentation oct2013Kwater investor presentation oct2013
Kwater investor presentation oct2013Sarod Paichayonrittha
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรSarod Paichayonrittha
 
รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554
รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554
รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554Sarod Paichayonrittha
 
ตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวู
ตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวูตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวู
ตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวูSarod Paichayonrittha
 
The ultimatum of god nature the one straw revolution -a recapitulation-1996
The ultimatum of god nature the one straw revolution  -a recapitulation-1996The ultimatum of god nature the one straw revolution  -a recapitulation-1996
The ultimatum of god nature the one straw revolution -a recapitulation-1996Sarod Paichayonrittha
 
ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013
ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013
ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013Sarod Paichayonrittha
 
Feed in tariff malaysia brochure 2012
Feed in tariff malaysia brochure 2012Feed in tariff malaysia brochure 2012
Feed in tariff malaysia brochure 2012Sarod Paichayonrittha
 
Mdi compressed air car -new production concept 2010
Mdi compressed air car  -new production concept 2010Mdi compressed air car  -new production concept 2010
Mdi compressed air car -new production concept 2010Sarod Paichayonrittha
 
Zhaga consortium led light source standards apr2012
Zhaga consortium  led light source standards apr2012Zhaga consortium  led light source standards apr2012
Zhaga consortium led light source standards apr2012Sarod Paichayonrittha
 
Art the basis of education devi prasad 1997
Art  the basis of education devi prasad 1997Art  the basis of education devi prasad 1997
Art the basis of education devi prasad 1997Sarod Paichayonrittha
 
Xiyaburi dam project poyry july_2012_v_03
Xiyaburi dam project poyry july_2012_v_03Xiyaburi dam project poyry july_2012_v_03
Xiyaburi dam project poyry july_2012_v_03Sarod Paichayonrittha
 

Mais de Sarod Paichayonrittha (20)

พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร What did the buddha teach
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  What did the buddha teachพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  What did the buddha teach
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร What did the buddha teach
 
สูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุ
สูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุสูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุ
สูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุ
 
อานาปานสติสูตร
อานาปานสติสูตรอานาปานสติสูตร
อานาปานสติสูตร
 
Ukti marketing brief make it happens -jan2014
Ukti marketing brief  make it happens  -jan2014Ukti marketing brief  make it happens  -jan2014
Ukti marketing brief make it happens -jan2014
 
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณรำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
 
The new scada jun2014
The new scada jun2014 The new scada jun2014
The new scada jun2014
 
Led lighting outdoor design challenge dec2013
Led lighting outdoor design challenge dec2013Led lighting outdoor design challenge dec2013
Led lighting outdoor design challenge dec2013
 
Kwater investor presentation oct2013
Kwater investor presentation oct2013Kwater investor presentation oct2013
Kwater investor presentation oct2013
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
 
รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554
รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554
รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554
 
ตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวู
ตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวูตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวู
ตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวู
 
The ultimatum of god nature the one straw revolution -a recapitulation-1996
The ultimatum of god nature the one straw revolution  -a recapitulation-1996The ultimatum of god nature the one straw revolution  -a recapitulation-1996
The ultimatum of god nature the one straw revolution -a recapitulation-1996
 
ABB DC Circuit Breakers Catalog
ABB DC Circuit Breakers CatalogABB DC Circuit Breakers Catalog
ABB DC Circuit Breakers Catalog
 
ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013
ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013
ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013
 
Feed in tariff malaysia brochure 2012
Feed in tariff malaysia brochure 2012Feed in tariff malaysia brochure 2012
Feed in tariff malaysia brochure 2012
 
Mdi compressed air car -new production concept 2010
Mdi compressed air car  -new production concept 2010Mdi compressed air car  -new production concept 2010
Mdi compressed air car -new production concept 2010
 
Zhaga consortium led light source standards apr2012
Zhaga consortium  led light source standards apr2012Zhaga consortium  led light source standards apr2012
Zhaga consortium led light source standards apr2012
 
Art the basis of education devi prasad 1997
Art  the basis of education devi prasad 1997Art  the basis of education devi prasad 1997
Art the basis of education devi prasad 1997
 
Siemens Annual Report 2012
Siemens Annual Report 2012Siemens Annual Report 2012
Siemens Annual Report 2012
 
Xiyaburi dam project poyry july_2012_v_03
Xiyaburi dam project poyry july_2012_v_03Xiyaburi dam project poyry july_2012_v_03
Xiyaburi dam project poyry july_2012_v_03
 

Último

Bahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali AzmiBahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmibookbahareshariat
 
Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...
Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...
Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...Eesti Loodusturism
 
Bahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali AzmiBahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmibookbahareshariat
 
محاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdf
محاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdfمحاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdf
محاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdfKhaled Elbattawy
 
Bahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali AzmiBahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmibookbahareshariat
 

Último (6)

Bahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali AzmiBahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
 
Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...
Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...
Saunanaine_Helen Moppel_JUHENDATUD SAUNATEENUSE JA LOODUSMATKA SÜNERGIA_strat...
 
Bahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali AzmiBahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
 
محاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdf
محاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdfمحاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdf
محاضرات الاحصاء التطبيقي لطلاب علوم الرياضة.pdf
 
Energy drink .
Energy drink                           .Energy drink                           .
Energy drink .
 
Bahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali AzmiBahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
 

