SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 208
Baixar para ler offline
คู่มือทําวัตรเช้า-เย็น                         เมตตาพรหมวิหารภาวนา



ประธานกิตติมศักดิ์ :      พระครูวุฒิวชิรสาร
รวบรวมเรียบเรียง :        พระสายัณห ติกฺขปฺโ
ถ่ายภาพ :                 ธีรวุฒิ รุจิมตริ
ออกแบบปก :                พระสายัณห ติกฺขปฺโ, ธีรวุฒิ รุจิมิตร
ออกแบบรูปเล่ม :           พระสายัณห ติกฺขปฺโ, อรรถนิติ ลาภากรณ,
                          ปริญญา หิรณยฐิติมา, เพียรพร พรหมโชติ
                                           ั
กราฟฟิก :                 ธีรวุฒิ รุจิมตร, อรรถนิติ ลาภากรณ, ปริญญา หิรัณยฐิติมา
                                       ิ
จัดรูปเล่ม :              เพียรพร พรหมโชติ, วุฒิพงษ อัชฌากรลักษณ

พิมพ์ครั้งที่ ๑ :         กุมภาพันธ ๒๕๕๓ จํานวน ๒,๐๐๐ เลม
ผู้จัดพิมพ์ :             พระสายัณห ติกฺขปฺโ

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแห่งชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data.
วัดศรีโยธิน.
   คู่มือทําวัตรเช้า-เย็น วัดศรีโยธิน.-- กําแพงเพชร : วัดศรีโยธิน, 2553.
   208 หน้า.
1. บทสวดมนต์. 2. วัดศรีโยธิน. I. ชื่อเรื่อง.
294.313
ISBN : 978-974-401- 392-7


กองบรรณาธิการ :           พระสายัณห ติกฺขปฺโ
พิมพ์ท่ี :                อุษาการพิมพ กรุงเทพฯ โทร. ๐๒-๖๕๖-๓๔๗๐
หนังสือสวดมนตทําวัตรแปลเลมนี้ ไดรับความอนุเคราะหจากทานพระอาจารย
สายัณห ติกฺขปฺโญ เปนผูตรวจสอบทุกขั้นตอนมาโดยตลอด จึงเปนหนังสือเลมหนึ่งที่
ถูกตองสมบูรณ
          ในการสวดมนตทําวัตรเปนหนาที่ของชาวพุทธผูนับถือพระพุทธศาสนาทุก ๆ คน พึง
มีไวเพื่อเปนบรรทัดฐาน ทานพระอาจารยฯ จึงมาปรึกษากับอาตมา อาตมาเห็นชอบดวย
จึงมอบ ภาระใหทานจัดการหาทุนทรัพยในการจัดพิมพในครั้งนี้และอาตมาไดอาราธนา
นิมนตทาน ฯ มาอบรมสอนวิปสสนากัมมัฏฐานดวย เพื่อเผยแผพระพุทธศาสนานําคําสอน
ของพระพุทธเจามา แนะแนวใหญาติโยมไดเขาใจ
          พรอมกันนี้ ญาติโยมก็ไดบริจาคทรัพย เพื่อสมทบทุนในการจัดพิมพครั้งนี้เปนธรรม
ทาน ดังคําพุทธภาษิตที่วา “ธรรมะทานัง ชินาติ” การใหธรรมะเปนทาน จึงมีอานิสงส
มากกวาการใหทานทั้งปวง
          อาตมาขอขอบคุณและขออนุโมทนาในสวนธรรมทานนี้โดยทั่วกัน ขอใหญาติโยมจง
มีความสุขความเจริญ ดวยจตุรพิธพรชัย อันมีอายุ วรรณะ สุขะ พละ ปฏิภาณธนสาร
สมบัตตลอดกาลนาน...เทอญฯ
       ิ

                                                              ขอเจริ ญ พร



                                                           พระครูวฒวชิรสาร
                                                                  ุ ิ
                                                       (หลวงพอทํานอง คุณงฺกโร)
                                                          เจาอาวาสวัดศรีโยธิน
ส า ร บั ญ

              เกี่ยวกับวัดศรีโยธิน ๑
                ประวัติ วัดศรีโยธิน ๒
             ประวัติ หลวงปู่ศรีสรรเพชญ์ ๕

   ระเบียบปฏิบัติสําหรับผู้ปฏิบัติธรรม ๑๑
ระเบียบปฏิบัติของผู้ที่เข้ามาปฏิบัติธรรม ณ วัดศรีโยธิน ๑๒
            กําหนดเวลาการปฏิบติธรรม ๑๔
                                   ั

    การอาราธนาศีล และสมาทานศีล ๑๕
                คําบูชาพระรัตนตรัย ๑๖
                 คําอาราธนาศีลห้า ๑๗
                คําอาราธนาศีลแปด ๑๗
                    ไตรสรณคมน์ ๑๘
                   คําสมาทานศีล ๑๙
                พิธีรักษาอุโบสถศีล ๒๐

           พิธีสมาทานกรรมฐาน ๒๗
บทสวดมนต์ทําวัตรเช้า (แปล) ๓๑
        คําบูชาพระรัตนตรัย ๓๒
      ปุพพะภาคะนะมะการ ๓๓
             พุทธาภิถุติง ๓๔
             ธัมมาภิถุติง ๓๖
             สังฆาภิถุติง ๓๗
   ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถา ๓๙
     สังเวคะปริกิตตะนะปาฐะ ๔๐
        ทวัตติงสาการะปาฐะ ๔๖
         บทพิจารณาสังขาร ๔๘
          สัจจะกิรยะคาถา ๕๐
                   ิ
    นมัสการพระอรหันต์ ๘ ทิศ ๕๑
    ตังขณิกปัจจะเวกขณปาฐะ ๕๒
    ธาตุปฏิกูลปัจจเวกขณปาฐะ ๕๕
               วันทามิ ๕๙
          กรวดน้ําตอนเช้า ๖๐
        สัพพปัตติทานคาถา ๖๐
           ปัตติทานคาถา ๖๑
              กราบพระ ๖๔
บทสวดมนต์ทําวัตรเย็น (แปล) ๖๕
      คําบูชาพระรัตนตรัย ๖๖
     ปุพพะภาคะนะมะการ ๖๗
          พุทธานุสสติ ๖๘
          พุทธาภิคีติง ๖๙
          ธัมมานุสสติ ๗๒
          ธัมมาภิคีติง ๗๓
          สังฆานุสสติ ๗๕
           สังฆาภิคีติง ๗๖

    บทสวดมนต์พิเศษ ๗๙
      ปุพพะภาคะนะมะการ ๘๐
          สรณคมนปาฐะ ๘๐
       อัฏฐสิกขาปทปาฐะ ๘๑
     เขมาเขมสรณทีปิกคาถา ๘๓
           อริยธนคาถา ๘๔
         ติลักขณาทิคาถา ๘๔
           ภารสุตคาถา ๘๖
         ภัทเทกรัตตคาถา ๘๗
        ธัมมคารวาทิคาถา ๘๘
      โอวาทปาฏิโมกขคาถา ๘๙
       ปฐมพุทธภาสิตคาถา ๙๑
      ปัจฉิมพุทโธวาทปาฐะ ๙๒
อภิณหะปัจจะเวกขะณะปาฐะ ๙๓
                 ปราภวสุตตปาฐะ ๙๕
                   สีลุทเทสปาฐะ ๙๘
               อริยมรรคมีองค์แปด ๑๐๐
             อตีตปัจจเวกขณปาฐะ ๑๐๙
                กรวดน้ําตอนเย็น ๑๑๒
             อุททิสสนาธิฏฐานคาถา ๑๑๒
                    กราบพระ ๑๑๔

           บทสวดมนต์วันพระ ๑๑๕
                 บทถวายพรพระ ๑๑๖
            สวดพระพุทธคุณ ๑๐๘ จบ ๑๒๐
     เมตตาพรหมะวิหารภาวนา (มหาเมตตาใหญ่) ๑๒๐
                 บารมี ๓๐ ทัศน์ ๑๓๖
       คําถวายกุศลแด่พระธรรมสิงหบุราจารย์ ๑๓๙
คําถวายพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ ๑๓๙
                   บทแผ่เมตตา ๑๔๐
                 บทอุทิศส่วนกุศล ๑๔๐
                 กรวดน้ําตอนเย็น ๑๔๒
              อุททิสสนาธิฏฐานคาถา ๑๔๒
                    กราบพระ ๑๔๔
บทสวดมนต์วันอาทิตย์ ๑๔๕
                 ชุมนุมเทวดา ๑๔๖
      บทขัดธัมมะจักกัปปะวัตตนะสูตร ๑๕๑
      บทธัมมะจักกัปปะวัตตะนะสุตตัง ๑๕๑
                คาถาโพธิบาท ๑๕๙
             คาถาสวดนพเคราะห์ ๑๖๐
              คาถาบูชาดวงชาตา ๑๖๑
         คาถามงคลจักรวาฬแปดทิศ ๑๖๑
            อุณหิสสะวิชะยะคาถา ๑๖๒
              พระคาถาชินบัญชร ๑๖๓
           เทวะตาอุยโยชะนะคาถา ๑๖๖
บทสรรเสริญคุณพระรัตนตรัย (ทํานองสรภัญญะ) ๑๖๗
          คําไหว้พระบรมสารีริกธาตุ ๑๗๐
   คําอธิษฐานสักการะพระบรมสารีริกธาตุ ๑๗๐
         คําบูชาพระบรมสารีริกธาตุ ๑๗๑
               กราบพระ ๕ ครั้ง ๑๗๒
พิธีลากรรมฐาน ๑๗๓
                 คําอาราธนาพระปริตร ๑๗๖
                    คําอาราธนาธรรม ๑๗๗
           คําถวายสังฆทาน (ประเภทสามัญ) ๑๗๗
    คําถวายสังฆทาน (ประเภทอุทิศให้ผู้ล่วงลับไปแล้ว) ๑๗๘
                  คําอปโลกน์สังฆทาน ๑๗๙
                 คําถวายข้าวพระพุทธ ๑๘๐
                   คําลาข้าวพระพุทธ ๑๘๐
             คําถวายผ้าป่า (ผ้าบังสุกุลจีวร) ๑๘๑
                  คําถวายพระพุทธรูป ๑๘๒
                 คําถวายเทียนพรรษา ๑๘๒
                 คําถวายผ้าอาบน้ําฝน ๑๘๓
                   คําถวายทานทั่วไป ๑๘๓
              คําสาธุการเมื่อพระเทศน์จบ ๑๘๔
              คําแสดงตนเป็นพุทธมามกะ ๑๘๖
                   คําลาพระกลับบ้าน ๑๘๗
รายนามผู้ร่วมบริจาคพิมพ์หนังสือสวดมนต์ ท้ายเล่ม
วิธีอานภาษาบาลี
     
ทุกแหงที่มเครื่องหมาย ๎ อักษรตัวนั้นตองวาใหเร็ว เพราะอักษรตัวนั้น เปนตัวสะกดกึ่งเสียง
           ี
ตัวอยาง คําวา “สุตวา” อักษร ต ออกเสียง ตะ กึ่งหนึ่ง ฉะนั้น ตองออกเสียงเร็วประมาณ
                     ๎
ครึ่งเสียง ถาวาชา จะออกเสียงเปน ต สองตัว เปนการอานผิด
เกี่ยวกับวัดศรีโยธิน




        ๑
ประวัตวัดศรีโยธิน
                                            ิ
         ที่ตั้งของวัด ตั้งอยูที่หมูที่ ๗ ตําบลหนองปลิง อําเภอเมือง จังหวัดกําแพงเพชร
ตั้งอยูหางจากศาลากลางจังหวัดหลังเกาหรือสี่แยกตนโพธิ์ประมาณ ๓ กิโลเมตร สภาพ
พื้นดินเปนดินลูกรัง มีปาไมขึ้นอยูเปนสภาพปาโปรง
                                 
         บางพื้ น ที่ เ ป น พื้ น ที่ ทํ า ไร เ ลื่ อ นลอยไม ถ าวร เนื่ อ งจากสภาพดิ น เป น ดิ น ลู ก รั ง
ผลผลิตไมไดผล การคมนาคมเดิมเปนถนนลูกรังจากกําแพงเพชรผานไปอําเภอพราน
กระตาย จังหวัดกําแพงเพชร การคมนาคมยังไมสะดวกประชาชนยังไมนิยมเขาไป
ประกอบอาชีพ เนื่องจากสภาพพื้นดินไมอํานวยตอการประกอบการเกษตร ประชาชน
สวนใหญพักอาศัยอยูในเมือง ยังไมมีหมูบานอยูอาศัยเปนหลักแหลง และยังมีโจร
ผูรายสรางความเดือดรอนอยูเนืองๆ จึงทําใหเปนพื้นที่รกรางและวางเปลา
     
         ต อ มา ร.อ.ทํ า นอง โยธิ น ธนสมบั ติ เป นผู ม องเห็ น การณ ไ กล เนื่ อ งจากเป น
ขาราชการรับราชการมานาน
         เห็ น ว า ต อ ไปในอนาคตข า งหน า จะต อ งมี ค วามเจริ ญ จึ ง ได ซื้ อ ที่ ดิ น จากเจ า
ของเดิม ทําการปลูกมะมวง มะขามหวาน เพื่อเปนตัวอยางแกชาวไร แลวทําการตัด
ถนนแยกจากถนนสายกําแพงเพชร-พรานกระตาย ไปทางทิศตะวันออก จัดสรรที่ดิน
เปนแปลงสําหรับที่อยูอาศัยแบงขายในราคาถูก ผูใดยากจนไมมีเงิน ก็ยกใหอยูอาศัย
โดยไม คิ ด มู ล ค า ก็ มี ทั้ ง นี้ เพื่ อ ต อ งการให ป ระชาชนเข า มาอยู อ าศั ย และขอจั ด ตั้ ง
หมูบานขึ้น โดยตั้งชื่อหมูบานวา “หมูบานศรีโยธิน” โดยใชชื่อนามสกุลตัวหนาของตน
เปนชื่อหมูบานจึงถึงปจจุบันนี้
         พ.ศ. ๒๕๒๐ ร.อ.ทํ า นอง เห็ นว า มี ป ระชากรเข า มาอยู อ าศั ย พอสมควรแล ว
จึงคิดที่จะสรางวัดใหประชาชนไดทําบุญสรางกุศล ประกอบกับที่ตนเองมีจิตศรัทธา
เลื่ อ มใสในพระพุ ท ธศาสนาและเคยสร า งวั ด มาก อ นจึ ง ได ย กที่ ดิ น ของตนเอง
จํานวน ๓๐ ไร เพื่อทําการสรางวัดขึ้น พอที่คณะสงฆพาประชาชาชนประกอบศาสนกิจ
ไดและนิมนตพระมาจําพรรษาและเปลี่ยนหมุนเวียนไป
         พ.ศ. ๒๕๓๐ เริ่มดําเนินการกอสรางวิหารหลวงปูพระศรีสรรเพชญ ฯ ซึ่งเปน