พุทธประวัติจากพระโอษฐ์

  • 1. พุทธประวัติ จาก พระโอษฐwww.buddhadasa.info
  • 2. พุทธประวัติจากพระโอษฐ โดย อ.ป.www.buddhadasa.info ธรรมทานมูลนิธิ จัดพิมพดวยดอกผลทุนพระยาลัดพลีธรรมประคัล เปนหนังสืออันดับที่หนึ่ง ในหนังสือชุด “ลัดพลีธรรมประคัลอนุสรณ” เปนการพิมพครั้งที่ ๘ ของหนังสือเลมนี้ จํานวน ๑,๐๐๐ เลม (ลิขสิทธิ์ไมสงวนสําหรับการพิมพแจกเปนธรรมทาน, สงวนเฉพาะการพิมพจาหนาย) ํ พิมพที่ หางหุนสวนจํากัด การพิมพพระนคร ๙๒ - ๙๔ ถนนบุญศิริ นครหลวง ฯ โทร. ๒๑๒๓๓๗, ๒๒๑๖๗๔ นายบุญธรรม สุนทรวาที ผูพิมพและโฆษณา ๑ พฤศจิกายน ๒๕๑๕
  • 3. คณะธรรมทานไชยา จัดพิมพ พิมพครั้งที่แรก ๑ พฤษภาคม ๒๔๗๙ พิมพครั้งที่สอง ๑ มกราคม ๒๔๙๕ พิมพครั้งที่สาม ๑๔ มกราคม ๒๔๙๘ พิมพครั้งที่สี่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๐๓ พิมพครั้งที่หา ๑๐ ตุลาคม ๒๕๐๘ พิมพครั้งที่หก ๒๓ มกราคม ๒๕๑๓ พิมพครั้งที่เจ็ด ๓ ธันวาคม ๒๕๑๓www.buddhadasa.info พิมพครั้งที่แปด ๓ พฤศจิกายน ๒๕๑๕
  • 7. การรอยกรองหนังสือเลมนี้ อุทิศ เปนถามพลี แดพระผูมีพระภาคเจา และ เพื่อเปนรอยพระพุทธบาท แดเพื่อนสัตวผูเดินคนหาพระองคwww.buddhadasa.info (๓)
  • 8. ใจความสําคัญ เป น พระประวั ติ ต รั ส เล า ไม มี คํา เรี ย บเรี ย งของผู แ ต ง คละปน เพราะเปนที่รวบรวมเฉพาะพระพุทธภาษิตที่ตรัสถึงประวัติของ พระองค เ อง, จากคั ม ภี ร พ ระไตรป ฏ กล ว น เลื อ กเก็ บ เอามา ร อ ยกรองให เ ป น หมวดหมู ติ ด ต อ กั น เป น ลํา ดั บ , มุ ง แสดง หลั ก ธรรมที่ แ นบอยู ใ นพระชนม ชี พ ของพระองค แทนการมุ ง ทางตํา นานประวั ติ หรื อ นิ ย ายประวั ติ เพื่ อ ให เ ป น หนั ง สื อ สงเสริมปฏิบัติธรรมเลมหนึ่ง เปนสวนใหญ รวมทั้งเปนแกน แหงเรื่องพุทธประวัติดวย, เปนสวนพิเศษ. -ผูรวบรวม-www.buddhadasa.info มีปทานุกรมคําสําคัญ, , ลําดับหมวดธรรม อยูทายเลม (๔)
  • 9. พุ ท ธประวั ติ จ ากพระโอษฐwww.buddhadasa.info (๕)
  • 10. อักษรยอ (เพื่อความสะดวกแกผูที่ยังไมเขาใจในเรื่องอักษรยอที่ใชหมายเลขแทนคัมภีร ซึ่งมีอยูโดยมาก ) มหาวิ.วิ. มหาวิภังค วินัยปฏก. ฉกฺ.อํ. ฉักกนิบาต อังคุตตรนิกาย ภิกขุนี.วิ. ภิกขุนีวิภังค ” สตฺ.อํ. สัตตกนิบาต ” มหา.วิ มหาวัคค ” อฏ.อํ อัฏฐกนิบาต ” จุลล.วิ. จุลลวัคค ” นว.อํ นวกนิบาต ” ปริวาร.วิ ปริวารวัคค ” ทส.อํ. ทสกนิบาต ” สีล.ที. สีลักขันธวัคค ทีฆนิกาย เอกาทส.อํ. เอกาทสกนิบาต ” มหา.ที. มหาวัคค ” ขุ.ขุ. ขุ ททกปาฐ ขุ ททก นิกาย ปา.ที. ปาฏิกวัคค ” ธ.ขุ. ธัมมบท ” มู.ม. มูลปณณาสก มัชฌิมนิกาย อุ.ขุ. อุทาน ” ม.ม. มัชฌิมปณณาสก ” อิติ.ขุ. อิติวุตตก ” อุปริ.ม. อุปริปณณสก ” สุตฺต.ขุ. สุตตนิบาต ” สคาถ.สํ สคาถวัคค สังยุตตนิกาย วิมาน.ขุ. วิมานวัตถุ ” นิทาน.สํ. นิทานวัคค ” เปต.ขุ. เปตวัตถุ ” ขนฺธ.สํ. ขันธวารวัคค ” เถร.ขุ. เถรคาถา ”www.buddhadasa.info สฬ.สํ. สฬายตนวัคค ” เถรี.ขุ. เถรีคาถา ” มหาวาร.สํ. มหาวัคค ” ชา.ขุ. ชาดก ” เอก.อํ เอกนิบาต อังคุตตรนิกาย นิท.ขุ. นิทเทส ” ทุก.อํ. ทุกนิบาต ” ปฏิสมฺ.ขุ. ปฏิสัมภิทา ” ติก.อํ. ติกนิบาต ” อปทาน.ขุ. อปทาน ” จตุก.อํ. จตุกกนิบาต ” พุทธว.ขุ. พุทธวงค ” ปญจ.อํ. ปญจกนิบาต. ” จริยา.ขุ. จริยาปฏก ” ตัวอยาง: ๑๔/๑๗๑/๒๔๕ ใหอานวา ไตรปฏก เลม ๑๔ หนา ๑๗๑ ขอที่ ๒๔๕ (พ.ม.) = เรื่องเพิ่มใหม เมื่อพิมพครั้งที่สอง (พ.ม.อ.) = เรื่องเพิ่มใหม เมื่อพิมพครั้งที่สาม ท. = ทั้งหลาย (๖)
  • 11. คํานํา (เมื่อพิมพครั้งที่ ๑ ) ____________ พระประวัติตรัสเลา หรือพุทธประวัติจากพระพุทธโอษฐนี้ เลื อ กเก็ บ จากบาลี พ ระไตรป ฎ ก รวบรวมเอามาเฉพาะตอนที่ พ ระองค ต รั ส เล า ถึ ง ป ร ะ วั ติ ของพระองค เอง. พระประวั ติ ของพระองค ทุ กๆ ตอน ทั้ งที่ ทรงเล าเอง และเป น คํ า ของ พระสัง คีติก าจารยผูรอ ยกรองบาลีพ ระไตรปฎ ก ยอ มมีอ ยูเ ปน แห ง ๆ ตอนๆ ไมติดตอกันไปจนตลอดเรื่องเปนการลําบากแกผูศึกษา. สมเด็จพระมหาสมณะเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เคยทรงพบเหตุแหงความไมสะดวกขอนี้ ดั ง ที่ ต รั ส ไว ในตอนคํา ปรารภ ที่หนาหนังสือพุทธประวัติเลม ๑ ของพระองควา :- “…น า เสี ย ดายว า เรื่ อ งพุ ท ธพระวั ติ นั้ น ไม ป รากฏในบาลี ที่ ขึ ้น สูส ั ง คี ติ จนตลอดเรื่ องสั กแห งเดี ยว มี มาในบาลี ประเทศนั้ นๆ เพี ยงเป นท อนๆ เช นเรื ่อ งประสูติwww.buddhadasa.info มาในมหาปทานสู ต รแห ง ที ฆ นิ ก ายมหาวรรค เรื่ อ งครั้ ง ยั ง ทรงพระเยาว ม าในติก นิบ าต อั ง คุ ต ตรนิ ก าย เรื่ อ งตั้ ง แต ป รารภเหตุ ที่ เ สด็ จ ออกบรรพชา จนภิ ก ษุ ป ญ จวัค คีย สํ า เร็จ พระอรหั ต ตผล มาในปาสราสิ สู ต รแห ง มั ช ฌิ ม นิ ก ายมู ล ป ณ ณาสก เรื่ อ งเสด็จ ออก บรรรพชาแล ว บํ าเพ็ ญทุ กกรกริ ยาจนได ตรั สรู มาในมหาสั จจกสู ตร แห งมั ชฌิ มนิ ก า ย มู ล ป ณ ณาสก เรื่ อ งตั้ ง แต ต รั ส รู แ ล ว จนถึ ง อั ค รสาวกบรรพชา มาในมหาวรรคแหง วิน ัย การทรงบํ าเพ็ ญพุ ทธกิ จนั้ นๆ มาในพระสู ตรต างๆ หลายสถาน, ตอนใกล จ ะปริน ิพ พาน จนถึ งปริ นิ พพานแล ว มั ลลกษั ตริ ย ในกุ สิ นาราทํ าการถวายพระเพลิ งพระพุท ธสรีร ะแลว แบ ง พระสารี ริ ก ธาตุ ไ ว บ า ง แจกไปในนครอื่ น บ า ง มาในมหาปริ นิ พ พานสู ต ร แ ห ง ที ฆ นิ ก าย มหาวรรค.เป น อย า งนี้ เข า ใจว า พระคั น ถรจนาจารย มุ ง จะกลา ว เ ท ศ น า บางอยาง จึงชักเรื่องมากลาวพอเปนเหตุปรารภเทศนา ที่เรียกวา “อัตถุปปตติ”. (๗)
  • 12. (๘) พุ ท ธประวั ติ จ ากพระโอษฐ - คํา นํา อีกอยางหนึ่ง ไดเรื่องมาเพียงใด ก็รจนาไวเพียงนั้นเปนคราวๆ เพราะเหตุ นี้ ในปกรณ เ ดี ย วควรจะเรียงเรื่องไวในสูตรเดียวกัน ก็ยังเรียงกระจายกันไว…” แต ในหนั งสื อพุ ทธประวั ติ ที่ พะรมหาสมณะเจ าพระองค นี้ ทรงเรีย บเรีย ง นั ้น ทรงเก็บ ความในบาลีม าคละปนกัน ไป ทั ้ง ที ่ต รัส เลา โดยพ ร ะ โ อ ษ ฐ เ อ ง และที่ เ ป น คํ า ของสั ง คี ติ ก าจารย บางแห ง ก็ ร วมทั้ ง อรรถกถา ทั้ ง ไม ไ ด ท รงหมาย เหตุไวใหชัดวาตอนไหนเปนคําตรัสเลา ตอนไหนเปนคําของรจนา เพราะทรง แตง ใหเ ปน หนัง สือ เลม ใหมขึ ้น ตา งหาก พรอ มทั ้ง มีอ ธิบ ายและค ว า ม เ ห็ น สันนิษฐาน. สวนเรื่องจากพระโอษฐ ที่ขาพเจารวบรวมมานี้ เลือกเก็บและแปล ออกเฉพาะตอนที่ พ ระศาสดาตรั ส เล า เรื่ อ งของพระองค เ อง จากบาลี อ ย า ง เ ดี ย ว ไม มี คํ า ของพระสั ง คี ติ ก าจารย ห รื อ คั น ถรจนาจารย ป นอยู เ ลย เพื่ อ ไม ใ ห ค ละกั น ด วยหวั งว าจะเป นการสะดวกแก ผู ที่ จะศึ กษา และสั นนิ ษฐานคั มภี ร พุ ทธประวัต ิส ืบ ไป, แม เ มื่ อ ไปอ า นคั ม ภี ร พุ ท ธประวั ติ อื่ น ๆ ที่ ท า นรวบรวมขึ้ น ใหม เช น ปฐมสมโพธิwww.buddhadasa.info เป นต นก็ ดี ตลอดจนพุ ทธประวั ติ ต างประเทศก็ ดี จะเข าใจได ง ายว า อะไรเปน แกน และอะไรเปนเกร็ดของเรื่อง. เพราะฉะนั้ น เรื่ อ งพุ ท ธประวั ติ จ ากพระโอษฐ ก็ ห มายความว า เรื ่ อ งที่ ทรงเล า เอง มี น้ํ า หนั ก ยิ่ ง กว า บาลี ธ รรมดาทั่ ว ไป เพื่ อ ให ไ ด ห ลั ก แห ง พุ ท ธประวั ติ แทๆ สําหรับศึกษาในขั้นแรกเสียกอน. ในลําดับตอไปจึงจะไดศึ ก ษาส ว นที่ เป น คํ า ของพระสั ง คี ติ ก าจารย ตลอดมาจนถึ ง อรรถกถา และเรื่ อ งเล า กั น ปรั ม ปรา อัน เกี่ย วดว ยพุทธประวัติทุก อยาง. เมื่อ เปน เชน นี้ เราจะรูเรื่อ งพุ ท ธประวั ติ ไดอ ยา งทั่ว ถึง เปน หลัก ฐานมั่น คง, และรูวา ไหนเปน แกน ไหนเป น กะพี้ ไหนเปนเปลือกเพียงไรดวย, ซึ่งถามีโอกาสก็ควรจะไดศึกษากันใหค รบทุ ก ชนิ ด
  • 13. คํา นํา (๙ ) จากที่เปนหลักฐานที่สุด ไปหาที่มีหลักฐานเบาบาง. ในบัดนี้ ขอเชิญทา นผูอา น ศึกษาแกนแทของพุทธประวัติ คือบาลีจากพระพุทธโอษฐเปนขั้นแรก. ขออุทิศกุศลเกิดแตการเผยแผธรรมอันนี้ เปนปฏิบัติบูชาแดพ ระผู มี พระภาคเจ า ใจอภิลักขิตสมัยตรงกับวันประสูติ - ตรัสรู - นิพพานนี้ดวย. อ.ป. เปรียญ และ น.ธ. เอก ไชยา ๑ พฤษภาคม ๒๔๗๗www.buddhadasa.info
  • 14. คํานํา (เมื่อพิมพครั้งที่ ๒) ___________ ข า พเจ า เห็ น ว า เป น การสมควรอย า งยิ่ ง ที่ จ ะกล า วไว เ สี ย ในคราวนี้ ถึงมูลเหตุที่จะเกิดหนังสื อเลมนี้ขึ้น. ในชั้นแรกที่สุ ด เนื่องจากข า พเจ า มี ค วาม สนใจในการค น หาร อ งรอยแห ง การศึ ก ษาค น คว า การปฏิ บั ติ และการเ ป น อ ยู ประจํ า วั น ตลอดจนถึ ง วิ ธี ก ารอบรมสั่ ง สอน และการแก ป ญ หาเฉพาะห น า ต า ง ๆ ของสมเด็ จ พระผู มี พ ระภาคเจ า โดยประสงค จ พนํ า เอาหลั ก เกณฑ เ หล า นั้ น มามาใชใ น การที่ จ ะทํ า ความเข า ใจในพระองค และทํ า ตามรอยพระยุ ค ลบาท หรื อ ที ่ เ รี ย ก ต า ม ค ว า ม ห ม า ย อัน ก วา ง ข ว า ง อ ยา ง ห นึ ่ง วา ก า ร ต า ม ร อ ย พ ร ะ อ ร หั น ต ข า พเจ า จึ ง พยายามเลื อ กเก็ บ เรื่ อ งราวต า ง ๆ ที่ จ ะเป น ประโยชน แ ก ค วามมุ ง หมายอั น นี้ เสมอมาจากที่ทุกแหง. ครั้นไดมีการพยายามลองเก็บเรื่องราวจากพระไตรป ฎ ก โ ด ย ต ร ง ก็ ไ ด พ บ เ รื ่ อ ง ร า ว อั น มี ค  า ม า ก ใ น ท า ง ที ่ จ ะ แ ส ด ง แ น ว ก า ร ป ฏิ บ ั ติ และยังแถมอยูในพระพุทธภาษิตโดยตรงดวย, ขาพเจาจึงไดตั้งใจใหม คือ ในชั้น นี้ จะเลื อ กเก็ บ เอาเฉพาะที่ เ ป น พระพุ ท ธภาษิ ต ล ว น ๆ ก อ นพวกหนึ่ ง เว น คํ า พ ร ะ สั ง คี -www.buddhadasa.info ติก าจารยเ สีย . ในที่สุด ก็ไ ดเ รื่อ งราวตา งๆ ที่อ ยูใ นรูป ตรัส เองพอแกค วามต อ ง การจริ ง ๆ . สํ า หรั บ ผู ที่ อ ยู น อกวั ด ไม คุ น กั บ พระไตรป ฏ กนั้ น ควรจะท ร า บ เ สีย กอ น ว า พระไตรป ฏ กนั้ น พระสั ง คี ติ ก าจารย ผู ร อ ยกรอง ท า นเรี ย งเป น คํ า สอนของทา นเอ ง เล า เรื่ อ งราวต า ง ๆ อั น เกี่ ย วกั บ พระผู มี พ ระภาคเจ า ว า เมื่ อ ประทั บ อยู ที่ นั ่น ไ ดมี เหตุ ก ารณ เ กิ ด ขึ้ น อย า งนั้ น ๆ และได ต รั ส ถ อ ยคํ า อย า งนั้ น ๆ เป น เ รื ่ อ ง ๆ ไ ป เปนสวนใหญ. ที่กลาวถึงพระสาวกหรื อคนสําคัญบางคนโดยเฉพาะนั้ น มี เ ป น สวนนอย และนอกจากนั้นก็มีขอความพวกที่เปนคําอธิบายศัพทลึกซึ้งตาง ๆ คือพวกคัมภีร นิเทศ. ในบรรดาสูตรตาง ๆ ที่พระสังคีติกาจารยเลาเรื่ อ งพระผู มี (๑๐)