                                                  ๒
พระพุทธรูปเกาแก เปนเนื้อศิลาแลง สรางขึ้นในสมัยสุโขทัยตอนตน อายุประมาณ
๑,๐๐๐ ป โดย ร.อ.ทํานอง เปนผูสละทรัพยของตนเอง เพื่อสรางจนหมดถึงขนาดตอง
เอาหลักฐานที่ดินเปนหลักทรัพยค้ําประกันเงินกูเพื่อมาสรางวัด ตอมาไดญาติ พี่นอง
และผูมีจิตศรัทธารวมสรางทั้งจากกรุงเทพฯ สมุทรปราการ ชลบุรี กําแพงเพชร และ
จั ง หวั ด อื่ น ๆ มากมายที่ จ ะกล า วถึ ง ได ม าร ว มกั น บริ จ าคทรั พ ย ส มทบทุ น สร า ง
โดยจํ าลองแบบใหค ลา ยกับวัดพระพุทธชิ นราชที่ จั งหวัด พิษณุโลก เพื่อให เกิด ขึ้นใน
จังหวัดกําแพงเพชรจนสําเร็จ ดังที่ปรากฏอยูในปจจุบัน
          พ.ศ. ๒๕๓๘ ร.อ.ทํานอง ผูไดลงทุนลงแรงและตั้งใจอยางแรงกลาที่จะสรางวัด
ให สํ า เร็ จ จงได เห็ น ว า การพั ฒ นาวั ด ดํ า เนิ น ไปอย า งล า ช า จึ ง ตั ด สิ น ใจอุ ป สมบท
(หลวงพอทํานอง คุณงฺกโร) เพื่อสะดวกในการสรางวัดและเผยแผพระศาสนาอยางเต็ม
กําลังและไดนําทรัพยสินสวนตัวมาพัฒนาวัด พรอมกันนี้ก็มุงเผยแผหลักธรรมคําสอน
ของพระพุทธเจาสูประชาชน เพื่อใหรูจักการดําเนินชีวิตที่ดี รูจักใชหลักธรรมในการ
แกปญหาชีวิต
          ปจจุบัน วัดศรีโยธิน ตั้งอยูกึ่งกลางระหวางศูนยราชการจังหวัดกําแพงเพชรกับ
หมูบานศรีโยธิน ในอนาคตประชาชนและชุมชนจะสรางบานเรือนหนาแนนเพิ่มขึ้นอยาง
แน น อน มี ถ นนลาดยางสายกํ า แพงเพชร-สุ โ ขทั ย แยกเข า วั ด ศรี โ ยธิ น ได ส ะดวก
จึงมีความจําเปนที่จะตองพัฒนาวัดใหทันตอความเจริญที่กําลังเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว ทาง
คณะสงฆจังหวัดกําแพงเพชรจึงแตงตั้งให วัดศรีโยธิน เปนวัดวิปสสนากรรมฐานประจํา
จังหวัด
          แตทั้งนี้ ทางวัดยังขาดศาสนสถานที่จําเปนหลายอยาง ไดแก ศาลาการเปรียญ
จํานวน ๑ หลัง เพื่อประกอบศาสนกิจและการประชุมอบรมของสวนราชการตางๆ และ
การปฏิบัติธรรม เพื่อรองรับการบวชศีลจารินี ปฏิบัติกรรมฐานและวิปสสนากรรมฐาน
เมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดบวชศีลจารินีเปนรุนที่ ๑ และบังเกิดผลดีมีประชาชนใหความ
สนใจบวชปฏิบัติธรรมเปนจํานวนมาก แตยังมีขอบกพรองและปญหาเรื่องที่พักอาศัยยัง
ไมพอเพียง ทางวัดจึงไดสรางศาลาปฏิบัติธรรมขึ้นอีก ๑ หลัง เพื่อสนองความตองการ
และอํ า นวยความสะดวก ให แ ก ท า นที่ ม าปฏิ บั ติ ธ รรม เพื่ อ ให เ กิ ด ประโยชน แ ก
พุทธศาสนิกชนสืบไป

                                                ๓
๔
ประวัตหลวงปูพระศรีสรรเพชญ์
                         ิ     ่

            พระประธานในอุโบสถ วัดศรีโยธิน อ.เมือง จ.กําแพงเพชร

         หลวงปูพระศรีสรรเพชญ เปนพระพุทธรูปโบราณปางมารวิชัย เนื้อศิลาแลง
สรางสมัยใดนั้นไมปรากฏ แตสันนิษฐานวา เปนสมัยสุโขทัยยุคตน อายุประมาณ
๑,๐๐๐ ป ขนาดหนาตักกวาง ๖ ศอก
         เมื่อวันเพ็ญเดือน ๑๑ พ.ศ.๒๕๒๕ เปนวันออกพรรษา มีผูใจบุญไดมาทําบุญ
ตักบาตรที่วัดฯ บางทานก็มาถือศีลอุโบสถ ในจํานวนนี้มี ร.อ.ทํานอง ไดมารักษา
ศีลและนอนคางที่วัดดวย ตอนเย็นหลังจากทําวัตรเย็น สวดมนตเรียบรอยแลว ก็มี
การพูดคุยสนทนาธรรมกันวา วันนี้เปนวันออกพรรษา พรุงนี้พระที่จําพรรษาอยูนี้ก็จะ
กลั บ ภู มิ ลํ า เนาเดิ ม กั น หมด จะไปหาพระที่ ไ หนมาเฝ า วั ด ได เพราะวั ด ของเรา
สรางใหมอยูในปา พระที่ไหนจะมาอยูให เมื่อพูดคุยกันแลว ก็ไมมีใครคิดอะไร
แยกยายหลับนอนในที่ของตน
         ปรากฏวา ในคืนนั้นเอง ร.อ.ทํานอง ก็นิมิตฝนวา “มีพระภิกษุสงฆรูปหนึ่ง
แกชรามาก หนังยน ผิวคล้ํา มานั่งที่ศาลาที่ญาติโยมมารักษาศีลนอนอยู โดยที่ผูฝน
ไมรูวาทานมาจากไหนอยางไร?...”
         เมื่อทานมานั่งแลว ก็ยกมือขึ้นแลวก็บอกวา “โยมไมตองวิตก ฉันจะมาเฝาวัด
มาชวยกอสรางวัดสรางบานเมืองใหเจริญ” ในฝน ร.อ.ทํานองก็ไมคอยจะเชื่อถือไม
เลื่อมใส เพราะเคยหาพระมาเฝาวัดมากตอมากแลว ไมไดดีสักหน แตก็จําใจพูดไป
วา “หลวงพอแกแลวมาสรางวัดไหวหรือ อยางดีก็พอเฝาวัดไดเทานั้น” พระภิกษุ
ชรารูปนั้นจึงพูดขึ้นวา “ไหวซิ ถามาแลวก็จะหนุมขึ้น” ผูฝนจึงตอบไปวา “คนแกแลว
จะใหหนุมไดอยางไร? หลวงพอมียาดีหรือ” ทานบอกวา “มี” ผูฝนก็รบเราทานให
บอกสูตรยา ทานก็บอกให และบอกวา “ยานี้เมื่อกินเขาไปแลว มันไมหนุมเหมือน
คนหนุมทั้งหลายนะ แตแข็งแรงทํางานไหว”
         ในตอนที่ไดพูดคุยกันในฝนนั้น ผูฝนสนใจมาก อยากจะไดทานมาอยูดวย จึง

                                       ๕
ถามทานวา “หลวงพออยูที่ไหน? ชื่ออะไร? ผมจะไดไปรับทานมา” ทานก็บอกใหวา
“ทานชื่อพระศรีสรรเพชญ อยูองคเดียวมานานแลวทางทิศตะวันออกเมืองกําแพง”
         พอถึงตี ๕ ตางคนตางลุกจากที่นอนเพื่อเตรียมตัวที่จะไปทําวัตรเชา เมื่อพระ
มารวมกันที่ศาลาครบแลว กอนทําวัตรเชา ผูฝนก็ไดเลานิมิตใหพระภิกษุสงฆและทุก
คนไดฟงกัน เมื่อทุกคนไดฟงแลวก็บอกวา “ฝนดีจะมีโชค”
         เมื่อทําวัตรสวดมตแลว ก็ทําบุญตักบาตรตามประเพณี เสร็จแลว พระทุกรูป
ต า งก็ ก ลั บ ภู มิ ลํ า เนาเดิ ม กั น หมด เนื่ อ งจากที่ วั ด ไม มี ผู ใ ดเป น เจ า ภาพทอดกฐิ น
เมื่อพระตางกลับภูมิลําเนากันหมด ที่วัดก็เลยไมมีผูใดอยูเฝาวัด ร.อ.ทํานองจึงจาง
คนมานอนเฝาวัดตอไป
         ขณะที่จางคนมาเฝาวัดนั้น ผู ฝนก็คิดถึ งคํา พูดที่ พูดกั น และใบหนาของทา น
เสมอ จึงอยากจะไปพบทานตามที่ไดนิมิตฝนแตก็สุดความสามารถที่จะไปติดตามหา
ทานได เพราะไมวาจะไปถามใคร ก็ไมมีใครรูจักชื่อเสียงเรียงนามของทานเลย
         ผูฝน คือ ร.อ.ทํานอง ก็ไมวายที่จะนึกถึงทาน จึงเดินทางเขาบานที่กรุงเทพฯ
เพื่อพบพระครูรูปหนึ่งที่ชอบพอกัน ทานอยูที่บุคคโล เมื่อไปถึงก็เลาความฝนใหทาน
ฟงทั้งหมด ทานฟงแลว ก็บอกวา “โยม ฉันทํานายฝนไมเปน ฝนแปลกดี ฉันจะพา
ไปพบอาจารยของฉัน ทานทํานายฝนแมนมาก” ทานจึงพาผูฝนไปหาอาจารยทานที่
วัดสามปลื้ม ไปพบสมเด็จ ฯ วัดสามปลื้ม เลาความฝนใหทานฟง เมื่อทานฟงแลวก็
บอกวา “โชคดีมาก ฝนดี ที่วัดและบานเมืองแถวถิ่นนั้นจะเจริญรุงเรือง กลับไปให
ไปรับทานตามที่ฝนนะ” แลวผูฝนก็กลับบานที่กําแพงเพชรดวยความมืดมน ไมรูจะไป
ทางไหน? ไมไดถามใครอีก เพราะไมรูจะถามใคร แตจิตใจก็ยงพะวงคิดอยูเสมอ         ั
         อยู ม าวั น หนึ่ ง จึ ง ได ช วนนายไฉน ไปเที ย วในเมื อ งเพื่ อ หาอาหารทานกั น
ขณะนั้นที่วัดคูยางกําลังสรางเมรุ แตแปลกเมรุที่สรางขึ้นเปนเมรุแฝด คือในปลอง
เดียวกันมีเตาเผาคู คือ มีสองเตา จึ งเขาไปดู เมื่อ ดูเสร็จแลวก็เตรียมจะกลับบา น
เผอิญสายตามอไปพบตนไมใหญตนหนึ่ง ไมทราบวาเปนตนอะไร?                                    แตตรงยอด
ตนไมนั้นแกวงไปรอบ ๆ สวนกิ่งอื่น ๆ นั้นไมไหวติงแมแตนอย
         ขณะนั้น เวลา ๕ โมงเช า ไม มี ล มเลย จึ งได ช วนนายไฉนเข าไปดู นายไฉน
บอกว า “น า แปลก ! ทํ า ไมจึ ง หมุ น อยู ก่ิ ง เดี ย ว กิ่ ง อื่ น ๆ ทํ า ไมไม ห มุ น ด ว ย”

                                              ๖
เมื่อชวนนายไฉนไปดู นายไฉนบอกวา “แกแลว เดินไมไหวเพราะปารกมาก มีกอ
ไผหนามทุกชนิด รวมทั้งตนหมามุยก็มากดวย”              แตดวยความอยากรูอยากเห็น
จึงไดบอกลุงไฉนไปวา “ตามผมมา ผมจะเปนผูแหวกปาเขาไปเอง ใหตามมา โชคดี
อาจจะจับชะนีได เพราะตองเปนชะนีหรือลิงแน”
        แตพอเขาไปถึงใกล ๆ กิ่งไมก็เงียบไมไหวติงแตอยางใด เมื่อเดินออมไปก็พบ
เนินดินใหญมีปารกมาก เมื่อขึ้นไปถึงเนินดินแลวก็ไปสะดุดเหยียบตรงไหลของทานเขา
พอดี จึงกมลงแหวกกอหญาดู พบเศียรและไหลของทานอยูในทานอนตะแคงเอียง
เล็กนอย โผลขึ้นมาจากดินไมมากนัก เมื่อแรกพบเห็นองคทานเหมือนกับใจถูกไฟฟา
ช็อตวูบรอนผาวไปทั้งตัว และดีใจเหมือนไดพบกันตอนที่ฝน พรอมกับกําชับนายไฉน
วา อยาไปบอกใครเปนอันขาด ใหปดไวกอน แลวคิดวาทําอยางไร? จึงจะนําทานมา
ได
        ตอมา ไดพยายามหาบุคคลอื่นที่แข็งแรงไปชวยกันขุดอยู ๓ วัน จึงสําเร็จ
มีนายเสา หมอมา และบุคคลอื่นรวม ๘ คน แตกอนจะลงมือขุดก็จุดธูปเทียนบอก
นิมนตทาน พอจะลงมือขุดครั้งแรกก็ไมมีใครลงมือขุดกอน เพราะกลัวจะมีอันเปนไป
คณะขุดจึงยกใหผูกองทํานองเปนผูลงมือขุดกอน เพราะเปนผูฝน ตกลงผูฝนจึงตองขุด
เปนคนแรก
        เปนที่นาอัศจรรยอยางยิ่ง ขณะยกจอบขึ้นจะลงดินนั้น ไดมีแมงปองชางตัว
เทาปูนาโผลมายกกามชูหางขึ้น (แมในขณะที่ยกองคทานขึ้นสูบัลลังกประดิษฐานที่วัด
ศรีโยธิน ซึ่งในขณะนั้นเปนที่พักสงฆ ก็มองเห็นแมงปองชางตัวใหญสีขาวจํานวน ๓ ตัว
อยูใตที่ ๆ องคทานนั่งอยู) ผูขดจึงหยุดจอบ แลวบอกวา “ไป ๆ หลวงพอทานบอกให
                                   ุ
มารับทานไปที่วัด ขอใหหลีกไป” แมงปองชางตัวใหญสีขาวนั้นจึงเดินหายเขาไปในปา
จึงทําการขุดกันไดโดยสะดวก ขณะที่ขุดเอาทานขึ้นมานั้นลักษณะองคทานสมบูรณ
๘๐% แตพวกเราก็ขุดจอบ ทําชะแลงไปถูกองคทาน ทําใหเกิดแตกบิ่นผุพังไปก็มาก
เพราะลักษณะศิลาแลงเมื่อจมอยูในดินอยูนาน ๆ จะเกิดการออนตัวผุยุย จึงใหชาง
ซอมแซมดังที่เห็นอยูจนถึงปจจุบนนี้ ั