  • 15. คํา นํา (๑๑ ) พระภาคเจาโดยตรงนั้น ก็มีนอยสูตรที่ไดเลาถึงเรื่องที่พระผูมีพระภาคเจา ตรัส เลา ถึงพระประวัติ หรือการกระทําของพระองคเอง โดยพระองคเอง และยั ง แถมเป น การมี ที่ ก ระจั ด กระจายอยู ทั่ ว ไป แห ง ละเล็ ก ละน อ ย ที่ นั้ น บ า ง ที่ นี้ บ  า ง เลยกลายเปนของที่ยังเรนลับ. ฉะนั้นเมื่อใครอยากทราบวา ถอยคําเฉพาะที่ พระองคไ ดต รัส เลา ถึง เรื ่อ งราวของพระองคเ อง มีอ ยู อ ยา งไรและเทา ไรแลว ผู นั้ น จะต อ งทํ า การสํ า รวจพระไตรป ฎ ก ผ า นไปที ล ะหน า ทุ ก ๆ หน า ด ว ยความ ระมั ด ระวั ง และเลื อ กเก็ บ เอาออกมารวบรวมไว จนกว า การสํ า รวจจะทั ่ ว ตลอด พระไตรปฎ ก แลว จึง เอาเรื ่อ งทั ้ง หมดนั ้น มาพิจ ารณาดูว า เรื ่อ งอะไรเกิ ด ก อ น เกิด หลัง หรือ คาบเกี ่ย วกัน อยา งไร อีก ตอ หนึ ่ง จึง จะไดเ รื ่อ งราวเหล า นั ้ น ต า ม ความประสงค. ความยากลําบากอยูตรงที่เรื่องราวเหลานี้มิไดรวมอยูที่ต อนใด ตอนหนึ่ ง ของพระไตรป ฎ กด ว ยกั น ทั้ ง หมด แต ไ ปมี แ ทรกอยู ที่ นั้ น บ า งที่ นี ้ บ  า ง และบางแหง ก็ม ีนิด หนอ ยและเรน ลับ ตอ งตั้ง อกตั้ง ใจเลือ กเก็บ กัน จริง ๆ : เรื่องจึงตองใชเวลาแรมปในการเลือกเก็บ มารอยกรองใหติดตอ กัน. ในชั้ นแรกที เดี ยว ข าพเจ ามิ ได มี ความตั้ งใจจะรวบรวมพระประวัต ิต รัส เองเหลา นี ้ เพราะไมไ ดน ึก คิด วา จะมีอ ยู โ ดยคิด เสีย วา พระประวัต ิต  า ง ๆ นั ้ นwww.buddhadasa.info มี เท าที่ มี ผู นํ ามาร อยกรองและศึ กษากั นอยู แล วเท านั้ น,และอี กอย างหนึ่ งในขณะนั ้น ขา พเจา มุง มายแตจ ะคน หารอ งรอยของการปฏิบัติธ รรมที่ยัง เรน ลับ เป น ปญ หาอยู อ ยา งเดีย ว,การคน เรื ่อ งจากพระไตรปฎ ก จึง มุ ง เลือ กเ ก็ บ เ ฉ พ า ะ เรื่องที่แสดงรองรอยของการปฏิบัติธรรมเรื่อยมา. เรื่องไดเปนไปเอง ในการที่ ได พ บเรื่ อ งการปฏิ บั ติ ธ รรมที่ ป ระสงค จ ะพบ จากบางตอนของคํ า ตรั ส เล า ถึ ง การ ปฏิ บั ติ ข องพระองค เ องในระยะต า ง ๆ ทั้ ง ในระยะที่ ท รงทํ า ความเพี ย รเพื ่ อ ตรั ส รู และตรัสรูแลวทําการสั่งสอนคนนานาชนิด. เรื่องที่ตรัสเลาถึงพระองค เ อง ในขณะที่ทรงทําความเพียร เพื่อตรัสรูนั้น เผอิญมีมากมาย เกินกว า ที่
  • 16. คํา นํา (๑๒ )www.buddhadasa.info
  • 17. (๑๒ ) พุทธประวัติจากพระโอษฐ - คํานํา ข า พเจ า เคยนึ ก ฝ น และได เ กิ ด เป น เรื ่ อ งที ่ เ ป น ประโยชน อ ย า ง ยิ ่ ง แก บุ ค คลที่ ป ระสงค จะ “ตามรอยพระยุ ค ลบาท” ห รื อ ต า ม รอยพระอรหั น ต ; และได ทํา ให เ กิ ด ความอิ่ ม ใจแก ข า พ เ จ า เปน ลน พน จนหายเหนื่อ ย. และขา พเจา กลา ยืน ยัน เฉพาะในส ว นนี้ ว า ยั ง ไม เ คยมี ใ ครที่ ไ ด แ ต ง หนั ง สื อ พุ ท ธประวั ติ เ ล ม ใด ได นํ า เอาเรื่ อ งราวตอนที ่เ ปน การคนควาทดลองกอนการตรัสรู ของพระผูมี พระภาคเจา มาแสดงไวอ ย า งครบถ ว น เหมือ นที่ขา พเจา นํา มาแสดงไวใ นหนัง สือ เลม นี้เ ลย. ทั้ง นี้ไ ดแ ก ข อ ความ ตั้งแตหนา ๔๙ ถึงหนา ๑๐๔ แหงหนังสือเลมนี้, และเปนขอความที่ต รั ส เ อ ง ล ว น โดยไม มี คํ า ของพระสั ง คี ติ ก าจารย และอรรถกาเข า รวมอยู ด วย เหมื อ นหนัง สือ พุท ธประวัต ิทั ้ง หลาย ที ่ม ีอ ยู แ ตก อ นๆ โดยเฉพาะเรื ่อ งราวภายใตห ั ว ข อ วา “การทรงกําหนดสมาธิ นิมิตกอนตรัสรู”, “การทรงพยายามในญาณทัสนะ เปนขั้น ๆ กอนการตรัสรู”, “การทรงทําลายความขลาดกอนตรัสรู ” ฯลฯ เหล า นี ้ ปรากฏว า เป น ที ่ ส บใจละอนุ โ มทนาแก เ พื ่ อ นั ก ป ฏิ บ ั ต ิ ด  ว ย กั น เปนอยางสูง ถึงกับใชเปนคูมือ. ถึงแมเรื่องราวที่กลาวถึงเหตุการณหลังจากการ ตรั ส รู แ ล ว เช น การทรมานเจ า ลั ท ธิ ต า ง ๆ ในการสั่ ง สอน หรื อ อุ บ ายวิ ธ ี แ ห ง การwww.buddhadasa.info สั ่ง สอน ก็ล ว นแตเ ปน เรื ่อ งแสดงรอยแหง การปฏิบ ัต ิธ รรมอยู ไ มน อ ย อยา ง เดียวกัน.และยังมีเรื่องประเภทที่แสดงใหเราทราบถึง “ชีวิตประจําวั น ” ของพระองค จนถึงกั บทํ าให เรารู สึ กว า เราไดอยูใกลชิ ดกับพระองค ชนิดที่ได เห็ นการเคลื่อ นไหวเป น ประจําวันของพระองคดวย การที ่ห นัง สือ เลม นี ้เ ต็ม ไปดว ยขอ ธรรมะ มากกวา เรื ่อ งราวที ่ เ ป น ประวั ติ นั้ น ก็ เป นเพราะมู ลเหตุ ที่ มี การค นเพื่ อหาร องรอยแห ง การปฏิ บ ั ต ิ ธ รรมใน พระชีว ประวัต ิด ัง กลา วแลว นั ่น เอง แลอีก ประการหนึ ่ง ซึ ่ง ขา พเจา เพิ ่ ง จะ ตัดสินใจลงไปในภายหลังเมื่อไดพบความจริงอันนี้แลว ก็คือ การตั้งใจว า จะให
  • 18. คํา นํา (๑๓ ) หนังสือเลมนี้เปน “พุทธประวัติแหงการปฏิบัติธรรม” หรือ “พุทธประวัติที่มุ ง แสดงไปในทางธรรม” นั้นเอง. การรอ ยกรองหนัง สือ พุท ธประวัต ิ เมื ่อ สัง เกตดูเ ปน อ ย า ง ดี แ ล ว ปรากฏวา มีท างที ่จ ะรอ ยกรองหนัง สือ พุท ธประวัต ิไ ดถ ึง ๓ แนวด ว ยกั น เป น อยางนอย. แนวที่หนึ่ง เปนหนังสือมุงโดยตรง ในการที่จะชักชวนคนใหเ ลื่อ มใส และโดยเฉพาะคนสวนใหญที่ไมใชนักศึกษา ไดแกคนชาวบานทั่วๆ ไป ซึ่ ง ต อ ง หนั ก ไปในทางปาฏิ ห าริ ย เช น หนั ง สื อ ปฐมสมโพธิ แ ละลลิ ต วิ ศ ตระเป น ตั ว อย า ง จัด เปน หนัง สือ สรรเสริญ พระคุณ หรือ Gospel ไปพวกหนึ่ง ซึ่ง นับ ว า เป น ผล ดี เ ลิ ศ ไปทางหนึ่ ง คื อ ยึ ด เหนี่ ย วน้ํ า ใจคนให ติ ด แน น ในศาสนาของตนไ ด นั ้ น เ อ ง . แต เนื่ องจากมุ งหนั กไปในทางปาฏิ หาริ ย เกิ นไปนั่ นเอง ทํ าให เกิ ดความเบื ่อ หนา ยขึ ้น แก พ วกนั ก ศึ ก ษาหรื อ นั ก ปฏิ บ ั ต ิ ธ รรมโดยตรง การมี ห นั ง สื อ พุ ท ธป ร ะ วั ติ แตป ระเภทนี ้ป ระเภทเดีย วจึง ไมเ ปน หารเพีย งพอ ทํ า ใหต อ งมีป ระเภทอื ่น ดว ย. แนวที่สอง มุงแสดงไปในทางตํานานหรือประวัติศาสตร ซึ่งมุงแสดงแต เ รื่ อ งราว ที ่ใ หค นทั ้ง หลายเห็น วา เปน ความจริง และมีห ลัก ฐานตามกฎเกณฑแ หง วิ ช า ประวั ติ ศ าสตร ห รื อ วิ ท ยาศาสตร อั น เป น ที่ ส บใจของนั ก ศึ ก ษาแห ง สมั ย ป จ จุ บ ั น นี้www.buddhadasa.info ซึ่ ง มี ห นั งสื อ พุ ท ธประวั ติ ของสมเด็ จ พระมหาสมณเจ า กรมพระยาวชิ ร ญาณวโรส หรือหนังสือ Life of Buddha ของ ดร. E.J. Thomas เปนตัวอยาง แตอยางไรก็ตาม ทั้ งสองแนวนี้ ยั งไม เ ป นที่ สบใจของคนอี กพวกหนึ่ ง คื อพวกนั กปฏิ บั ติ ธรรมที ่ใ ครจ ะ ทราบว าพระองค ทรงมี ชี วิ ตแห งการปฏิ บั ติ ธรรมเป นมาตั้ งแต ออกผนวช จนถึง ตรัส รู ประกาศพระศาสนาและกระทั่ ง ถึ ง วาระสุ ด ท า ยคื อ การปริ นิ พ พาน เป น อย า งไร โดยไมม ีค วามสนใจในเรื ่อ งการปาฏิห าริย  หรือ ขอ เท็จ จริง ทางป ร ะ วั ต ิ ศ า ส ต ร เหตุนี้จึงเปนความจําเปน ตามธรรมชาติที่จะตองมีหนังสือพุทธประวัติแ นวอื่ น จาก
  • 19. (๑๔ ) พุทธประวัติจากพระโอษฐ - คํานํา สองแนวนี้ตอไปอีก อันไดแก แนวที่สาม. แนวที่สาม มุงแสดงแตใ นทาง ธรรมลว น ๆ คือ แสดงขอ ธรรมะใหป รากฏชัด อยู ท ุก ๆ อากัป กิร ิย าของพระองค เพื่อ เปน หลัก การแกผูห วัง จะดํา เนิน ตาม เราจะเห็น ไดชัด เจนวา หนั ง สื อ พวกที่ มุ งแสดงทางปาฏิ หาริ ย ก็ แสดงหรื อเลื อกแสดงให ละเอี ยดแต ตอนที ่ จ ะจู ง ใจคน ได ด ว ยปาฏิ ห าริ ย แ สดงคร า ว ๆ หรื อ กระโดดข า มไปในตอนที่ จ ะแสดงเป น ธรรม- บรรยาย และไมแสดงสวนที่เปนแงคิดทางตํานานหรือประวัติศาสตรเลย. และ หนั งสื อพวกที่ แสดงทางตํ านานหรื อประวั ติ ศาสตร นั้ นเล า ก็ วิ นิ จฉั ยแต ในแงที ่จ ะเปน ไปได ในทางตํ านานหรื อประวั ติ ศาสตร ไม แสดงทางปาฏิ หาริ ย หรื อทางธรรมบรรยายเลย. อั นนี้ เป นการชี้ ชั ดถึ งความต างออกไปของหนั งสื อพุ ทธประวั ติ ประเภทที่ มุ งแสดงใน ทางธรรม หรื อชี้ ร องรอยแห งการปฏิ บั ติ ธรรมโดยตรง ซึ่ งข าพเจ าปรารถนาอย างยิ่ ง ในระยะที่ ทํ าการค นควา และได ตั ดสิ นใจทําทั นที ในเมื่ อได พบว ามี อยู มากพอที่ จ ะทํ า ขึ ้น เปนหนังสื อพุทธประวัติ สักเลมหนึ่ ง และก็ได ปรากฏขึ้ นจริ ง ๆ ดังที่ ทานไดเห็นอยูในบัดนี้ . ขาพเจายังไมอาจยืนยันวา หนั งสือเลมนี้ เปนหนังสือที่ควรจะถื อไดว าเปนพุท ธประวัติ ที่ มุ งแสดงในทางธรรมโดยสมบู รณ เพราะเหตุ ว าข าพเจ าทํ าได เพี ยงในวงจํ ากั ด คื อ เท าที่ มี อ ยู ในรู ป แห ง คํ า ตรั ส เล า และเท าที่ จ ะเลื อ กเก็ บ เอามาจากพระไตรปฎ กwww.buddhadasa.info โดยเฉพาะเท านั้ น เพราะหลั กการในการทํ า หนั งสื อเล มนี้ มี ความจํ ากั ดไว เ พีย งเทา นี ้. ถ าจะให สมบู รณ ก็ ต องไม จํ ากั ดว าเท าที่ ตรั สไว จากพระโอษฐ แต ต องรวบรวมเอา ชั้ น ที่ เ ป น คํ า สั ง คี ติ ก าจารย ทั่ ว ไป และอรรถกถาและฎี ก าทั่ ว ไปเข า มาด ว ย ซึ่ ง จะมี เรื่องราวมากกวาหนังสือเลมที่ทานถือ อยูนี้หลายเทานัก, แตอ ย า งไรก็ ต าม ขาพเจาพอจะยืนยันไดวา สวนที่เปนคําตรัสเลาไวดวยพระองคเองนั้น ข า พเจ า ไดพยายามรวบรวมมาจนหมดสิ้น, และพอใจที่จะยืนยันวา ดวยความมุงหมาย ที่ จ ะให เปนหนังสือที่มุงแสดงไปในทางธรรม ดังที่กลาวแลว.
  • 20. คํา นํา (๑๕ ) แม ว า ในหนั ง สื อ เล ม นี้ มี เ รื่ อ งราวบางตอนไปในทํ า นองป า ฏิ ห า ริ ย ติดเจืออยูบาง เชนตอนอันวาดวยการอยูในชั้นดุสิต การจุติลงสูครรภ และการ ประสู ติ เป นต นนั้ น ท านย อมเห็ นได อยู เองแล ว ว าเป นจํ านวนเ พี ย ง ๗ -๘ ห น า ในหนั งสื อ ๓๕๗ หน า และยิ่ งกว านั้ นท านยั งจะเห็ นได สื บไปอี กว า ข อความที่ เ ป น ปาฏิ หาริ ย ตอนนี้ ถ าใครพิ จารณาดู ให ดี แล วจะเห็ นว า เป นสิ่ งที่ เราไม จํ าเปน จะตอ ง ถื อ เอาตามตั ว หนั ง สื อ เหล า นั้ น เพราะเป น สิ่ ง ที่ อ ธิ บ ายให เ ห็ น เป น ธรรมาธิ ษ ฐาน ไดโดยงาย; เชนการที่พอประสูติออกมาก็ดําเนินได ๗ กาว ไปทางทิ ศ เหนื อ เปลงคํายืนยันไดวาเปนผูชนะโลกทั้งปวง และไมมีการเกิดอีก; นี้เราเห็ น ได ว า ผู กล าวมุ งจะกล าวถึ งการที่ พระองค เกิ ดขึ้ นเป นพระพุ ทธเจ า ซึ่ งเป นการเกิ ดทางใจ ตางหาก หาใชการเกิดทางเนื้อหนังไม, จํานวน กาว ๗ กาวนั้น พระอรรถกถาจารย ให คํ าอธิ บายว า เป นการแสดงถึ งข อปฏิ บั ติ ๗ ขั้ นที่ ทํ าคนให ตรั สรู (เช นโพชฌงค ๗) ก็มี, หรือนักวินิจฉัยบางทาน วาหมายถึงชนบทใหญ ๗ ชนบท ที่พระองค ท รง จาริกไปทําการประกาศคําสั่งสอนของพระองคก็มี, ที่วาเดินไปทางทิ ศ เหนื อ ย อมหมายถึ งการกล ามุ งหน าเข าไปประกาศตามกลุ มศาสดาต าง ๆ ที่ ม ีค นนับ ถือ อยูกอนแลวในสมัยนั้น, ที่วาเปนผูชนะโลกทั้งหมด นี้เปนการยืนยั น ถึ ง ข อ ที่www.buddhadasa.info คํ า สอนนี้ เป น คํ า สอนสุ ด ท า ยของโลก ที่ ใ คร ๆ ไม อ าจขุ ด ค น คํ า สอนอั น ใด มาสอนโลกใหสูงยิ่งขึ้นกวานี้ไดอีกตอไป, และที่วาพระองคไมมีการเกิดอีก นั้น ยอมหมายถึ งขอที่พระองค ไดทรงพบความจริ งขอที่ว า ที่แทไม มีคนเกิ ดคนตาย เพราะ ไมมีคน, มีแตสังขารที่เกิดดับอยูตามธรรมดาเทานั้น. (สําหรับผูที่สนใจและวินิจฉัย เรื่ องปาฏิ หาริ ย ต าง ๆ ทํ านองนี้ ข าพเจ าขอแนะให อ านหนั งสื อพุ ทธประวั ติ เ ลม หนึ ่ง ของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. สําหรับขาพเจาเองเห็นวา ปาฏิ หาริ ย นั้ น เป นสิ่ งที่ จํ าเป นจะต องวิ นิ จฉั ย เพราะท านผู ร อยกรองทา นมุ ง หมาย จะจูงใจคนดวยอุบายวิธีเชนนั้น ทานจึงไดดัดแปลง หรือรอยกรองขึ้ น เช น นั้ น