                                      ๗
ทําวัตร   ในที่นี้หมายถึง การกระทําโดยตอเนื่องเปนกิจวัตร ซึ่งเปนการ
ฝกหัด อันจะมีผลตอการเปลี่ยนแปลงทางจริตนิสัย และเปนหนทางใหเกิด
คุณธรรมที่จําเปนตอการดําเนินชีวิตเชนความขยัน ความอดทน ความสํารวม
ระมัดระวัง ความตั้งมั่นแหงจิตและความรูแจงในสัจธรรม เปนตน
                                          

       สวดมนต หมายถึง "การศึกษาเลาเรียน" คําวา "ศึกษา" ในทาง
พระพุทธศาสนาครอบคลุมไปถึงการปฏิบัติดวย คือ เมือยังไมรู ก็เรียนใหรู
                                                 ่
ฟงใหมาก ทองจํา พิจารณาไตรตรองสิ่งที่เรียน ลงความเห็นวาสิงใดถูกตอง
                                                             ่
สิ่งใดดีงาม แลวก็ตั้งใจปฎิบติตามนั้นไป
                            ั

       การทําวัตรสวดมนต ที่จะใหผลดีแกผูทํานั้น ตองระลึกใหถกตองวา
                                                                ู
ไมใชเปนการบรวงสรวงออนวอน หรือไปคิดแตงตั้งใหพระพุทธองค ตลอดจน
พระธรรม และพระสงฆเปนผูรับรู และเปนผูท่จะดลบันดาลสิ่งทีตนปรารถนา
                                           ี              ่
ซึ่งจะกลายเปนการกระทําทีใกลตอความงมงายไรเหตุผล อันมิใชวิสัยทีแทจริง
                         ่                                       ่
ของชาวพุทธ การทําวัตรสวดมนต ควรกระทําในลักษณะของการศึกษาเรือง       ่
ศีล สมาธิ ปญญา


                                  ๘
การทําวัตรสวดมนต เมือทําดวยความเคารพสํารวมระวัง บังคับกาย
                             ่
กิริยามารยาทใหเรียบรอยเปนปกติ     วาจากลาวในสิ่งที่ถูกตองดีงามสวนนี้
จัดเปน "ศีล"

      ขณะสวดมนต ตังจิตจดจออยูในเนื้อหา และความหมายของบทธรรม
                        ้
ทําใหจิตทิงอารมณตางๆ มาสูอารมณเดียวที่แนวแน ขณะนั้นจัดเปน "สมาธิ"
           ้                 
การมีความรูสึกตัวทัวพรอม มีสติสัมปชัญญะซาบซึ้งอยูในบทธรรม และเกิด
                  ่
ความเขาใจแจมแจงสวนนี้คือ "ปญญา"

       ขณะทําวัตรสวดมนต เมือตั้งใจศึกษา แกใขปรับปรุง เปลียนความคิด
                            ่                                ่
ความเห็นใหเปนไปตามธรรมะที่ทองบนอยู จนในขณะนั้น จิตใจเกิดความ
                              
ผองใส สงบ เยือกเย็น เปนสภาวะของธรรมปรากฏขึ้นในใจของเรา ปรากฏ
ขึ้นในใจของเรา ปรากฏการณเชนนี้ก็จะคลายกับวาเราไดพบกับพระพุทธองคที่
แทจริง คือธรรมะ ดังที่ทานตรัสไววา "ผูใดเห็นธรรมผูนนเห็นเรา"
                                                 ้ั

        ดังนั้น การศึกษาธรรมะในขณะทําวัตรสวดมนต หากไมทําดวยใจที่เลื่อน
ลอยหรือจําใจทําแลว หากกระทําดวยสติปญญา ตั้งใจเรียนรู ไตรตรองตาม
เหตุผลแลวนําไปปฏิบัติอยางจริงจัง ยอมเปนบอเกิดแหงการเปลี่ยนแปลงทาง
จิตใจ จากใจทีสกปรกไปสูใจที่สะอาด จากใจทีมดมัวไปสูใจที่สวาง และจาก
                 ่                          ่ ื         
ใจที่เรารอนไปสูใจทีสงบในทีสด อันเปนสภาวะจิตใจทีพนทุกข ดังเชนที่
                      ่      ่ ุ                      ่ 
พระพุทธองคไดทรงกระทําใหเราไดเห็นเปนตัวอยางแลว

         (คัดลอกจากหนังสือ ทําวัตรสวดมนต วัดหนองปาพง จ.อุบลราชธานี)



                                    ๙
สอบถามกําหนดการปฏิบตธรรม ณ วัดศรีโยธิน โทรศัพท ๐๕๕-๗๑๐-๒๘๐
                   ั ิ
การเตรียมตัว จัดเตรียมขาวของเครื่องใชสวนตัวเทาที่จําเปน ไมควรนําของมีคาติดตัวไป
การแตงกาย บุรษแตงชุดขาวสุภาพ สุภาพสตรีแตงชุดขาว นุงผาถุง หมสไบ




                                         ๑๐
ระเบียบปฏิบัติ
สําหรับผู้ปฏิบัติธรรม




         ๑๑
ระเบียบปฏิบัติของผู้ท่เข้ามาปฏิบัติธรรม ณ วัดศรีโยธิน
                      ี

๑. ใหยนดีในเสนาสนะทีจดให และใหทําความสะอาดเก็บกวาดที่พัก
         ิ                    ่ั
    ถนนทางเขาออกใหสะอาด
๒. เมื่อกิจของผูปฏิบัตธรรมเกิดขึน เชน ทําวัตรเชา – เย็น ฯลฯ
                          ิ          ้
    ใหพรอมกันทํา เมือเลิกใหพรอมกันเลิก อยาทําตนใหเปนทีรงเกียจของ
                        ่                                      ่ั
    หมูคณะ คือ เปนผูมายาสาไถย หลีกเลี่ยง แกตว
                                                     ั
๓. เวลารับประทานอาหาร ลางภาชนะ ทําความสะอาดใหเรียบรอย
    ใหทําดวยความมีสติ
๔. ใหทําตนเปนผูมักนอยในการพูด กิน นอน ราเริง จงเปนผูตื่นอยูดวย -
                                                                   
    ความเพียร
๕. หามคุยกันเปนกลุมกอนทั้งกลางวันและกลางคืนในที่ทั่วไป หรือทีพัก ่
    เวนแตมีเหตุจําเปน ถึงกระนันก็อยาเปนผูคลุกคลีและเอิกเกริกเฮฮา
                                 ้
๖. หามสูบบุหรี่ กินหมาก และสิงเสพติดทุกชนิด
                                   ่
๗. หามเรียไร บอกบุญตาง ๆ โดยเด็ดขาด
              ่
๘. ใหตั้งใจในการประพฤติปฏิบัติ
๙. ไมมกจจําเปน หามเขาไปคลุกคลีในกุฏิกบภิกษุและสามเณร โดยเด็ดขาด
           ีิ                                ั
๑๐. หามเปดวิทยุ และ การละเลนตางๆ ภายในบริเวณวัด
๑๑. เมื่อจะทําอะไรนอกเหนือจากหนาที่ใหปรึกษาสงฆ หรือ ผูเปนประธานใน
    สงฆเสียกอน เมือเห็นวาเปนธรรม เปนวินัย และจึงทํา อยาทําตามใจ -
                     ่
    ของตัวเองฯ



                                ๑๒
ขอกติกาทังหมดนี้ เปนไปเพื่อความเปนระเบียบเรียบรอยของหมูคณะ
                    ้
ขอใหผูปฏิบัติธรรม พึงสังวรไววา เรามาปฏิบตธรรมเพือขัดเกลาจิตใจ และ
                                                ั ิ       ่
เพื่อสรางจริตนิสยทีดีงามใหเกิดขึ้นแกตน มิใชมาเพื่อทําตามใจตนเอง แตมา
                   ั ่
ทําใจตนเองใหถกตองดวยการประพฤติปฏิบติเจริญสติ เพราะฉะนั้น หากทาน
                 ู                         ั
ผูใดไมสามารถทําตามขอกติกาที่กําหนดไว หรือทําตนเปนคนมีปญหา เรื่อง
มากในการกินการอยู ไมปฏิบติตามกฎกติกานี้ คณะสงฆมอํานาจเต็มที่ใน
                                   ั                          ี
การบริหารเพื่อใหเกิดความเรียบรอยแกหมูคณะตอไป

ประกาศ ณ วันที่ ๑๖ กรกฏาคม พ.ศ.๒๕๕๒




                                 ๑๓
กํา หนดเวลาการปฏิ บั ติ ธ รรม


  เวลา                         การปฏิบติ ั
๐๓.๓๐ น.                 ตื่นนอนทํากิจสวนตัว
๐๔.๐๐ น.          สวดมนตทําวัตรเชา – ปฏิบัตธรรม
                                                ิ
๐๗.๐๐ น.                รับประทานอาหารเชา
๐๗.๓๐ น.               พักผอนดวยความมีสติ
๐๘.๓๐ น.                       ปฏิบติธรรม
                                    ั
๑๑.๐๐ น.               รับประทานอาหารเที่ยง
๑๒.๓๐ น.                       ปฏิบติธรรม
                                      ั
๑๕.๓๐ น.            ทําความสะอาด กวาดลานวัด
                            ทําสรีรกิจสวนตัว
๑๗.๐๐ น.          สวดมนตทาวัตรเย็น – ปฏิบติธรรม
                             ํ                ั
๑๙.๐๐ น.                     พักดืมน้ําปานะ
                                  ่
๑๙.๓๐ น.             สอบอารมณ – ปฏิบติธรรมั
๒๑.๐๐ น.               พักผอนดวยความมีสติ

     *** ตารางอาจเปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม ***




                      ๑๔
การอาราธนาศีลและสมาทานศีล




            ๑๕
เมื่อพระคุณเจามาถึง ผูปฏิบตธรรมพึงนั่งคุกเขาประนมมือกราบ ๓ ครัง
                            ั ิ                                  ้
          เสร็จแลว กลาวคําบูชาพระ กราบพระ วาดังนี้...


                    คําบูชาพระรัตนตรัย

            อิมนา สักกาเรนะ, พุทธัง อะภิปชะยามิ,
                 ิ                         ู
            อิมนา สักกาเรนะ, ธัมมัง อะภิปชะยามิ,
               ิ                             ู
            อิมนา สักกาเรนะ, สังฆัง อะภิปชะยามิ,
                   ิ                     ู

                กราบพระรัตนตรัย วาพรอมกันดังนี้
                 อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
                  พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ,
                               (กราบ)
                  ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
                         ธัมมัง นะมัสสามิ,
                               (กราบ)
              สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
                      
                           สังฆัง นะมามิ.
                               (กราบ)



                             ๑๖
ตอไปกลาวคําอาราธนาศีล วาพรอมกันดังนี้


                   คําอาราธนาศีล ๕

              มะยัง ภันเต, วิสง วิสุง รักขะนัตถายะ,
                              ุ
         ติสะระเณนะ สะหะ, ปญจะ สีลานิ ยาจามะ,
       ทุติยมป มะยัง ภันเต, วิสง วิสุง รักขะนัตถายะ,
            ั                     ุ
         ติสะระเณนะ สะหะ, ปญจะ สีลานิ ยาจามะ,
       ตะติยมป มะยัง ภันเต, วิสง วิสง รักขะนัตถายะ,
              ั                     ุ    ุ
         ติสะระเณนะ สะหะ, ปญจะ สีลานิ ยาจามะ,


                   คําอาราธนาศีล ๘

                มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ,
                     อัฏฐะ สีลานิ ยาจามะ,
         ทุติยมป มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ,
              ั
                     อัฏฐะ สีลานิ ยาจามะ,
         ตะติยมป มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ,
                ั
                     อัฏฐะ สีลานิ ยาจามะ,
               เสร็จแลวกราบ ๑ ครั้ง นั่งพับเพียบพนมมือ
(ถาคนเดียววา อะหัง ภันเต แทน มะยัง ภันเต, ยาจามิ แทน ยาจามะ.)

                              ๑๗
ลําดับนั้น พระคุณเจากลาวคํานมัสการ ฯ นําผูปฏิบติ ใหวาตาม ดังนี้
                                               ั        
      นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
                              (วา ๓ ครัง)
                                        ้
ครั้นแลวพระคุณเจานําเปลงวาจาวาไตรสรณคมนตามไปทีละพากยวา ดังนี้
                                                              


                                 ไตรสรณคมน์

                                 พุทธัง    สะระณัง   คัจฉามิ,
                                 ธัมมัง    สะระณัง   คัจฉามิ,
                                 สังฆัง    สะระณัง   คัจฉามิ,
              ทุติยมป   ั       พุทธัง    สะระณัง   คัจฉามิ,
              ทุติยมป
                     ั           ธัมมัง    สะระณัง   คัจฉามิ,
              ทุติยมป       ั   สังฆัง    สะระณัง   คัจฉามิ,
             ตะติยมป  ั         พุทธัง    สะระณัง   คัจฉามิ,
             ตะติยมป
                   ั             ธัมมัง    สะระณัง   คัจฉามิ,
             ตะติยมป      ั     สังฆัง    สะระณัง   คัจฉามิ,

   เมื่อจบแลว พระคุณเจาบอกวา “ ติสะระณะคะมะนัง นิฏฐิตัง ”
                ผูปฏิบัตพงรับวา “ อามะ ภันเต ”
                         ิ ึ

       ลําดับนั้นพึงสมาทานสิกขาบท ๕ ประการ หรือ ๘ ประการ
                        วาตามพระคุณเจาดังนี้



                                          ๑๘
คําสมาทานศีล

๑. ปาณาติปาตา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
๒. อะทินนาทานา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
๓. อะพ๎รหมะจะริยา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
         ั ๎
๔. มุสาวาทา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
๖. วิกาละโภชะนา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
๗. นัจจะคีตะวาทิตะ วิสกะทัสสะนะ, มาลาคันธะ วิเลปะนะ, ธาระณะ
                      ู
   มัณฑะนะ วิภสะนัฏฐานา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
                ู
๘. อุจจาสะยะนะ มะหาสะยะนา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

           สําหรับผูทสมาทานศีล ๕ ใหสมาทานศีล ถึงขอที่ ๕
                      ่ี
                         และเปลี่ยนขอที่ ๓ วาดังนี้
        กาเมสุมจฉาจารา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
               ิ

                 ลําดับตอจากนั้น พระคุณเจาจะกลาววา
     อิมานิ อัฏฐะ (ปญจะ*) สิกขาปะทานิ, สีเลนะ สุคะติง ยันติ,
            สีเลนะ โภคะสัมปะทา, สีเลนะ นิพพุติง ยันติ
                        ตัสมา สีลง วิโสทะเย.
                           ๎       ั

      ผูสมาทานศีลพึงรับวา “สาธุ” เสร็จแลวนั่งคุกเขา กราบ ๓ ครั้ง
                หมายเหตุ: * ใชสาหรับสมาทานศีล ๕
                                    ํ


                                   ๑๙
พิธีรกษาอุโบสถศีล
                               ั

          เมื่อพระสงฆสามเณรทําวัตรเชาเสร็จแลวอุบาสก-อุบาสิกา
                    พึงทําวัตรเชา โดยเริ่มคําบูชาพระ วา

        ยะมะหัง สัมมาสัมพุทธัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะโต, (หญิงวา คะตา)
พระผูมพระภาค, พระองคตรัสรูดีแลวโดยชอบพระองคใด, ขาพเจาถึงแลววา
        ี                         
เปนที่พึ่งกําจัดภัยจริง, อิมินา สักกาเรนะ, ตัง ภะคะวันตัง, อะภิปูชะยามิ,
ขาพเจาบูชา, ซึ่งพระผูมีพระภาคนั้น, ดวยเครื่องสักการะอันนี้.
                         
       ยะมะหัง ส๎วากขาตัง, ธัมมัง สะระณัง คะโต, (หญิงวา คะตา)
พระธรรมที่พระผูมพระภาค, พระองคตรัสไวดีแลวสิ่งใด, ขาพเจาถึงแลววา
                    ี
เปนที่พึงกําจัดภัยจริง, อิมินา สักกาเรนะ, ตัง ธัมมัง, อะภิปูชะยามิ,
ขาพเจาบูชา, ซึ่งพระธรรมนัน, ดวยเครื่องสักการะอันนี้.
                              ้
      ยะมะหัง สุปะฏิบันนัง, สังฆัง สะระณัง คะโต (หญิงวา คะตา)
พระสงฆททานเปนผูปฏิบติดีแลวหมูใด, ขาพเจาถึงแลววา เปนที่พึ่งกําจัดภัยจริง,
           ่ี      ั
อิมินา สักกาเรนะ, ตัง สังฆัง, อะภิปูชะยามิ, ขาพเจาบูชา, ซึ่งพระสงฆหมูนั้น,
ดวยเครื่องสักการะอันนี้.

                    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,
                 พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
        ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
     สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ (กราบ)
             


                                   ๒๐
(ต อ จากนี้ ทํ า วั ต รเช า จบแล ว หั ว หน า อุ บ าสกหรื อ อุ บ าสิ ก าพึ ง คุ ก เข า
ประนมมือประกาศองคอุโบสถ ทั้งคําบาลีและคําไทย ดังนี้)
      อัชชะ โภนโต ปกขัสสะ อัฏฐะมีทวะโส (ถาวันพระ ๑๕ ค่ํา วา
                                     ิ
ปณณะระสีทวะโส ถา ๑๔ ค่ําวา จาตุททะสีทวะโส) เอวะรูโป โข โภนโต
             ิ                             ิ
ทิวะโส พุทเธนะ ภะคะวะตา ปญญัตตัสสะ ธัมมัสสะวะนัสสะ เจวะ
ตะทัตถายะ อุปาสะกะอุปาสิกานัง อุโปสะถัสสะ จะ กาโล โหติ หันทะ
มะยัง โภนโต สัพเพ อิธะ สะมาคะตา ตัสสะ ภะคะวะโต ธัมมานุธัมมะ
ปะฏิปตติยา ปูชะนัตถายะ อิมัญจะ รัตติง อิมัญจะ ทิวะสัง อัฏฐังคะ
สะมันนาคะตัง อุโปสะถัง อุปะวะสิสสามาติ กาละปะริจเฉทัง กัต๎วา
ตัง ตัง เวระมะณิง อารัมมะณัง กะริต๎วา อะวิกขิตตะจิตตา หุตวา  ๎
สักกัจจัง อุโปสะถัง สะมาทิเยยยามะ อีทสง หิ อุโปสะถัง สัมปตตานัง
                                       ิ ั
อัมหากัง ชีวิตง มา นิรัตถะกัง โหตุ ฯ
               ั

                                         คําแปล
        ขอประกาศเริ่มเรืองความที่จะสมาทานรักษาอุโบสถ อันพรอมไปดวย
                        ่
องคแปดประการ ใหสาธุชนทีไดตั้งจิตสมาทานทราบทั่วกันกอน แตสมาทาน
                               ่
ณ บัดนี้ ดวยวันนี้ เปนวันอัฏฐะมีดถทแปด (ถาวันพระ ๑๕ ค่ําวา วันปณณะ
                                    ิ ี ี่
ระสีดถทสบหา ถา ๑๔ ค่ําวา วันจาตุททะสีดถทสบสี) แหงปกษมาถึงแลว
      ิ ี ี่ ิ                                 ิ ี ี่ ิ ่
ก็แหละวันเชนนี้ เปนกาลทีสมเด็จพระผูมีพระภาคเจาทรงบัญญัตแตงตั้งไวให
                             ่                              ิ
ประชุมกันฟงธรรม และเปนกาลที่จะรักษาอุโบสถของอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลาย
เพื่อประโยชนแกการฟงธรรมนั้นดวย เชิญเถิดเราทั้งหลายทั้งปวง ที่ไดมา
ประชุมพรอมกัน ณ ที่นี้ พึงกําหนดกาลวาจะรักษาอุโบสถตลอดวันหนึ่งกับคืน
หนึ่งนี้ แลวพึงทําความเวนโทษนั้นๆเปนอารมณ คือ


                                             ๒๑
o เวนจากการฆาสัตว ๑
     o เวนจากลักฉอ, ถือเอาสิ่งของที่เจาของเขาไมให ๑
     o เวนจากประพฤติกรรมที่เปนขาศึกแกพรหมจรรย ๑
     o เวนจากเจรจาคําเท็จลอลวงผูอื่น ๑
     o เวนจากดื่มสุราเมรัยอันเปนเหตุท่ตั้งแหงความประมาท ๑
                                         ี
     o เวนจากบริโภคอาหาร ตั้งแตเวลาพระอาทิตยเที่ยงแลวไปจนถึงเวลา
       อรุณขึ้นมาใหม ๑
     o เวนจากฟอนรําขับรองและประโคมเครื่องดนตรีตางๆ แตบรรดาที่
       เปนขาศึกแกบุญกุศลทั้งสิ้น และทัดทรงประดับตกแตงรางกายดวย
       ดอกไมของหอม เครื่องประดับ เครื่องทาเครื่องยอม ผัดผิวทํากาย
       ใหวิจิตรงดงามตางๆ อันเปนเหตุที่ตั้งแหงความกําหนัดยินดี ๑
     o เวน จากการนั่ ง นอนเหนือ เตียงตั่ ง มา ที่มี เทา สูง เกิน ประมาณและ
       ที่นั่งที่นอนใหญ ภายในมีนุนและสําลี และเครื่องปูลาดที่วิจิตรดวย
       เงินและทองตางๆ ๑
    อยาใหมีจิตฟุงซานสงไปทีอื่น พึงสมาทานเอาองคอุโบสถทั้งแปดประการ
                               ่
โดยเคารพ เพื่อจะบูชาสมเด็จพระผูมีพระภาค พระพุทธเจานั้นดวยธรรมมานุ-
                                    
ธรรมะปฏิบติ อนึ่ง ชีวิตของเราทั้งหลาย ที่ไดเปนอยูรอดมาถึงวันอุโบสถเชนนี้
            ั
จงอยาไดลวงไปเสียเปลาจากประโยชนเลย

    (เมื่อหัวหนาประกาศจบแลว พระสงฆผแสดงธรรมขึ้นนั่งบนธรรมาสน
                                            ู
             อุบาสก อุบาสิกา พึงนั่งคุกเขากราบพรอมกัน ๓ ครั้ง
              แลวกลาวคําอาราธนาอุโบสถศีลพรอมกัน วาดังนี้)




                                 ๒๒
มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ,
                อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ
                                 (วา ๓ จบ)
               ตอนี้ คอยตั้งใจรับสรณคมนและศีลโดยเคารพ
            คือ ประนมมือวาตามคําที่พระสงฆบอกเปนตอนๆ วา
      นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ)
                                พุทธัง    สะระณัง   คัจฉามิ,
                                ธัมมัง    สะระณัง   คัจฉามิ,
                                สังฆัง    สะระณัง   คัจฉามิ,
               ทุติยมป พุทธัง
                      ั                   สะระณัง   คัจฉามิ,
               ทุติยมป ธัมมัง
                    ั                     สะระณัง   คัจฉามิ,
               ทุติยมป สังฆัง
                        ั                 สะระณัง   คัจฉามิ,
               ตะติยมป พุทธัง
                            ั             สะระณัง   คัจฉามิ,
               ตะติยมป ธัมมัง
                          ั               สะระณัง   คัจฉามิ,
               ตะติยมป สังฆังั           สะระณัง   คัจฉามิ,
             เมื่อพระสงฆวา ติสะระณะคะมะนัง นิฏฐิตง
                                                   ั
                   พึงรับพรอมกันวา อามะ ภันเต
๑.   ปาณาติปาตา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
๒.   อะทินนาทานา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
๓.   อะพ๎รหมะจะริยา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
           ั ๎
๔.   มุสาวาทา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
๕.   สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
๖.   วิกาละโภชะนา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,

                                         ๒๓
๗. นัจจะคีตะวาทิตะ วิสกะทัสสะนะ, มาลาคันธะ วิเลปะนะ, ธาระณะ
                      ู
   มัณฑะนะ วิภสะนัฏฐานา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
                 ู
๘. อุจจาสะยะนะ มะหาสะยะนา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.

      อิมง, อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง, พุทธะปญญัตตัง, อุโปสะถัง,
         ั
อิมญจะ รัตติง, อิมญจะ ทิวะสัง, สัมมะเทวะ, อะภิรกขิตุง, สะมาทิยามิ.
   ั              ั                            ั
  ขาพเจาขอสมาทาน, ซึ่งอุโบสถศีล, อันประกอบไปดวยองคแปดประการ,
       เพื่อจะรักษาไวใหด, มิใหขาด, มิใหทําลาย, มิใหดางพรอย,
                          ี                              
                   ตลอดวันหนึ่งและคืนหนึ่ง, ในเวลานี้
                         (หยุดรับเพียงเทานี)
                                            ้
                        ตอนนี้ พระสงฆจะวา
            อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ อุโปสะถะวะเสนะ
         มะนะสิกะริตวา สาธุกง อัปปะมาเทนะ รักขิตพพานิ
                    ๎       ั                   ั
                         (พึงรับพรอมกันวา)
                            อามะ ภันเต
                           (พระสงฆวาตอ)
          สีเลนะ สุคะติง ยันติ,        สีเลนะ โภคะสัมปะทา,
          สีเลนะ นิพพุตง ยันติ,
                        ิ              ตัสมา สีลง วิโสธะเย.
                                           ๎    ั
    พึงกราบพรอมกัน ๓ ครั้ง ตอนี้นั่งราบพับเพียบ ประนมมือฟงธรรม
        เมื่อจบแลวพึงใหสาธุการและสวดประกาศตนพรอมกัน ดังนี้
                          สาธุ สาธุ สาธุ

                              ๒๔
อะหัง พุทธัญจะ ธัมมัญจะ สังฆัญจะ สะระณัง คะโต (หญิงวา คะตา)
อุปาสะกัตตัง (หญิงวา อุปาสิกตตัง) เทเสสิง ภิกขุสงฆัสสะ สัมมุขา
                             ั                   ั

          เอตัง เม สะระณัง เขมัง        เอตัง สะระณะมุตตะมัง
          เอตัง สะระณะมาคัมมะ           สัพพะทุกขา ปะมุจจะเย
          ยะถาพะลัง จะเรยยาหัง          สัมมาสัมพุทธะสาสะนัง

ทุกขะนิสสะระณัสเสวะ ภาคี อัสสัง (หญิงวา ภาคินสสัง) อะนาคะเตฯ
                                              ิ

                กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา
                พุทเธ กุกมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง
                         ั
                พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง
                กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ ฯ
                กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา
                ธัมเม กุกมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง
                         ั
                ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง
                กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม ฯ
                กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา
                สังเฆ กุกมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง
                         ั
                สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง
                กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ ฯ




                                   ๒๕
คติกรรมฐาน
กินน้อย นอนน้อย พูดน้อย ทําความเพียรมาก
    พระธรรมสิงหบุราจารย (หลวงพอจรัญ ตธมฺโม)
              วัดอัมพวัน จังหวัดสิงหบุรี




                    ๒๖
พิธีสมาทานกรรมฐาน




        ๒๗
เมื่อพระคุณเจาผูเปนประธานฝายสงฆมาถึง ผูปฏิบัติธรรมนั่งคุกเขา
ประนมมือ ผูเปนประธาน ฯ กราบพระนั่งลง ผูปฏิบัติธรรมกราบ ๓ ครั้ง
พรอมเพรียงกัน
       ตั ว แทนผู ป ฏิ บั ติ ธ รรมจุ ด เที ย นธู ป ผู ป ฏิ บั ติ ธ รรมกล า วคํ า บู ช าพระ
กราบพระ อาราธนาศีล สมาทานศีล เมื่อสมาทานศีลเสร็จแลว ตอไปพึง
ตั้งใจสมาทานพระกรรมฐาน


                         สมาทานพระกรรมฐาน

         นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
                       (วา ๓ จบ) พรอมกัน
                     ตอไปพึงวาตามผูนํา ดังนี้

อิมาหัง ภะคะวา, อัตตะภาวัง, ตุม๎หากัง, ปะริจจะชามิ,
     ขาแตองคสมเด็จพระผูมีพระภาคเจา, ขาพเจาขอมอบกายถวายชีวิต,
                            
     ตอพระรัตนตรัย, คือพระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ
อิมาหัง อาจะริยะ, อัตตะภาวัง, ตุม๎หากัง, ปะริจจะชามิ,
     ขาแตพระอาจารยผูเจริญ, ขาพเจาขอมอบกายถวายตัว,
     ตอครูบาอาจารย, เพื่อเจริญวิปสสนากรรมฐาน
นิพพานัสสะ, เม ภันเต, สัจฉิกะระณัตถายะ, กัมมัฏฐานังเทหิ,
     ขาแตทานผูเจริญ, ขอทานจงใหกรรมฐานแกขาพเจา,
             
     เพื่อทําใหแจง, ซึ่งมรรคผลนิพพานตอไป


                                         ๒๘
อะหัง สุขโต โหมิ,
            ิ
      ขอใหขาพเจาถึงสุข, ปราศจากทุกข, ไมมีเวร, ไมมภัย, ไมมีความ-
                                                          ี
      ลําบาก, ไมมีความเดือดรอน, ขอใหมความสุข, รักษาตนอยูเถิด
                                              ี
สัพเพ สัตตา, สุขิตา โหนตุ,
      ขอใหสัตวทั้งหลายทุกตัวตน, ตลอดเทพบุตร, เทพธิดาทุกพระองค,
      พระภิกษุ, สามเณร, และผูปฏิบติธรรมทุกทาน,
                                     ั
      ขอทานจงมีความสุข, รักษาตนอยูเถิด
อัทธุวัง เม ชีวิตตัง,
      ชีวิตของเราไมแนนอน, ความตายของเราแนนอน, เราตองตายแน,
      เพราะชีวิตของเรา, มีความตายเปนที่สุด, นับวาเปนโชคอันดีแลว,
      ที่เราไดเขามาปฏิบติ, วิปสสนากรรมฐาน, ณ โอกาสบัดนี,
                          ั                                   ้
      ไมเสียทีทไดเกิดมา, พบพระพุทธศาสนา
                  ี่
เยเนวะ ยันติ, นิพพานัง,
      พระพุทธเจา, และพระอรหันตสาวก, ไดดําเนินไปสูพระนิพพาน,
                                                            
      ดวยหนทางเสนนี้, ขาพเจาขอตั้งสัจจะอธิษฐาน, ปฏิญาณตน,
      ตอพระรัตนตรัย, และครูบาอาจารยวา, ตั้งแตนตอไป,
                                                       ี้
      ขาพเจาจะตั้งอกตั้งใจ, ประพฤติและปฏิบัต, เพือใหบรรลุมรรคผล,
                                                ิ ่
      ดําเนินรอยตามพระองคทาน
อิมายะ, ธัมมานุธมมะ, ปะฏิปตติยา, ระตะนัตตะยัง, ปูเชมิ,
                     ั
      ขาพเจาขอบูชาพระรัตนตรัย, ดวยการปฏิบติธรรม,
                                                 ั
      สมควรแกมรรคผลนิพพานนี้, ดวยสัจจะวาจา, ที่กลาวอางมานี้,
      ขอใหขาพเจาไดบรรลุ, มรรคผลนิพพานดวยเทอญ ฯ
              สวดพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ
                      (จบแลวกราบ ๓ ครั้ง)

                                   ๒๙
ผูแทนนําเครื่องสักการะเขาไปถวายพระผูเปนอาจารย เสร็จแลว
                    กราบ ๓ ครั้ง พรอมกัน
      นั่งพับเพียบประนมมือ ฟงโอวาทจากพระอาจารย...