  • 21. (๑๖ ) พุทธประวัติจากพระโอษฐ - คํานํา ผู ที่ ต อ งการจะปฏิ บั ติ ธ รรม ไม ต อ งเอาใจใส ก็ ไ ด โดยข า มไปเอาใจใส ใ นเรื ่อ งการ ปฏิบัติธรรมเสียทีเดียว. เรื่องปาฏิหาริยตาง ๆ ก็เพื่อจูงคนเขามาหาการปฏิ บั ติ ธรรมนี่ เ อง ก็ เ มื่ อ เราเข า ถึ ง ตั ว การปฏิ บั ติ ธ รรมเสี ย ที่ เ ดี ย วแล ว จะมี ป  ญ หาอะไร ดวยเรื่องอันเกี่ยวกับปาฏิหาริย. ขืนไปวินิจฉัย ก็มีแตจะเสียเวลาจนหมดอายุ แล วมิ หนํ ายั งจะมี ทางวิ นิ จฉั ยผิ ดมากกว าถู ก เพราะเป นเรื่ องที่ ท านมี ค วามมุ ง หมาย อีกอยางหนึ่งดังกลาวแลว. ฉะนั้น หนังสือพุทธประวัติเลมใด มุงแสดงไปในทาง ปาฏิหาริย ก็ขอใหไดทําหนาที่ของหนังสือเลมนั้น ใหยิ่ง ๆ ขึ้นไปก็แลวกัน). แต ยั ง มี ข อ พิ เ ศษอยู ข อ หนึ่ ง สํ า หรั บ ข อ ความที่ เ ป น ทํ า นองป า ฏิ ห า ริ ย ๗ - ๘ หนาที่พลัดเขามาอยูในหนังสือเลมที่ขาพเจารวบรวมขึ้นมานี้ ซึ่งทานผูอานควรจะ สังเกตไวดวย. ความแปลกอยูที่วา ขอความอันวาดวยเรื่องการอยูใ นสวรรค การจุ ติ และการประสู ติ อย า งมี ป าฏิ ห าริ ย นี้ มี ร วมอยู ใ นบาลี อั จ ฉริ ย ภู ต ธัม มสูต ร มัชฌิมนิกาย, แตเปนถอยคําของพระอานนทกลาว ทานกลาววาไดฟงขอความเชน นี้ มาจากพระพุท ธโอษฐเ อง แลว นํา มาเลา อีก ตอ หนึ่ง , ไมเ หมือ นกับ เรื่ อ งราว ตอนอื่ น ๆ จากนี้ ซึ่ งเป นถ อยคํ าที่ พระสั งคี ติ กาจารย ทั้ งหลาย ระบุ ลงไปวา พระผู มี พระภาคเจาไดตรัสเลาเองโดยตรง. ทําไมพระสังคีติกาจารยทั้งหลายจึงรอยกรองwww.buddhadasa.info ให เ รื่ อ งที่ มี ป าฏิ ห าริ ย รุ น แรงเช น นั้ น อยู ใ นถ อ ยคํ า ของพระอานนท เ สี ย ชั ้น หนึ ่ง กอ น (ซึ่ งตามธรรมดาเราก็ ทราบกั นอยู แล วว าในจํ านวนพระสั งคี ติ กาจารย ทั้ งหลายนั ้น ก็มี พระอานนทรวมอยูดวยองคหนึ่ง) แทนที่จะกลาวใหเปนคําที่พระองคตรัสโดยตรง เหมือนสูตรอื่น ๆ , หรือยิ่งขึ้นไปกวานั้น เมื่อทานลองอานบาลีอัจฉริยภูต ธัม มสูต ร ตอนนี้ ดู ท า นจะสงสั ย ต อ ไปว า ทํ า ไมเรื่ อ งจึ ง ต อ งถู ก จั ด ให เ ป น ว า ให พ ระอานนท มากราบทู ลเรื่ องที่ ท านได ฟ งมาจากพระองค ต อหน าภิ กษุ ทั้ งหลาย และต อพระพั กตร พระผูมีพระภาคเจาดวยพรอมกันอีกครั้งหนึ่ง. ปญหาขอนี้ ไดเกิดแกขาพเจาแลว
  • 22. คํา นํา (๑๗ ) ในเมื่อไดพบเรื่องราวตอนนี้ และจะนํามารวมไวในหนังสือเลมนี้. เมื่ อ ข า พเจ า ยัง คิด ไมต กและเห็น วา เปน เรื ่อ งไมม ากมาย ก็ต ัด สิน ใจในการที ่จ ะรวบรวมเอา มาแตก็ไดบันทึกไวใหทานผูอานไดตั้งขอสังเกตไวเปนพิเศษ เฉพาะตอนนี้ แ ล ว ดังปรากฏอยูเชิงอรรถแหงเรื่องนั้นเอง. และใหสังเกตไวดวยวา เรื่อ งตอนนี้ จั ดเป นเรื่ องจากพระโอษฐ โดยอ อม ดั งที่ ถ อยคํ าในตั วเรื่ องตอนนั้ น ก็ บ งใหเ ห็น ชัด อยูแลว. รวมความวาในหนังสือเลมนี้ซึ่งมี ๓๕๗ หนา ๑ มีเรื่องจากพระพุทธโอษฐ โดยออมเสีย ๗ หนาเศษ ที นี้ ก็ มาถึ งเรื่ องบางเรื่ อง ที่ ควรผนวกเข าไว ในพุ ทธประวั ติ จากพระโอษฐ คือเรื่องตางๆ ที่คนภายนอกศาสนาเปนผูกลาว. ขาพเจาถือวาเรื่องที่ค นนอก หรื อ คนที่ เ ป น ปฏิ ป ก ษ ต อ กั น กล า วนั้ น เป น เรื่ อ งที่ มี ค วามจริ ง อั น จะพึ ง เชื ่ อ ถื อ ได ไมนอยกวาที่พระองคตรัสเอง. ขอนี้โดยเหตุที่วา คนภายนอกที่เ ป น ปฏิ ป ก ษ ต อกั น ย อมลํ าเอี ยงเพื่ อละโอกาสแต ในทางที่ จะสรรเสริ ญ ย อมไม ลํ าเอี ยงในทางที่ จ ะ ตําหนิ. เมื่อมีความจําเปนที่จะกลาวออกมา ยอมไมลําเอียงไปในทางที่ จ ะยกยอ ใหเลิศลอย มีแตจะเพงตําหนิ เมื่อหาชองตําหนิไมได ก็ไดแตกลาวตามตรง. เราพอ ที่ จะถื อเป นหลั กไดว า เสี ยงสรรเสริ ญลั บหลั งของศั ตรู นั้ น มี ความจริ งอยา งน อ ยwww.buddhadasa.info ๑๐๐ เปอรเซ็นต. ดวยเหตุนี้ขาพเจาจึงถือวาเสียงจากคนนอกที่กลาวถึงพระองคนั้น มี น้ํ าหนั กพอที่ จะเชื่ อถื อได เท ากั บที พระองค ตรั สเอง จึ งได นํ ามารวมไว ใ นหนั ง สื อ เล ม นี้ แต เพราะมิ ใ ช เป นเรื่ องออกจากพระโอษฐ จึ ง จั ดไว ในฐานะเป นเรื ่อ งผนวก ของพุทธประวัติจากพระโอษฐดังที่กลาวแลว. ทั้งหมดมีอยู ๒๗ หนาดว ยกัน . เฉพาะตอนนี้ มีเรื่องที่แสดงถึงพุทธอิริยาบถตาง ๆ อยางนาสนใจที่สุด และบาง เรื่องจะหาไมไดจากผูอื่น, จึงขอใหนักศึกษาทําการศึกษาดวยความสนใจเปนพิเศษ. ๑. ในการพิมพครั้งที่สาม หนังสือเพิ่มขึ้นเปน ๓๙๖ หนา
  • 23. (๑๘ ) พุทธประวัติจากพระโอษฐ-คํานํา รวมความวา หนัง สือ เลม นี ้ เกิด ขึ ้น เพราะมุ ง หมายจะรวบรวม หลักแหงการปฏิบัติ อันจะพึงหาไดจากตัวอยางที่แสดงอยูที่พ ระวรกาย ของพระพุ ท ธองค , และถื อ เอาเฉพาะที่ พ ระพุ ท ธภาษิ ต ตรั ส เล า ถึ ง พระองคเอง เทาที่ปรากฏอยูในพระไตรปฏก, มีเรื่องปาฏิหาริยแทรกอยู เ พี ย ง ๗ สวน ในเรื่องราว ๓๕๗ สวน, มีเรื่องราวที่เปนคํากลาวของคนนอก ซึ่ง มีน้ํา หนัก ควรเชื่อถือไดไมนอยไปกวาที่พระองคตรัสเองรวมอยูดวย ๒๗ สวน ใน ๓๕๗ สวนนั้น. หนังสือเรื่องนี้ พิมพครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๙ มีเรื่องรวมทั้ ง หมด ๑๕๑ เรื่อง, ในการพิมพครั้งนี้ ไดเพิ่มใหมอีก ๔๘ เรื่อง รวมทั้งหมดเป น ๒๓๖ เรื่อง, เรื่องที่นํามาเพิ่มเติมเขามาใหมในการพิมพครั้งหลังนี้ เป น เรื่ อ งที่ เพิ่งคนพบหลังจากการพิมพครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๙ บาง, เปน เรื่ อ งปลี ก ย อ ย ซึ่งในการพิมพครั้งแรกเห็นวายังไมจําเปนจะตองนํามาใสไว แตในครั้งนี้นํา มาใสไ ว ทั้ง หมด เพื่อ ความสมบูร ณข องเรื่อ งบา ง, รวมทั้ง เรื่อ งซึ่ง เปน พุท ธประวั ติ จากพระโอษฐโดยออม คือบาลีอัจฉริยภูตธัมมสูตรที่กลาวขางตนนั้นดวย. เรื่องใด เพิ่มเขาใหมในการพิมพคราวนี้ ไดทําเครื่องหมาย (พ.ม.) ไวที่สารบาญ ท า ยชื่ อ เรื่ อ งนั้ น ๆ แลว.www.buddhadasa.info ในการพิ มพ ครั้ งนี้ ได ทํ าปทานุ กรมท ายเรื่ องอย างละเอี ยดทั่ วถึ งยิ่ งกว า ครั้งกอน จึงมีทั้งหมดดวยกันถึง ๑๘๘๘ คํา มีลักษณะแยกเปนพวก ๆ ในตัว คือ คําที่เปนชื่อของบุคคลและสถานที่ นี้พวกหนึ่ง. คําที่เปนชื่อของเหตุก ารณ ต อนที่ สําคัญ ๆ ในพระชนมชีพ พวกหนึ่ง, ศัพทธรรมะตามปรกติพวกหนึ่ง, ศั พ ท ธรรมะพิเศษ โดยเฉพาะคือคําบัญญัติของการปฏิบัติธรรมทางจิต ส ว นมาก เกี่ยวกับสมาธิ และวิปสสนา อีกพวกหนึ่ง ซึ่งเปนที่สบใจของนักปฏิบัติธรรมทั้งหลาย.