                          ๓๐
บทสวดมนต์ทาวัตรเช้า
          ํ




        ๓๑
เมื่อประธานจุดเทียน ธูป พึงพรอมกันนั่งคุกเขาประนมมือ
                     คําบูชาพระรัตนตรัย

(นํา) โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
(รับ) พระผูมพระภาคเจา พระองคใด, เปนพระอรหันตสัมมาสัมพุทธะ,
             ี
ส๎วากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม.
   พระธรรมอันพระผูมพระภาคเจา พระองคใด, ตรัสสอนดีแลว,
                      ี
สุปะฏิปนโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
   พระสงฆสาวกของพระผูมพระภาคเจา พระองคใด, ปฏิบัติดีแลว
                           ี
ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง,
    ขาพเจาทั้งหลาย, ขอบูชาอยางยิ่ง, ซึ่งพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น,
                                                
    พรอมดวยพระธรรม, พรอมดวยพระสงฆ,
อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปเตหิ อะภิปูชะยามะ,
   ดวยเครื่องสักการะเหลานี, ที่ยกขึ้นแลวตามสมควร,
                             ้
สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตป,
   พระผูมพระภาคเจา, แมปรินพพานนานแลว, ขอไดทรงกรุณาโปรดเถิด,
          ี                    ิ
ปจฉิมา ชะนะตานุกัมปะมานะสา,
   ขอไดมน้ําพระทัย, อนุเคราะหแกหมูชนที่เกิดมาในภายหลัง,
            ี
อิเม สักกาเร ทุคคะตะปณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ,
   ขอจงทรงรับเครืองสักการะทั้งหลายเหลานี, อันเปนบรรณาการของคนยาก,
                   ่                        ้
อัมหากัง ฑีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ,
    เพื่อประโยชนและความสุข, แกพวกขาพเจาทั้งหลาย, สิ้นกาลนานเทอญฯ


                                ๓๒
อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ ภะคะวา,
      พระผูมีพระภาคเจา, เปนพระอรหันต, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกขสิ้นเชิง,
             
      ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง,
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ,
      ขาพเจาอภิวาทพระผูมพระภาคเจา, ผูร, ผูตื่น, ผูเบิกบาน (กราบ)
                           ี               ู
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
      พระธรรมเปนธรรมที่พระผูมพระภาคเจา, ตรัสไวดีแลว,
                                 ี
ธัมมัง นะมัสสามิ,
      ขาพเจานมัสการพระธรรม (กราบ)
สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
      พระสงฆสาวกของพระผูมพระภาคเจา, ปฏิบัติดแลว,
                              ี                       ี
สังฆัง นะมามิ,
      ขาพเจานอบนอมพระสงฆ (กราบ)


                       ปุพพะภาคะนะมะการ
(หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส.)

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจา, พระองคนั้น,
                                         
อะระหะโต,            เปนผูไกลจากกิเลส,
สัมมาสัมพุทธัสสะ,    ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง,
                               (วา ๓ ครั้ง)



                                    ๓๓
พุทธาภิถุติง
              (หันทะ มะยัง พุทธาภิถุตง กะโรมะ เส.)
                                     ิ

โย โส ตะถาคะโต,                 พระตถาคตเจานั้นพระองคใด,
อะระหัง,                        เปนผูไกลจากกิเลส,
สัมมาสัมพุทโธ,                  เปนผูตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง,
วิชชาจะระณะสัมปนโน, เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ,
สุคะโต,                         เปนผูไปแลวดวยดี,
โลกะวิท,ู                       เปนผูรูโลกอยางแจมแจง,
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,
     เปนผูสามารถฝกบุรุษที่สมควรฝกได, อยางไมมีใครยิ่งกวา,
สัตถา เทวะมะนุสสานัง,
     เปนครูผูสอนของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย,
พุทโธ,                 เปนผูรู, ผูตื่น, ผูเบิกบานดวยธรรม,
ภะคะวา,                เปนผูมีความจําเริญ, จําแนกธรรมสั่งสอนสัตว,
โย อิมง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพ๎รัห๎มะกัง, สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิง
       ั
ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัต๎วา ปะเวเทสิ,
     พระผูมีพระภาคเจาพระองคใด, ไดทรงทําความดับทุกขใหแจง,
     ดวยพระปญญาอันยิ่งเองแลว, ทรงสอนโลกนี้, พรอมทั้งเทวดา,
     มาร, พรหม, และหมูสตว, พรอมทั้งสมณะพราหมณ,
                              ั
     พรอมทั้งเทวดาและมนุษยใหรูตาม

                              ๓๔
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทTheeraphisith Candasaro
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุPadvee Academy
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลChavalit Deeudomwongsa
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานOnpa Akaradech
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์Gawewat Dechaapinun
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์Proud N. Boonrak
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 

Mais procurados (20)

กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
 
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdfสรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdfแบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 

Destaque

บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
บทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวันบทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวันPanda Jing
 
Ebooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีEbooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีRose Banioki
 
บทแผ่เมตตาหลังสมาธิ
บทแผ่เมตตาหลังสมาธิบทแผ่เมตตาหลังสมาธิ
บทแผ่เมตตาหลังสมาธิPojjanee Paniangvait
 
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาท
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาทอีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาท
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาทPanda Jing
 
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลยแบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลยRuangrat Watthanasaowalak
 

Destaque (6)

บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
บทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวันบทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวัน
 
Ebooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีEbooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธี
 
บทแผ่เมตตาหลังสมาธิ
บทแผ่เมตตาหลังสมาธิบทแผ่เมตตาหลังสมาธิ
บทแผ่เมตตาหลังสมาธิ
 
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาท
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาทอีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาท
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาท
 
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลยแบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
 

Semelhante a คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย

สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)Ballista Pg
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีTongsamut vorasan
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญสวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้Tongsamut vorasan
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวRachabodin Suwannakanthi
 
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016Watpadhammaratana Pittsburgh
 
กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)Tongsamut vorasan
 
พระสีวลี
พระสีวลีพระสีวลี
พระสีวลีkannika2264
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวKaiwan Hongladaromp
 

Semelhante a คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย (20)

200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
tes
testes
tes
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญสวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
 
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
 
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
 
กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)
 
พระสีวลี
พระสีวลีพระสีวลี
พระสีวลี
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้งแผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
 
มนต์พิธี
มนต์พิธีมนต์พิธี
มนต์พิธี
 
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
 

Mais de Sarod Paichayonrittha

พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร What did the buddha teach
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  What did the buddha teachพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  What did the buddha teach
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร What did the buddha teachSarod Paichayonrittha
 
สูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุ
สูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุสูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุ
สูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุSarod Paichayonrittha
 
อานาปานสติสูตร
อานาปานสติสูตรอานาปานสติสูตร
อานาปานสติสูตรSarod Paichayonrittha
 
Ukti marketing brief make it happens -jan2014
Ukti marketing brief  make it happens  -jan2014Ukti marketing brief  make it happens  -jan2014
Ukti marketing brief make it happens -jan2014Sarod Paichayonrittha
 
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณรำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณSarod Paichayonrittha
 
Led lighting outdoor design challenge dec2013
Led lighting outdoor design challenge dec2013Led lighting outdoor design challenge dec2013
Led lighting outdoor design challenge dec2013Sarod Paichayonrittha
 
Kwater investor presentation oct2013
Kwater investor presentation oct2013Kwater investor presentation oct2013
Kwater investor presentation oct2013Sarod Paichayonrittha
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรSarod Paichayonrittha
 
Handbook malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011
Handbook   malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011Handbook   malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011
Handbook malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011Sarod Paichayonrittha
 
รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554
รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554
รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554Sarod Paichayonrittha
 
ตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวู
ตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวูตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวู
ตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวูSarod Paichayonrittha
 
The ultimatum of god nature the one straw revolution -a recapitulation-1996
The ultimatum of god nature the one straw revolution  -a recapitulation-1996The ultimatum of god nature the one straw revolution  -a recapitulation-1996
The ultimatum of god nature the one straw revolution -a recapitulation-1996Sarod Paichayonrittha
 
Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012
Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012 Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012
Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012 Sarod Paichayonrittha
 
หลักการเขียนลายเซ็น
หลักการเขียนลายเซ็นหลักการเขียนลายเซ็น
หลักการเขียนลายเซ็นSarod Paichayonrittha
 
ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013
ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013
ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013Sarod Paichayonrittha
 
Feed in tariff malaysia brochure 2012
Feed in tariff malaysia brochure 2012Feed in tariff malaysia brochure 2012
Feed in tariff malaysia brochure 2012Sarod Paichayonrittha
 

Mais de Sarod Paichayonrittha (20)

พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร What did the buddha teach
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  What did the buddha teachพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  What did the buddha teach
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร What did the buddha teach
 
สูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุ
สูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุสูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุ
สูตรของเว่ยหลาง โดย พุทธทาสภิกขุ
 
อานาปานสติสูตร
อานาปานสติสูตรอานาปานสติสูตร
อานาปานสติสูตร
 
Ukti marketing brief make it happens -jan2014
Ukti marketing brief  make it happens  -jan2014Ukti marketing brief  make it happens  -jan2014
Ukti marketing brief make it happens -jan2014
 
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณรำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
รำลึกวันวาน ปกิณกธรรม หลวงปู่มั่น_ภูริทัตโต_โดยหลวงตาทองคำ_จารุวัณโณ
 
The new scada jun2014
The new scada jun2014 The new scada jun2014
The new scada jun2014
 
Led lighting outdoor design challenge dec2013
Led lighting outdoor design challenge dec2013Led lighting outdoor design challenge dec2013
Led lighting outdoor design challenge dec2013
 
Kwater investor presentation oct2013
Kwater investor presentation oct2013Kwater investor presentation oct2013
Kwater investor presentation oct2013
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
 
Oil and gas thailand 2011 v f
Oil and gas thailand 2011 v fOil and gas thailand 2011 v f
Oil and gas thailand 2011 v f
 
Handbook malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011
Handbook   malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011Handbook   malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011
Handbook malaysian fi t feed-in-tariff renewable energy mar2011
 
รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554
รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554
รายงานประเมินผลไทยเข้มแข็ง มีค2554
 
ตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวู
ตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวูตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวู
ตำราพิชัยสงครามสิบสามบท ของซุนวู
 
The ultimatum of god nature the one straw revolution -a recapitulation-1996
The ultimatum of god nature the one straw revolution  -a recapitulation-1996The ultimatum of god nature the one straw revolution  -a recapitulation-1996
The ultimatum of god nature the one straw revolution -a recapitulation-1996
 
ABB DC Circuit Breakers Catalog
ABB DC Circuit Breakers CatalogABB DC Circuit Breakers Catalog
ABB DC Circuit Breakers Catalog
 
Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012
Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012 Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012
Led Lighting SSL Road Map US.DOE aug2012
 
หลักการเขียนลายเซ็น
หลักการเขียนลายเซ็นหลักการเขียนลายเซ็น
หลักการเขียนลายเซ็น
 
ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013
ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013
ISA Effective Use of PID Controllers 3-7-2013
 
China bullet train population 2013
China bullet train population 2013China bullet train population 2013
China bullet train population 2013
 
Feed in tariff malaysia brochure 2012
Feed in tariff malaysia brochure 2012Feed in tariff malaysia brochure 2012
Feed in tariff malaysia brochure 2012
 

คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย

  • 1.
  • 2. คู่มือทําวัตรเช้า-เย็น เมตตาพรหมวิหารภาวนา ประธานกิตติมศักดิ์ : พระครูวุฒิวชิรสาร รวบรวมเรียบเรียง : พระสายัณห ติกฺขปฺโ ถ่ายภาพ : ธีรวุฒิ รุจิมตริ ออกแบบปก : พระสายัณห ติกฺขปฺโ, ธีรวุฒิ รุจิมิตร ออกแบบรูปเล่ม : พระสายัณห ติกฺขปฺโ, อรรถนิติ ลาภากรณ, ปริญญา หิรณยฐิติมา, เพียรพร พรหมโชติ ั กราฟฟิก : ธีรวุฒิ รุจิมตร, อรรถนิติ ลาภากรณ, ปริญญา หิรัณยฐิติมา ิ จัดรูปเล่ม : เพียรพร พรหมโชติ, วุฒิพงษ อัชฌากรลักษณ พิมพ์ครั้งที่ ๑ : กุมภาพันธ ๒๕๕๓ จํานวน ๒,๐๐๐ เลม ผู้จัดพิมพ์ : พระสายัณห ติกฺขปฺโ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data. วัดศรีโยธิน. คู่มือทําวัตรเช้า-เย็น วัดศรีโยธิน.-- กําแพงเพชร : วัดศรีโยธิน, 2553. 208 หน้า. 1. บทสวดมนต์. 2. วัดศรีโยธิน. I. ชื่อเรื่อง. 294.313 ISBN : 978-974-401- 392-7 กองบรรณาธิการ : พระสายัณห ติกฺขปฺโ พิมพ์ท่ี : อุษาการพิมพ กรุงเทพฯ โทร. ๐๒-๖๕๖-๓๔๗๐
  • 3. หนังสือสวดมนตทําวัตรแปลเลมนี้ ไดรับความอนุเคราะหจากทานพระอาจารย สายัณห ติกฺขปฺโญ เปนผูตรวจสอบทุกขั้นตอนมาโดยตลอด จึงเปนหนังสือเลมหนึ่งที่ ถูกตองสมบูรณ ในการสวดมนตทําวัตรเปนหนาที่ของชาวพุทธผูนับถือพระพุทธศาสนาทุก ๆ คน พึง มีไวเพื่อเปนบรรทัดฐาน ทานพระอาจารยฯ จึงมาปรึกษากับอาตมา อาตมาเห็นชอบดวย จึงมอบ ภาระใหทานจัดการหาทุนทรัพยในการจัดพิมพในครั้งนี้และอาตมาไดอาราธนา นิมนตทาน ฯ มาอบรมสอนวิปสสนากัมมัฏฐานดวย เพื่อเผยแผพระพุทธศาสนานําคําสอน ของพระพุทธเจามา แนะแนวใหญาติโยมไดเขาใจ พรอมกันนี้ ญาติโยมก็ไดบริจาคทรัพย เพื่อสมทบทุนในการจัดพิมพครั้งนี้เปนธรรม ทาน ดังคําพุทธภาษิตที่วา “ธรรมะทานัง ชินาติ” การใหธรรมะเปนทาน จึงมีอานิสงส มากกวาการใหทานทั้งปวง อาตมาขอขอบคุณและขออนุโมทนาในสวนธรรมทานนี้โดยทั่วกัน ขอใหญาติโยมจง มีความสุขความเจริญ ดวยจตุรพิธพรชัย อันมีอายุ วรรณะ สุขะ พละ ปฏิภาณธนสาร สมบัตตลอดกาลนาน...เทอญฯ ิ ขอเจริ ญ พร พระครูวฒวชิรสาร ุ ิ (หลวงพอทํานอง คุณงฺกโร) เจาอาวาสวัดศรีโยธิน
  • 4. ส า ร บั ญ เกี่ยวกับวัดศรีโยธิน ๑ ประวัติ วัดศรีโยธิน ๒ ประวัติ หลวงปู่ศรีสรรเพชญ์ ๕ ระเบียบปฏิบัติสําหรับผู้ปฏิบัติธรรม ๑๑ ระเบียบปฏิบัติของผู้ที่เข้ามาปฏิบัติธรรม ณ วัดศรีโยธิน ๑๒ กําหนดเวลาการปฏิบติธรรม ๑๔ ั การอาราธนาศีล และสมาทานศีล ๑๕ คําบูชาพระรัตนตรัย ๑๖ คําอาราธนาศีลห้า ๑๗ คําอาราธนาศีลแปด ๑๗ ไตรสรณคมน์ ๑๘ คําสมาทานศีล ๑๙ พิธีรักษาอุโบสถศีล ๒๐ พิธีสมาทานกรรมฐาน ๒๗
  • 5. บทสวดมนต์ทําวัตรเช้า (แปล) ๓๑ คําบูชาพระรัตนตรัย ๓๒ ปุพพะภาคะนะมะการ ๓๓ พุทธาภิถุติง ๓๔ ธัมมาภิถุติง ๓๖ สังฆาภิถุติง ๓๗ ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถา ๓๙ สังเวคะปริกิตตะนะปาฐะ ๔๐ ทวัตติงสาการะปาฐะ ๔๖ บทพิจารณาสังขาร ๔๘ สัจจะกิรยะคาถา ๕๐ ิ นมัสการพระอรหันต์ ๘ ทิศ ๕๑ ตังขณิกปัจจะเวกขณปาฐะ ๕๒ ธาตุปฏิกูลปัจจเวกขณปาฐะ ๕๕ วันทามิ ๕๙ กรวดน้ําตอนเช้า ๖๐ สัพพปัตติทานคาถา ๖๐ ปัตติทานคาถา ๖๑ กราบพระ ๖๔
  • 6. บทสวดมนต์ทําวัตรเย็น (แปล) ๖๕ คําบูชาพระรัตนตรัย ๖๖ ปุพพะภาคะนะมะการ ๖๗ พุทธานุสสติ ๖๘ พุทธาภิคีติง ๖๙ ธัมมานุสสติ ๗๒ ธัมมาภิคีติง ๗๓ สังฆานุสสติ ๗๕ สังฆาภิคีติง ๗๖ บทสวดมนต์พิเศษ ๗๙ ปุพพะภาคะนะมะการ ๘๐ สรณคมนปาฐะ ๘๐ อัฏฐสิกขาปทปาฐะ ๘๑ เขมาเขมสรณทีปิกคาถา ๘๓ อริยธนคาถา ๘๔ ติลักขณาทิคาถา ๘๔ ภารสุตคาถา ๘๖ ภัทเทกรัตตคาถา ๘๗ ธัมมคารวาทิคาถา ๘๘ โอวาทปาฏิโมกขคาถา ๘๙ ปฐมพุทธภาสิตคาถา ๙๑ ปัจฉิมพุทโธวาทปาฐะ ๙๒
  • 7. อภิณหะปัจจะเวกขะณะปาฐะ ๙๓ ปราภวสุตตปาฐะ ๙๕ สีลุทเทสปาฐะ ๙๘ อริยมรรคมีองค์แปด ๑๐๐ อตีตปัจจเวกขณปาฐะ ๑๐๙ กรวดน้ําตอนเย็น ๑๑๒ อุททิสสนาธิฏฐานคาถา ๑๑๒ กราบพระ ๑๑๔ บทสวดมนต์วันพระ ๑๑๕ บทถวายพรพระ ๑๑๖ สวดพระพุทธคุณ ๑๐๘ จบ ๑๒๐ เมตตาพรหมะวิหารภาวนา (มหาเมตตาใหญ่) ๑๒๐ บารมี ๓๐ ทัศน์ ๑๓๖ คําถวายกุศลแด่พระธรรมสิงหบุราจารย์ ๑๓๙ คําถวายพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ ๑๓๙ บทแผ่เมตตา ๑๔๐ บทอุทิศส่วนกุศล ๑๔๐ กรวดน้ําตอนเย็น ๑๔๒ อุททิสสนาธิฏฐานคาถา ๑๔๒ กราบพระ ๑๔๔
  • 8. บทสวดมนต์วันอาทิตย์ ๑๔๕ ชุมนุมเทวดา ๑๔๖ บทขัดธัมมะจักกัปปะวัตตนะสูตร ๑๕๑ บทธัมมะจักกัปปะวัตตะนะสุตตัง ๑๕๑ คาถาโพธิบาท ๑๕๙ คาถาสวดนพเคราะห์ ๑๖๐ คาถาบูชาดวงชาตา ๑๖๑ คาถามงคลจักรวาฬแปดทิศ ๑๖๑ อุณหิสสะวิชะยะคาถา ๑๖๒ พระคาถาชินบัญชร ๑๖๓ เทวะตาอุยโยชะนะคาถา ๑๖๖ บทสรรเสริญคุณพระรัตนตรัย (ทํานองสรภัญญะ) ๑๖๗ คําไหว้พระบรมสารีริกธาตุ ๑๗๐ คําอธิษฐานสักการะพระบรมสารีริกธาตุ ๑๗๐ คําบูชาพระบรมสารีริกธาตุ ๑๗๑ กราบพระ ๕ ครั้ง ๑๗๒
  • 9. พิธีลากรรมฐาน ๑๗๓ คําอาราธนาพระปริตร ๑๗๖ คําอาราธนาธรรม ๑๗๗ คําถวายสังฆทาน (ประเภทสามัญ) ๑๗๗ คําถวายสังฆทาน (ประเภทอุทิศให้ผู้ล่วงลับไปแล้ว) ๑๗๘ คําอปโลกน์สังฆทาน ๑๗๙ คําถวายข้าวพระพุทธ ๑๘๐ คําลาข้าวพระพุทธ ๑๘๐ คําถวายผ้าป่า (ผ้าบังสุกุลจีวร) ๑๘๑ คําถวายพระพุทธรูป ๑๘๒ คําถวายเทียนพรรษา ๑๘๒ คําถวายผ้าอาบน้ําฝน ๑๘๓ คําถวายทานทั่วไป ๑๘๓ คําสาธุการเมื่อพระเทศน์จบ ๑๘๔ คําแสดงตนเป็นพุทธมามกะ ๑๘๖ คําลาพระกลับบ้าน ๑๘๗ รายนามผู้ร่วมบริจาคพิมพ์หนังสือสวดมนต์ ท้ายเล่ม
  • 10. วิธีอานภาษาบาลี  ทุกแหงที่มเครื่องหมาย ๎ อักษรตัวนั้นตองวาใหเร็ว เพราะอักษรตัวนั้น เปนตัวสะกดกึ่งเสียง ี ตัวอยาง คําวา “สุตวา” อักษร ต ออกเสียง ตะ กึ่งหนึ่ง ฉะนั้น ตองออกเสียงเร็วประมาณ ๎ ครึ่งเสียง ถาวาชา จะออกเสียงเปน ต สองตัว เปนการอานผิด
  • 12. ประวัตวัดศรีโยธิน ิ ที่ตั้งของวัด ตั้งอยูที่หมูที่ ๗ ตําบลหนองปลิง อําเภอเมือง จังหวัดกําแพงเพชร ตั้งอยูหางจากศาลากลางจังหวัดหลังเกาหรือสี่แยกตนโพธิ์ประมาณ ๓ กิโลเมตร สภาพ พื้นดินเปนดินลูกรัง มีปาไมขึ้นอยูเปนสภาพปาโปรง  บางพื้ น ที่ เ ป น พื้ น ที่ ทํ า ไร เ ลื่ อ นลอยไม ถ าวร เนื่ อ งจากสภาพดิ น เป น ดิ น ลู ก รั ง ผลผลิตไมไดผล การคมนาคมเดิมเปนถนนลูกรังจากกําแพงเพชรผานไปอําเภอพราน กระตาย จังหวัดกําแพงเพชร การคมนาคมยังไมสะดวกประชาชนยังไมนิยมเขาไป ประกอบอาชีพ เนื่องจากสภาพพื้นดินไมอํานวยตอการประกอบการเกษตร ประชาชน สวนใหญพักอาศัยอยูในเมือง ยังไมมีหมูบานอยูอาศัยเปนหลักแหลง และยังมีโจร ผูรายสรางความเดือดรอนอยูเนืองๆ จึงทําใหเปนพื้นที่รกรางและวางเปลา  ต อ มา ร.อ.ทํ า นอง โยธิ น ธนสมบั ติ เป นผู ม องเห็ น การณ ไ กล เนื่ อ งจากเป น ขาราชการรับราชการมานาน เห็ น ว า ต อ ไปในอนาคตข า งหน า จะต อ งมี ค วามเจริ ญ จึ ง ได ซื้ อ ที่ ดิ น จากเจ า ของเดิม ทําการปลูกมะมวง มะขามหวาน เพื่อเปนตัวอยางแกชาวไร แลวทําการตัด ถนนแยกจากถนนสายกําแพงเพชร-พรานกระตาย ไปทางทิศตะวันออก จัดสรรที่ดิน เปนแปลงสําหรับที่อยูอาศัยแบงขายในราคาถูก ผูใดยากจนไมมีเงิน ก็ยกใหอยูอาศัย โดยไม คิ ด มู ล ค า ก็ มี ทั้ ง นี้ เพื่ อ ต อ งการให ป ระชาชนเข า มาอยู อ าศั ย และขอจั ด ตั้ ง หมูบานขึ้น โดยตั้งชื่อหมูบานวา “หมูบานศรีโยธิน” โดยใชชื่อนามสกุลตัวหนาของตน เปนชื่อหมูบานจึงถึงปจจุบันนี้ พ.ศ. ๒๕๒๐ ร.อ.ทํ า นอง เห็ นว า มี ป ระชากรเข า มาอยู อ าศั ย พอสมควรแล ว จึงคิดที่จะสรางวัดใหประชาชนไดทําบุญสรางกุศล ประกอบกับที่ตนเองมีจิตศรัทธา เลื่ อ มใสในพระพุ ท ธศาสนาและเคยสร า งวั ด มาก อ นจึ ง ได ย กที่ ดิ น ของตนเอง จํานวน ๓๐ ไร เพื่อทําการสรางวัดขึ้น พอที่คณะสงฆพาประชาชาชนประกอบศาสนกิจ ไดและนิมนตพระมาจําพรรษาและเปลี่ยนหมุนเวียนไป พ.ศ. ๒๕๓๐ เริ่มดําเนินการกอสรางวิหารหลวงปูพระศรีสรรเพชญ ฯ ซึ่งเปน ๒
  • 13. พระพุทธรูปเกาแก เปนเนื้อศิลาแลง สรางขึ้นในสมัยสุโขทัยตอนตน อายุประมาณ ๑,๐๐๐ ป โดย ร.อ.ทํานอง เปนผูสละทรัพยของตนเอง เพื่อสรางจนหมดถึงขนาดตอง เอาหลักฐานที่ดินเปนหลักทรัพยค้ําประกันเงินกูเพื่อมาสรางวัด ตอมาไดญาติ พี่นอง และผูมีจิตศรัทธารวมสรางทั้งจากกรุงเทพฯ สมุทรปราการ ชลบุรี กําแพงเพชร และ จั ง หวั ด อื่ น ๆ มากมายที่ จ ะกล า วถึ ง ได ม าร ว มกั น บริ จ าคทรั พ ย ส มทบทุ น สร า ง โดยจํ าลองแบบใหค ลา ยกับวัดพระพุทธชิ นราชที่ จั งหวัด พิษณุโลก เพื่อให เกิด ขึ้นใน จังหวัดกําแพงเพชรจนสําเร็จ ดังที่ปรากฏอยูในปจจุบัน พ.ศ. ๒๕๓๘ ร.อ.ทํานอง ผูไดลงทุนลงแรงและตั้งใจอยางแรงกลาที่จะสรางวัด ให สํ า เร็ จ จงได เห็ น ว า การพั ฒ นาวั ด ดํ า เนิ น ไปอย า งล า ช า จึ ง ตั ด สิ น ใจอุ ป สมบท (หลวงพอทํานอง คุณงฺกโร) เพื่อสะดวกในการสรางวัดและเผยแผพระศาสนาอยางเต็ม กําลังและไดนําทรัพยสินสวนตัวมาพัฒนาวัด พรอมกันนี้ก็มุงเผยแผหลักธรรมคําสอน ของพระพุทธเจาสูประชาชน เพื่อใหรูจักการดําเนินชีวิตที่ดี รูจักใชหลักธรรมในการ แกปญหาชีวิต ปจจุบัน วัดศรีโยธิน ตั้งอยูกึ่งกลางระหวางศูนยราชการจังหวัดกําแพงเพชรกับ หมูบานศรีโยธิน ในอนาคตประชาชนและชุมชนจะสรางบานเรือนหนาแนนเพิ่มขึ้นอยาง แน น อน มี ถ นนลาดยางสายกํ า แพงเพชร-สุ โ ขทั ย แยกเข า วั ด ศรี โ ยธิ น ได ส ะดวก จึงมีความจําเปนที่จะตองพัฒนาวัดใหทันตอความเจริญที่กําลังเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว ทาง คณะสงฆจังหวัดกําแพงเพชรจึงแตงตั้งให วัดศรีโยธิน เปนวัดวิปสสนากรรมฐานประจํา จังหวัด แตทั้งนี้ ทางวัดยังขาดศาสนสถานที่จําเปนหลายอยาง ไดแก ศาลาการเปรียญ จํานวน ๑ หลัง เพื่อประกอบศาสนกิจและการประชุมอบรมของสวนราชการตางๆ และ การปฏิบัติธรรม เพื่อรองรับการบวชศีลจารินี ปฏิบัติกรรมฐานและวิปสสนากรรมฐาน เมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดบวชศีลจารินีเปนรุนที่ ๑ และบังเกิดผลดีมีประชาชนใหความ สนใจบวชปฏิบัติธรรมเปนจํานวนมาก แตยังมีขอบกพรองและปญหาเรื่องที่พักอาศัยยัง ไมพอเพียง ทางวัดจึงไดสรางศาลาปฏิบัติธรรมขึ้นอีก ๑ หลัง เพื่อสนองความตองการ และอํ า นวยความสะดวก ให แ ก ท า นที่ ม าปฏิ บั ติ ธ รรม เพื่ อ ให เ กิ ด ประโยชน แ ก พุทธศาสนิกชนสืบไป ๓