  • 24. คํา นํา (๑๙ ) จากข อสั งเกตที่ ได จากการพิ มพ ครั้ งที่ หนึ่ งนั่ นเอง ทํ าให ข าพเจ าได ทราบความสํ า คัญ ของลํ า ดั บ คํ า หรื อ ปทานุ ก รมท า ยเล ม ว า มี อ ยู ม ากเพี ย งไร ในการพิ ม พ ค รั ้ ง นี้ จึงได จั ดให ช วยกั นทํ าอย างละเอี ยด เท าที่ จะทํ าได ซึ่ งหวั งวานั กศึ กษา จะไดพ ยายาม ใชปทานุกรมทายเลมนี้ใหเปนประโยชนมาก เทากับความยากลําบากของผูทํา. ในการ พิมพครั้งแรก มีเพียง ๖๕๓ คํา สํ า หรั บ หมวดธรรม ที่ เ ป น พวก ๆ ได เ พิ่ ม ขึ้ น จากที่ เ คยมี ใ นการพิ ม พ ครั้งแรกเพียง ๖๙ หมวด เปน ๑๕๗ หมวด, ทั้งนี้เนื่องจากการเพิ่มเนื้ อ เรื่ อ ง มากขึ้น และสํารวจเก็บเอามาอยางทั่วถึงยิ่งกวาในการพิมพคราวกอนดวย. สารบาญเรื่ อง ได จั ดตามลํ าดั บภาค และเรื่ องในภาค ที่ จั ดเปลี ่ย นแปลง และเพิ่มเติมเขามาใหม เพื่อความสมบูรณ และสะดวกแกการศึกษา. ในการ พิมพคราวนี้ ไดเพิ่มภาคนําขึ้นอีกภาคหนึ่ง เปนภาคพิเศษ, และในตั ว เรื่ อ ง ก็ไดเพิ่มภาคขึ้นอีกภาคหนึ่ง จากที่เคยมีเพียง ๕ ภาค เปนมีขึ้น ๖ ภาค, โดยที่ จั ดเรื่ องอั นเกี่ ยวกั บการปริ นิ พพานแยกออกไปเป นอี กภาคหนึ่ ง เพราะรวบรวมเรื ่อ ง มาไดมากขึ้น. และในภาคตาง ๆ ก็ไดโยกยายเรื่องบางเรื่อง ใหไปอยูในภาคซึ่งควร จะรวมอยู, และเรื่องภาคผนวกอันวาดวยเรื่องตามเสียงคนภายนอกนั้น ก็ไ ดย กเอามาwww.buddhadasa.info ไวกอนหนาภาคอันวาดวยปรินิพพาน. ผูศึกษาจะตองทําความเขาใจเสี ย ใหม กั น ความสั บ สน. ในการจั ด ทํ า ต นฉบั บ พุ ท ธประวั ติ จ ากพระโอษฐ ฉบั บ แก ไ ขเพิ ่ ม เติ ม นี้ ขาพเจารูสึกวา เปนการสมควรที่จะตองกลาวถึงความเหน็ดเหนื่อย ของเพื่ อ น สหธรรมิก ๒-๓ รูปที่อาศัยอยูดวยกัน ในการชวยคัดลอกตนฉบับ, การทํา ปทานุกรมทายเลม, การจัดลําดับหมวดธรรมและอื่น ๆ ไวในที่นี้ดวย. ขอให กําลังศรัทธาปสาทะ และความเสียสละเหน็ดเหนื่อยรวมแรงกันในคราวนี้, จงเปน
  • 25. (๒๐ ) พุทธประวัติจากพระโอษฐ - คํานํา อุปนิสัยแหงความเปน “สหายธรรมทาน” อันยิ่งขึ้นไปในอนาคตกาลนานไกล และอุปนิสัยแหงความเสียสละเพื่องานเผยแพรพระศาสนา ยิ่งขึ้นในอนาคตอันใกล นี้ ด ว ย. ในที่สุดนี้ ขาพเจาขออุทิศสวนกุศลอันเกิดแตความตรากตรําในงานชิ้น นี้ เปนถามพลีบูชาพระคุณแหงสมเด็จพระผูมีพระภาคเจา ดงที่เคยตั้งเปนปณิธานไวแลว แตหนหลัง ทุกประการ. อ.ป. เปรียญ และ น.ธ. เอก. ไชยา ๑ ธันวาคม ๒๔๔๙www.buddhadasa.info
  • 26. คํานํา (เมื่อพิมพครั้งที่ ๓) _________________ ในการพิ ม พ ค รั้ ง ที่ ๓ นี้ ไม มี อ ะไรที่ จ ะต อ งบอกกล า วเป น พิ เ ศษ นอกจากการเพิ่มเรื่องเขามาใหมอีก ๑๒ เรื่อง เทาที่เพิ่งคนพบในระยะสุ ด ท า ย. ด ว ยเหตุ นี้ ปทานุ กรมและหมวดธรรมท า ยเล ม จึ ง เพิ่ ม ขึ้ นตามส วน ตามหน า หนังสือที่เพิ่มขึ้นจาก ๓๕๗ หนา เปน ๓๙๖ หนา โดยไมนับรวมปทานุ ก รม และอื่ น ๆ . ขาพเจามีความสนใจที่จะกลาววา พุทธประวัติจากพระโอษฐ เท า ที่ จะเลือ กเก็บ ขึ ้น มาได จากพระไตรปฏ กฝา ยเถรวาทเรานั ้น มีค วามสมบู ร ณ เพียงเทานี้, เปนอันยุติการทําหนังสือพุทธประวัติจากพระโอษฐ ซึ่งทํามาเรื่ อ ย ๆ เทาที่เวลาวางจะอํานวยให เปนเวลานานถึง ๒๒ ป กันเสียที. คําปรารภความสําคัญอยางอื่น ๆ ปรากฏชัดแจงอยูแลวในคํา นํา แห ง การพิมพครั้งที่หนึ่ง และครั้งที่สอง, ขอใหนํามาใชในโอกาสนี้ดวยโดยครบถว น.www.buddhadasa.info ขาพเจาขอโอกาสปดฉากแหงการทําหนังสือพุทธประวัติจากพระโอษฐลง ด ว ยการ ขอรองตอผูศึกษาทั้งหลาย ใหชวยกันทําการคนหารอยพระพุทธบาท สํา หรั บ สั ต ว ผูปรารถนาจะเดินตามรอยพระพุทธองค โดยวิธีที่ไดกลาวมาแลวในที่นั้น ๆ ใหเ ต็ม ตามความปรารถนาของตน ๆ สืบไป โดยเฉพาะในสมัยที่เราสมมติกันวา เปน ยุค กึ่งพุทธกาลนี้เปนพิเศษ. อ.ป. ๑ เมษายน ๒๔๙๘ (๒๑)
  • 27. คํานํา (เมื่อพิมพครั้งที่ ๖) _________ การพิ ม พ ห นั ง สื อ พุ ท ธประวั ติ จ ากพระโอษฐ เ ป น ครั้ ง ที่ ห กนี้ ได เ ปลี ่ย นไป เปนการพิมพดวย “ทุนพระยาลัดพลีธรรมประคัลภ” เปนเรื่องอั น ดั บ ที่ ห นึ่ ง ของหนั ง สื อ ชุ ด “ลัดพลีธรรมประคัลภอนุสรณ” มีรายละเอียดดังกลาวไวใน คําปรารภตอนตนของหนังสือนี้แลว. ในการพิมพครั้งนี้ มิไดมีการแกไขเพิ่มเติมแตประการใด เพี ย งแต มี การตรวจสอบการพิม พผ ิด พลาดตกหลน ของตัว เลขที ่บ อกหนา แหง ที ่ ม า ใ น พระไตรปฏก อยางทั่วถึงอีกครั้งหนึ่ง เทานั้น. ดังนั้น ถาทานผูใดสังเกตเห็น ความ เปลี่ ย นแปลงอั น นี้ อย า ได เ ข า ใจเป น อย า งอื่ น ขอให ถื อ เอาการแก ไ ขใหม ใ นครั ้ ง นี้ ว า เป น การถูกตอง. กองตําราคณะธรรมทาน, ไชยาwww.buddhadasa.info ๒๓ มกราคม ๒๕๑๓ (๒๒)
  • 28. สารบัญ พุทธประวัติจากพระโอษฐวิธีใชหนังสือเลมนี้ ๑ภาคนํา ๗ขอความใหเกิดความสนใจในพระพุทธประวัติ ๗โลกธาตุหนึง มีพระพุทธเจาเพียงองคเดียว ่ ๗การปรากฏของพระตถาคต มีไดยากในโลก ๘โลกที่กําลังมัวเมา ก็ยังสนใจในธรรมของพระตถาคต ๘การมีธรรมของพระตถาคตอยูในโลก คือความสุขของโลก ๙พระตถาคตเกิดขึ้นเพื่อความสุขของโลก ๑๐พระตถาคตเกิดขึ้นในโลกเพื่อแสดงแบบแหงการครองชีวิตอันประเสริฐแกโลก ๑๑พระตถาคตเกิดขึ้น แสดงธรรมเพื่อความรํางับ, ดับ, รู ๑๒ผูเชื่อฟงพระตถาคต จะไดรับประโยชนสุขสิ้นกาลนาน ๑๒ทรงขนานนามพระองคเองวา “พุทธะ ๑๓เรื่องยอ ที่ควรทราบกอน ๑๔เรื่องสั้น ๆ ที่ควรทราบกอน (อีกหมวดหนึ่ง) ๑๕
  • 29. ภาค ๑เริ่มแตการเกิดแหงสากยวงศเรื่องกอนประสูติ จนถึงออกผนวช. ๑๙การเกิดแหงวงศสากยะ ๑๙พวกสากยะอยูใตอํานาจพระเจาโกศล ๒๐แดนสากยะขึ้นอยูในแควนโกศล ๒๑แดนสากยะขึ้นอยูในแควนโกศล ๒๑การจุติจากดุสิตลงสูครรภ ๒๒เกิดแสงสวางเนื่องดวย การจุติจากดุสติ ๒๓แผนดินไหว เนื่องดวยการจุติ ๒๔การลงสูครรภ ๒๔การอยูในครรภ ๒๔การประสูติ ๒๖เกิดแสงสวาง เนื่องดวยการประสูติ ๒๘แผนดินไหว เนื่องดวยการประสูติ ๒๘ประกอบดวยมหาปุริสลักขณะ ๓๒ ๒๙บุรพกรรมของการไดมหาปุริสลักขณะ ๓๑ประสูติได ๗ วัน พระชนนีทิวงคต ๓๘ทรงไดรับการบําเรอ ๓๘กามสุขกับความหนาย ๔๐ทรงหลงกามและหลุดจากกาม ๔๒ความรูสึก ที่ถึงกับทําใหออกผนวช ๔๒การออกผนวช ๔๕ออกผนวชเมือพระชนม ๒๙ ่ ๔๕
  • 30. ภาค ๒เริ่มแตออกผนวชแลวเที่ยวเสาะแสวงหาความรู ทรมานพระองคจนไดตรัสรู. ๔๙เสด็จสํานักอาฬารดาบส ๔๙เสด็จสํานักอุทกดาบส ๕๑เสด็จไปอุรุเวลาเสนานิคม ๕๓ทรงประพฤติอัตตกิลมถานุโยค (วัตรของเดียรถีย) ๕๔อุปมาปรากฏแจมแจง ๕๙ทุกรกิริยา ๖๑ทรงกลับพระทันฉันอาหารหยาบ ๖๕ภิกษุปญจวัคคียหลีก ๖๖ทรงตริตรึกเพื่อตรัสรู ๖๗ทรงเที่ยวแสวงเพื่อความตรัสรู ๖๘ทรงคอยควบคุมวิตก กอนตรัสรู ๖๙ทรงกําหนดสมาธินิมิต กอนตรัสรู ๗๓ทรงกั้นจิตจากกามคุณในอดีต กอนตรัสรู ๗๗ทรงคนวิธีแหงอิทธิบาท กอนตรัสรู ๗๘ทรงคิดคนเรื่องเบญจขันธ กอนตรัสรู ๗๙ทรงแสวงเนืองดวยเบญจขันธ กอนตรัสรู ่ ๘๐ทรงคนลูกโซแหงทุกข กอนตรัสรู ๘๑ทรงพยายามในญาณทัศนะเปนขั้นๆ กอนตรัสรู ๘๔ทรงทําลายความขลาด กอนตรัสรู ๘๖ธรรมที่ทรงอบรมอยางมาก กอนตรัสรู ๘๙วิหารธรรมที่ทรงอยูมากที่สุด กอนตรัสรู ๙๐ทรงพยายามในเนกขัมมจิตและอนุปุพพวิหารสมาบัติ กอนตรัสรู ๙๔ทรงอธิษฐานความเพียร ๑๐๔
  • 31. ความฝนครั้งสําคัญ กอนตรัสรู ๑๐๔อาการแหงการตรัสรู ๑๐๖สิ่งที่ตรัสรู ๑๐๙เกิดแสงสวางเนื่องดวยการตรัสรู ๑๑๒แผนดินไหว เนื่องดวยการตรัสรู ๑๑๓การรูสึกพระองควาไดตรัสรูแลว ๑๑๔ ภาค ๓เริ่มแตตรัสรูแลวทรงประกอบดวยพระคุณธรรมตาง ๆจนเสด็จไปโปรดปญจวัคคยบรรลุผล. ๑๑๗ทรงเปนลูกไกตัวพี่ที่สุด ๑๑๗ทรงเปนผูขมอินทรียได ๑๑๘ทรงมีตถาคตพลญาณสิบอยาง ๑๑๙ทรงมีเวสารัชชญาณสี่อยาง ๑๒๑ทรงมีวิธี "รุก" ขาศึกใหแพภัยตัว ๑๒๒ทรงมีธรรมสีหนาททีทําเทวโลกใหสนสะเทือน ่ ั่ ๑๒๔ทรงมีธรรมสีหนาทอยางองอาจ ๑๒๕สิ่งที่ใคร ๆ ไมอาจทวงติงได ๑๒๖ไมทรงมีความลับ ที่ตองใหใครชวยปกปด ๑๒๘ทรงเปนอัจฉริยมนุษยในโลก ๑๒๙ทรงตางจากมนุษยธรรมดา ๑๒๙ทรงบังคับใจไดเด็ดขาด ๑๓๑ไมทรงติดแมในนิพพาน ๑๓๑ทรงมีความคงที่ตอวิสัยโลก ไมมีใครยิ่งกวา ๑๓๒ทรงยืนยันในคุณธรรมของพระองคเองได ๑๓๓ทรงยืนยันพรหมจรรยของพระองควาบริสุทธิ์เต็มที่ ๑๓๔สิ่งที่ไมตองทรงรักษาอีกตอไป ๑๓๘
  • 32. ทรงฉลาดในเรื่องซึ่งพนวิสัยโลก ๑๓๙ทรงทราบทิฏฐิวัตถุที่ลึกซึ้ง (ทิฏฐิ ๖๒) ๑๔๐ทรงทราบสวนสุดและมัชฌิมา ๑๔๔ทรงทราบพราหมณสัจจ ๑๔๕ทรงทราบพรหมโลก ๑๔๗ทรงทราบคติหา และนิพพาน ๑๔๙ทรงแสดงฤทธิ์ได เพราะอิทธิบาทสี่ ๑๕๐ทรงมีอิทธิบาทเพื่ออยูไดถึงกัปป ๑๕๑ทรงเปลงเสียงคราวเดียว ไดยินตลอดทุกโลกธาตุ ๑๕๒ทรงมีปาฎิหาริยสามอยาง ๑๕๓เหตุที่ทําใหไดทรงพระนามวา ตถาคต ๑๕๕ทรงเปนสัมมาสัมพุทธะ เมื่อทรงคลองแคลวใน อนุปุพพวิหารสมาบัติ ๑๕๖ทรงปฏิญญาเปนอภิสัมพุทธะ เมื่อทรงทราบอริยสัจจหมดจดสิ้นเชิง ๑๕๗ไมทรงเปนสัพพัญูทุกอิริยาบถ ๑๕๗ทรงยืนยันความเปนมหาบุรุษ ๑๕๘ไมมีใครเปรียบเสมอ ๑๖๐ไมทรงอภิวาทผูใด ๑๖๑ทรงเปนธรรมราชา ๑๖๑ทรงเปนธรรมราชาที่เคารพธรรม ๑๖๒ทรงคิดหาที่พึ่งสําหรับพระองคเอง ๑๖๓ทรงถูกพวกพราหมณตัดพอ ๑๖๕มารทูลใหนิพพาน ๑๖๖ทรงทอพระทัยในการแสดงธรรม ๑๖๖พรหมอาราธนา ๑๖๗ทรงเห็นสัตวดุจดอกบัว ๓ เหลา ๑๖๙ทรงแสดงธรรมเพราะเห็นความจําเปนของสัตวบางพวก ๑๗๐ทรงเห็นลูทางที่จะชวยปวงสัตว ๑๗๐
  • 33. ทรงระลึกหาผูรับปฐมเทศนา ๑๗๑เสด็จพาราณสี – พบอุปกาชีวก ๑๗๓การโปรดปญจวัคคียหรือการแสดงปฐมเทศนา ๑๗๔ทรงประกาศธรรมจักรที่อิสิปตนมฤคทายวัน ๑๗๘แผนดินไหวเนื่องดวยการแสดงธรรมจักร ๑๗๙เกิดแสงสวางเนื่องดวยการแสดงธรรมจักร ๑๗๙จักรของพระองคไมมีใครตานทานได ๑๘๐ทรงหมุนแตจักรที่มีธรรมราชา (เปนเจาของ) ๑๘๑การปรากฏของพระองคคือการปรากฏแหงดวงตาอันใหญหลวงของโลก ๑๘๒ ภาค ๔เรื่องเบ็ดเตล็ดใหญนอยตาง ๆตั้งแตโปรดปญจวัคคียแลว ไปจนถึงจวนจะปรินิพพาน. ๑๘๗(ก. เกี่ยวกับการประกาศพระศาสนา ๒๓ เรื่อง) ๑๘๗การประกาศพระศาสนา ๑๘๗หลักที่ทรงใชในการตรัส (๖ อยาง) ๑๘๘อาการที่ทรงแสดงธรรม ๑๘๙ทรงแสดงธรรมดวยความระมัดระวังอยางยิ่ง ๑๘๙อาการที่ทรงบัญญัติวินัย ๑๙๐หัวใจพระธรรมในคํา “บริภาส” ของพระองค ๑๙๒ทรงเปนยามเฝาตลิ่งใหปวงสัตว ๑๙๔ทรงสอนเชนเดียวกับพระพุทธเจาทั้งปวง ๑๙๕ทรงสามารถในการสอน ๑๙๖ทรงสามารถยิ่ง ในการสอน ๑๙๗สิ่งที่ตรัสรูแตไมทรงนํามาสอนมีมากกวาที่ทรงนํามาสอนนัก ๑๙๙คําของพระองค ตรงเปนอันเดียวกันหมด ๒๐๑ทรงสอนเฉพาะแตเรื่องทุกขกับความดับสนิทของทุกข ๒๐๑