  • 14.
  • 15. ประวัตหลวงปูพระศรีสรรเพชญ์ ิ ่ พระประธานในอุโบสถ วัดศรีโยธิน อ.เมือง จ.กําแพงเพชร หลวงปูพระศรีสรรเพชญ เปนพระพุทธรูปโบราณปางมารวิชัย เนื้อศิลาแลง สรางสมัยใดนั้นไมปรากฏ แตสันนิษฐานวา เปนสมัยสุโขทัยยุคตน อายุประมาณ ๑,๐๐๐ ป ขนาดหนาตักกวาง ๖ ศอก เมื่อวันเพ็ญเดือน ๑๑ พ.ศ.๒๕๒๕ เปนวันออกพรรษา มีผูใจบุญไดมาทําบุญ ตักบาตรที่วัดฯ บางทานก็มาถือศีลอุโบสถ ในจํานวนนี้มี ร.อ.ทํานอง ไดมารักษา ศีลและนอนคางที่วัดดวย ตอนเย็นหลังจากทําวัตรเย็น สวดมนตเรียบรอยแลว ก็มี การพูดคุยสนทนาธรรมกันวา วันนี้เปนวันออกพรรษา พรุงนี้พระที่จําพรรษาอยูนี้ก็จะ กลั บ ภู มิ ลํ า เนาเดิ ม กั น หมด จะไปหาพระที่ ไ หนมาเฝ า วั ด ได เพราะวั ด ของเรา สรางใหมอยูในปา พระที่ไหนจะมาอยูให เมื่อพูดคุยกันแลว ก็ไมมีใครคิดอะไร แยกยายหลับนอนในที่ของตน ปรากฏวา ในคืนนั้นเอง ร.อ.ทํานอง ก็นิมิตฝนวา “มีพระภิกษุสงฆรูปหนึ่ง แกชรามาก หนังยน ผิวคล้ํา มานั่งที่ศาลาที่ญาติโยมมารักษาศีลนอนอยู โดยที่ผูฝน ไมรูวาทานมาจากไหนอยางไร?...” เมื่อทานมานั่งแลว ก็ยกมือขึ้นแลวก็บอกวา “โยมไมตองวิตก ฉันจะมาเฝาวัด มาชวยกอสรางวัดสรางบานเมืองใหเจริญ” ในฝน ร.อ.ทํานองก็ไมคอยจะเชื่อถือไม เลื่อมใส เพราะเคยหาพระมาเฝาวัดมากตอมากแลว ไมไดดีสักหน แตก็จําใจพูดไป วา “หลวงพอแกแลวมาสรางวัดไหวหรือ อยางดีก็พอเฝาวัดไดเทานั้น” พระภิกษุ ชรารูปนั้นจึงพูดขึ้นวา “ไหวซิ ถามาแลวก็จะหนุมขึ้น” ผูฝนจึงตอบไปวา “คนแกแลว จะใหหนุมไดอยางไร? หลวงพอมียาดีหรือ” ทานบอกวา “มี” ผูฝนก็รบเราทานให บอกสูตรยา ทานก็บอกให และบอกวา “ยานี้เมื่อกินเขาไปแลว มันไมหนุมเหมือน คนหนุมทั้งหลายนะ แตแข็งแรงทํางานไหว” ในตอนที่ไดพูดคุยกันในฝนนั้น ผูฝนสนใจมาก อยากจะไดทานมาอยูดวย จึง ๕
  • 16. ถามทานวา “หลวงพออยูที่ไหน? ชื่ออะไร? ผมจะไดไปรับทานมา” ทานก็บอกใหวา “ทานชื่อพระศรีสรรเพชญ อยูองคเดียวมานานแลวทางทิศตะวันออกเมืองกําแพง” พอถึงตี ๕ ตางคนตางลุกจากที่นอนเพื่อเตรียมตัวที่จะไปทําวัตรเชา เมื่อพระ มารวมกันที่ศาลาครบแลว กอนทําวัตรเชา ผูฝนก็ไดเลานิมิตใหพระภิกษุสงฆและทุก คนไดฟงกัน เมื่อทุกคนไดฟงแลวก็บอกวา “ฝนดีจะมีโชค” เมื่อทําวัตรสวดมตแลว ก็ทําบุญตักบาตรตามประเพณี เสร็จแลว พระทุกรูป ต า งก็ ก ลั บ ภู มิ ลํ า เนาเดิ ม กั น หมด เนื่ อ งจากที่ วั ด ไม มี ผู ใ ดเป น เจ า ภาพทอดกฐิ น เมื่อพระตางกลับภูมิลําเนากันหมด ที่วัดก็เลยไมมีผูใดอยูเฝาวัด ร.อ.ทํานองจึงจาง คนมานอนเฝาวัดตอไป ขณะที่จางคนมาเฝาวัดนั้น ผู ฝนก็คิดถึ งคํา พูดที่ พูดกั น และใบหนาของทา น เสมอ จึงอยากจะไปพบทานตามที่ไดนิมิตฝนแตก็สุดความสามารถที่จะไปติดตามหา ทานได เพราะไมวาจะไปถามใคร ก็ไมมีใครรูจักชื่อเสียงเรียงนามของทานเลย ผูฝน คือ ร.อ.ทํานอง ก็ไมวายที่จะนึกถึงทาน จึงเดินทางเขาบานที่กรุงเทพฯ เพื่อพบพระครูรูปหนึ่งที่ชอบพอกัน ทานอยูที่บุคคโล เมื่อไปถึงก็เลาความฝนใหทาน ฟงทั้งหมด ทานฟงแลว ก็บอกวา “โยม ฉันทํานายฝนไมเปน ฝนแปลกดี ฉันจะพา ไปพบอาจารยของฉัน ทานทํานายฝนแมนมาก” ทานจึงพาผูฝนไปหาอาจารยทานที่ วัดสามปลื้ม ไปพบสมเด็จ ฯ วัดสามปลื้ม เลาความฝนใหทานฟง เมื่อทานฟงแลวก็ บอกวา “โชคดีมาก ฝนดี ที่วัดและบานเมืองแถวถิ่นนั้นจะเจริญรุงเรือง กลับไปให ไปรับทานตามที่ฝนนะ” แลวผูฝนก็กลับบานที่กําแพงเพชรดวยความมืดมน ไมรูจะไป ทางไหน? ไมไดถามใครอีก เพราะไมรูจะถามใคร แตจิตใจก็ยงพะวงคิดอยูเสมอ ั อยู ม าวั น หนึ่ ง จึ ง ได ช วนนายไฉน ไปเที ย วในเมื อ งเพื่ อ หาอาหารทานกั น ขณะนั้นที่วัดคูยางกําลังสรางเมรุ แตแปลกเมรุที่สรางขึ้นเปนเมรุแฝด คือในปลอง เดียวกันมีเตาเผาคู คือ มีสองเตา จึ งเขาไปดู เมื่อ ดูเสร็จแลวก็เตรียมจะกลับบา น เผอิญสายตามอไปพบตนไมใหญตนหนึ่ง ไมทราบวาเปนตนอะไร? แตตรงยอด ตนไมนั้นแกวงไปรอบ ๆ สวนกิ่งอื่น ๆ นั้นไมไหวติงแมแตนอย ขณะนั้น เวลา ๕ โมงเช า ไม มี ล มเลย จึ งได ช วนนายไฉนเข าไปดู นายไฉน บอกว า “น า แปลก ! ทํ า ไมจึ ง หมุ น อยู ก่ิ ง เดี ย ว กิ่ ง อื่ น ๆ ทํ า ไมไม ห มุ น ด ว ย” ๖
  • 17. เมื่อชวนนายไฉนไปดู นายไฉนบอกวา “แกแลว เดินไมไหวเพราะปารกมาก มีกอ ไผหนามทุกชนิด รวมทั้งตนหมามุยก็มากดวย” แตดวยความอยากรูอยากเห็น จึงไดบอกลุงไฉนไปวา “ตามผมมา ผมจะเปนผูแหวกปาเขาไปเอง ใหตามมา โชคดี อาจจะจับชะนีได เพราะตองเปนชะนีหรือลิงแน” แตพอเขาไปถึงใกล ๆ กิ่งไมก็เงียบไมไหวติงแตอยางใด เมื่อเดินออมไปก็พบ เนินดินใหญมีปารกมาก เมื่อขึ้นไปถึงเนินดินแลวก็ไปสะดุดเหยียบตรงไหลของทานเขา พอดี จึงกมลงแหวกกอหญาดู พบเศียรและไหลของทานอยูในทานอนตะแคงเอียง เล็กนอย โผลขึ้นมาจากดินไมมากนัก เมื่อแรกพบเห็นองคทานเหมือนกับใจถูกไฟฟา ช็อตวูบรอนผาวไปทั้งตัว และดีใจเหมือนไดพบกันตอนที่ฝน พรอมกับกําชับนายไฉน วา อยาไปบอกใครเปนอันขาด ใหปดไวกอน แลวคิดวาทําอยางไร? จึงจะนําทานมา ได ตอมา ไดพยายามหาบุคคลอื่นที่แข็งแรงไปชวยกันขุดอยู ๓ วัน จึงสําเร็จ มีนายเสา หมอมา และบุคคลอื่นรวม ๘ คน แตกอนจะลงมือขุดก็จุดธูปเทียนบอก นิมนตทาน พอจะลงมือขุดครั้งแรกก็ไมมีใครลงมือขุดกอน เพราะกลัวจะมีอันเปนไป คณะขุดจึงยกใหผูกองทํานองเปนผูลงมือขุดกอน เพราะเปนผูฝน ตกลงผูฝนจึงตองขุด เปนคนแรก เปนที่นาอัศจรรยอยางยิ่ง ขณะยกจอบขึ้นจะลงดินนั้น ไดมีแมงปองชางตัว เทาปูนาโผลมายกกามชูหางขึ้น (แมในขณะที่ยกองคทานขึ้นสูบัลลังกประดิษฐานที่วัด ศรีโยธิน ซึ่งในขณะนั้นเปนที่พักสงฆ ก็มองเห็นแมงปองชางตัวใหญสีขาวจํานวน ๓ ตัว อยูใตที่ ๆ องคทานนั่งอยู) ผูขดจึงหยุดจอบ แลวบอกวา “ไป ๆ หลวงพอทานบอกให ุ มารับทานไปที่วัด ขอใหหลีกไป” แมงปองชางตัวใหญสีขาวนั้นจึงเดินหายเขาไปในปา จึงทําการขุดกันไดโดยสะดวก ขณะที่ขุดเอาทานขึ้นมานั้นลักษณะองคทานสมบูรณ ๘๐% แตพวกเราก็ขุดจอบ ทําชะแลงไปถูกองคทาน ทําใหเกิดแตกบิ่นผุพังไปก็มาก เพราะลักษณะศิลาแลงเมื่อจมอยูในดินอยูนาน ๆ จะเกิดการออนตัวผุยุย จึงใหชาง ซอมแซมดังที่เห็นอยูจนถึงปจจุบนนี้ ั ๗
  • 18. ทําวัตร ในที่นี้หมายถึง การกระทําโดยตอเนื่องเปนกิจวัตร ซึ่งเปนการ ฝกหัด อันจะมีผลตอการเปลี่ยนแปลงทางจริตนิสัย และเปนหนทางใหเกิด คุณธรรมที่จําเปนตอการดําเนินชีวิตเชนความขยัน ความอดทน ความสํารวม ระมัดระวัง ความตั้งมั่นแหงจิตและความรูแจงในสัจธรรม เปนตน  สวดมนต หมายถึง "การศึกษาเลาเรียน" คําวา "ศึกษา" ในทาง พระพุทธศาสนาครอบคลุมไปถึงการปฏิบัติดวย คือ เมือยังไมรู ก็เรียนใหรู  ่ ฟงใหมาก ทองจํา พิจารณาไตรตรองสิ่งที่เรียน ลงความเห็นวาสิงใดถูกตอง ่ สิ่งใดดีงาม แลวก็ตั้งใจปฎิบติตามนั้นไป ั การทําวัตรสวดมนต ที่จะใหผลดีแกผูทํานั้น ตองระลึกใหถกตองวา ู ไมใชเปนการบรวงสรวงออนวอน หรือไปคิดแตงตั้งใหพระพุทธองค ตลอดจน พระธรรม และพระสงฆเปนผูรับรู และเปนผูท่จะดลบันดาลสิ่งทีตนปรารถนา   ี ่ ซึ่งจะกลายเปนการกระทําทีใกลตอความงมงายไรเหตุผล อันมิใชวิสัยทีแทจริง ่  ่ ของชาวพุทธ การทําวัตรสวดมนต ควรกระทําในลักษณะของการศึกษาเรือง ่ ศีล สมาธิ ปญญา ๘
  • 19. การทําวัตรสวดมนต เมือทําดวยความเคารพสํารวมระวัง บังคับกาย ่ กิริยามารยาทใหเรียบรอยเปนปกติ วาจากลาวในสิ่งที่ถูกตองดีงามสวนนี้ จัดเปน "ศีล" ขณะสวดมนต ตังจิตจดจออยูในเนื้อหา และความหมายของบทธรรม ้ ทําใหจิตทิงอารมณตางๆ มาสูอารมณเดียวที่แนวแน ขณะนั้นจัดเปน "สมาธิ" ้  การมีความรูสึกตัวทัวพรอม มีสติสัมปชัญญะซาบซึ้งอยูในบทธรรม และเกิด  ่ ความเขาใจแจมแจงสวนนี้คือ "ปญญา" ขณะทําวัตรสวดมนต เมือตั้งใจศึกษา แกใขปรับปรุง เปลียนความคิด ่ ่ ความเห็นใหเปนไปตามธรรมะที่ทองบนอยู จนในขณะนั้น จิตใจเกิดความ  ผองใส สงบ เยือกเย็น เปนสภาวะของธรรมปรากฏขึ้นในใจของเรา ปรากฏ ขึ้นในใจของเรา ปรากฏการณเชนนี้ก็จะคลายกับวาเราไดพบกับพระพุทธองคที่ แทจริง คือธรรมะ ดังที่ทานตรัสไววา "ผูใดเห็นธรรมผูนนเห็นเรา"     ้ั ดังนั้น การศึกษาธรรมะในขณะทําวัตรสวดมนต หากไมทําดวยใจที่เลื่อน ลอยหรือจําใจทําแลว หากกระทําดวยสติปญญา ตั้งใจเรียนรู ไตรตรองตาม เหตุผลแลวนําไปปฏิบัติอยางจริงจัง ยอมเปนบอเกิดแหงการเปลี่ยนแปลงทาง จิตใจ จากใจทีสกปรกไปสูใจที่สะอาด จากใจทีมดมัวไปสูใจที่สวาง และจาก ่ ่ ื  ใจที่เรารอนไปสูใจทีสงบในทีสด อันเปนสภาวะจิตใจทีพนทุกข ดังเชนที่ ่ ่ ุ ่  พระพุทธองคไดทรงกระทําใหเราไดเห็นเปนตัวอยางแลว (คัดลอกจากหนังสือ ทําวัตรสวดมนต วัดหนองปาพง จ.อุบลราชธานี) ๙
  • 20. สอบถามกําหนดการปฏิบตธรรม ณ วัดศรีโยธิน โทรศัพท ๐๕๕-๗๑๐-๒๘๐ ั ิ การเตรียมตัว จัดเตรียมขาวของเครื่องใชสวนตัวเทาที่จําเปน ไมควรนําของมีคาติดตัวไป การแตงกาย บุรษแตงชุดขาวสุภาพ สุภาพสตรีแตงชุดขาว นุงผาถุง หมสไบ ๑๐
  • 22. ระเบียบปฏิบัติของผู้ท่เข้ามาปฏิบัติธรรม ณ วัดศรีโยธิน ี ๑. ใหยนดีในเสนาสนะทีจดให และใหทําความสะอาดเก็บกวาดที่พัก ิ ่ั ถนนทางเขาออกใหสะอาด ๒. เมื่อกิจของผูปฏิบัตธรรมเกิดขึน เชน ทําวัตรเชา – เย็น ฯลฯ ิ ้ ใหพรอมกันทํา เมือเลิกใหพรอมกันเลิก อยาทําตนใหเปนทีรงเกียจของ ่ ่ั หมูคณะ คือ เปนผูมายาสาไถย หลีกเลี่ยง แกตว  ั ๓. เวลารับประทานอาหาร ลางภาชนะ ทําความสะอาดใหเรียบรอย ใหทําดวยความมีสติ ๔. ใหทําตนเปนผูมักนอยในการพูด กิน นอน ราเริง จงเปนผูตื่นอยูดวย -    ความเพียร ๕. หามคุยกันเปนกลุมกอนทั้งกลางวันและกลางคืนในที่ทั่วไป หรือทีพัก ่ เวนแตมีเหตุจําเปน ถึงกระนันก็อยาเปนผูคลุกคลีและเอิกเกริกเฮฮา ้ ๖. หามสูบบุหรี่ กินหมาก และสิงเสพติดทุกชนิด ่ ๗. หามเรียไร บอกบุญตาง ๆ โดยเด็ดขาด ่ ๘. ใหตั้งใจในการประพฤติปฏิบัติ ๙. ไมมกจจําเปน หามเขาไปคลุกคลีในกุฏิกบภิกษุและสามเณร โดยเด็ดขาด ีิ ั ๑๐. หามเปดวิทยุ และ การละเลนตางๆ ภายในบริเวณวัด ๑๑. เมื่อจะทําอะไรนอกเหนือจากหนาที่ใหปรึกษาสงฆ หรือ ผูเปนประธานใน สงฆเสียกอน เมือเห็นวาเปนธรรม เปนวินัย และจึงทํา อยาทําตามใจ - ่ ของตัวเองฯ ๑๒
  • 23. ขอกติกาทังหมดนี้ เปนไปเพื่อความเปนระเบียบเรียบรอยของหมูคณะ ้ ขอใหผูปฏิบัติธรรม พึงสังวรไววา เรามาปฏิบตธรรมเพือขัดเกลาจิตใจ และ ั ิ ่ เพื่อสรางจริตนิสยทีดีงามใหเกิดขึ้นแกตน มิใชมาเพื่อทําตามใจตนเอง แตมา ั ่ ทําใจตนเองใหถกตองดวยการประพฤติปฏิบติเจริญสติ เพราะฉะนั้น หากทาน ู ั ผูใดไมสามารถทําตามขอกติกาที่กําหนดไว หรือทําตนเปนคนมีปญหา เรื่อง มากในการกินการอยู ไมปฏิบติตามกฎกติกานี้ คณะสงฆมอํานาจเต็มที่ใน ั ี การบริหารเพื่อใหเกิดความเรียบรอยแกหมูคณะตอไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๖ กรกฏาคม พ.ศ.๒๕๕๒ ๑๓
  • 24. กํา หนดเวลาการปฏิ บั ติ ธ รรม เวลา การปฏิบติ ั ๐๓.๓๐ น. ตื่นนอนทํากิจสวนตัว ๐๔.๐๐ น. สวดมนตทําวัตรเชา – ปฏิบัตธรรม ิ ๐๗.๐๐ น. รับประทานอาหารเชา ๐๗.๓๐ น. พักผอนดวยความมีสติ ๐๘.๓๐ น. ปฏิบติธรรม ั ๑๑.๐๐ น. รับประทานอาหารเที่ยง ๑๒.๓๐ น. ปฏิบติธรรม ั ๑๕.๓๐ น. ทําความสะอาด กวาดลานวัด ทําสรีรกิจสวนตัว ๑๗.๐๐ น. สวดมนตทาวัตรเย็น – ปฏิบติธรรม ํ ั ๑๙.๐๐ น. พักดืมน้ําปานะ ่ ๑๙.๓๐ น. สอบอารมณ – ปฏิบติธรรมั ๒๑.๐๐ น. พักผอนดวยความมีสติ *** ตารางอาจเปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม *** ๑๔
  • 26. เมื่อพระคุณเจามาถึง ผูปฏิบตธรรมพึงนั่งคุกเขาประนมมือกราบ ๓ ครัง ั ิ ้ เสร็จแลว กลาวคําบูชาพระ กราบพระ วาดังนี้... คําบูชาพระรัตนตรัย อิมนา สักกาเรนะ, พุทธัง อะภิปชะยามิ, ิ ู อิมนา สักกาเรนะ, ธัมมัง อะภิปชะยามิ, ิ ู อิมนา สักกาเรนะ, สังฆัง อะภิปชะยามิ, ิ ู กราบพระรัตนตรัย วาพรอมกันดังนี้ อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ, (กราบ) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ, (กราบ) สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,  สังฆัง นะมามิ. (กราบ) ๑๖
  • 27. ตอไปกลาวคําอาราธนาศีล วาพรอมกันดังนี้ คําอาราธนาศีล ๕ มะยัง ภันเต, วิสง วิสุง รักขะนัตถายะ, ุ ติสะระเณนะ สะหะ, ปญจะ สีลานิ ยาจามะ, ทุติยมป มะยัง ภันเต, วิสง วิสุง รักขะนัตถายะ, ั ุ ติสะระเณนะ สะหะ, ปญจะ สีลานิ ยาจามะ, ตะติยมป มะยัง ภันเต, วิสง วิสง รักขะนัตถายะ, ั ุ ุ ติสะระเณนะ สะหะ, ปญจะ สีลานิ ยาจามะ, คําอาราธนาศีล ๘ มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, อัฏฐะ สีลานิ ยาจามะ, ทุติยมป มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, ั อัฏฐะ สีลานิ ยาจามะ, ตะติยมป มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, ั อัฏฐะ สีลานิ ยาจามะ, เสร็จแลวกราบ ๑ ครั้ง นั่งพับเพียบพนมมือ (ถาคนเดียววา อะหัง ภันเต แทน มะยัง ภันเต, ยาจามิ แทน ยาจามะ.) ๑๗
  • 28. ลําดับนั้น พระคุณเจากลาวคํานมัสการ ฯ นําผูปฏิบติ ใหวาตาม ดังนี้  ั  นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (วา ๓ ครัง) ้ ครั้นแลวพระคุณเจานําเปลงวาจาวาไตรสรณคมนตามไปทีละพากยวา ดังนี้  ไตรสรณคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ, ทุติยมป ั พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ทุติยมป ั ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, ทุติยมป ั สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ, ตะติยมป ั พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ตะติยมป ั ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, ตะติยมป ั สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ, เมื่อจบแลว พระคุณเจาบอกวา “ ติสะระณะคะมะนัง นิฏฐิตัง ” ผูปฏิบัตพงรับวา “ อามะ ภันเต ” ิ ึ ลําดับนั้นพึงสมาทานสิกขาบท ๕ ประการ หรือ ๘ ประการ วาตามพระคุณเจาดังนี้ ๑๘
  • 29. คําสมาทานศีล ๑. ปาณาติปาตา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ, ๒. อะทินนาทานา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ, ๓. อะพ๎รหมะจะริยา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ, ั ๎ ๔. มุสาวาทา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ, ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ, ๖. วิกาละโภชะนา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ, ๗. นัจจะคีตะวาทิตะ วิสกะทัสสะนะ, มาลาคันธะ วิเลปะนะ, ธาระณะ ู มัณฑะนะ วิภสะนัฏฐานา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ, ู ๘. อุจจาสะยะนะ มะหาสะยะนา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. สําหรับผูทสมาทานศีล ๕ ใหสมาทานศีล ถึงขอที่ ๕ ่ี และเปลี่ยนขอที่ ๓ วาดังนี้ กาเมสุมจฉาจารา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ, ิ ลําดับตอจากนั้น พระคุณเจาจะกลาววา อิมานิ อัฏฐะ (ปญจะ*) สิกขาปะทานิ, สีเลนะ สุคะติง ยันติ, สีเลนะ โภคะสัมปะทา, สีเลนะ นิพพุติง ยันติ ตัสมา สีลง วิโสทะเย. ๎ ั ผูสมาทานศีลพึงรับวา “สาธุ” เสร็จแลวนั่งคุกเขา กราบ ๓ ครั้ง หมายเหตุ: * ใชสาหรับสมาทานศีล ๕ ํ ๑๙
  • 30. พิธีรกษาอุโบสถศีล ั เมื่อพระสงฆสามเณรทําวัตรเชาเสร็จแลวอุบาสก-อุบาสิกา พึงทําวัตรเชา โดยเริ่มคําบูชาพระ วา ยะมะหัง สัมมาสัมพุทธัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะโต, (หญิงวา คะตา) พระผูมพระภาค, พระองคตรัสรูดีแลวโดยชอบพระองคใด, ขาพเจาถึงแลววา  ี  เปนที่พึ่งกําจัดภัยจริง, อิมินา สักกาเรนะ, ตัง ภะคะวันตัง, อะภิปูชะยามิ, ขาพเจาบูชา, ซึ่งพระผูมีพระภาคนั้น, ดวยเครื่องสักการะอันนี้.  ยะมะหัง ส๎วากขาตัง, ธัมมัง สะระณัง คะโต, (หญิงวา คะตา) พระธรรมที่พระผูมพระภาค, พระองคตรัสไวดีแลวสิ่งใด, ขาพเจาถึงแลววา ี เปนที่พึงกําจัดภัยจริง, อิมินา สักกาเรนะ, ตัง ธัมมัง, อะภิปูชะยามิ, ขาพเจาบูชา, ซึ่งพระธรรมนัน, ดวยเครื่องสักการะอันนี้. ้ ยะมะหัง สุปะฏิบันนัง, สังฆัง สะระณัง คะโต (หญิงวา คะตา) พระสงฆททานเปนผูปฏิบติดีแลวหมูใด, ขาพเจาถึงแลววา เปนที่พึ่งกําจัดภัยจริง, ่ี   ั อิมินา สักกาเรนะ, ตัง สังฆัง, อะภิปูชะยามิ, ขาพเจาบูชา, ซึ่งพระสงฆหมูนั้น, ดวยเครื่องสักการะอันนี้. อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ) สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ (กราบ)  ๒๐
  • 31. (ต อ จากนี้ ทํ า วั ต รเช า จบแล ว หั ว หน า อุ บ าสกหรื อ อุ บ าสิ ก าพึ ง คุ ก เข า ประนมมือประกาศองคอุโบสถ ทั้งคําบาลีและคําไทย ดังนี้) อัชชะ โภนโต ปกขัสสะ อัฏฐะมีทวะโส (ถาวันพระ ๑๕ ค่ํา วา ิ ปณณะระสีทวะโส ถา ๑๔ ค่ําวา จาตุททะสีทวะโส) เอวะรูโป โข โภนโต ิ ิ ทิวะโส พุทเธนะ ภะคะวะตา ปญญัตตัสสะ ธัมมัสสะวะนัสสะ เจวะ ตะทัตถายะ อุปาสะกะอุปาสิกานัง อุโปสะถัสสะ จะ กาโล โหติ หันทะ มะยัง โภนโต สัพเพ อิธะ สะมาคะตา ตัสสะ ภะคะวะโต ธัมมานุธัมมะ ปะฏิปตติยา ปูชะนัตถายะ อิมัญจะ รัตติง อิมัญจะ ทิวะสัง อัฏฐังคะ สะมันนาคะตัง อุโปสะถัง อุปะวะสิสสามาติ กาละปะริจเฉทัง กัต๎วา ตัง ตัง เวระมะณิง อารัมมะณัง กะริต๎วา อะวิกขิตตะจิตตา หุตวา ๎ สักกัจจัง อุโปสะถัง สะมาทิเยยยามะ อีทสง หิ อุโปสะถัง สัมปตตานัง ิ ั อัมหากัง ชีวิตง มา นิรัตถะกัง โหตุ ฯ ั คําแปล ขอประกาศเริ่มเรืองความที่จะสมาทานรักษาอุโบสถ อันพรอมไปดวย ่ องคแปดประการ ใหสาธุชนทีไดตั้งจิตสมาทานทราบทั่วกันกอน แตสมาทาน ่ ณ บัดนี้ ดวยวันนี้ เปนวันอัฏฐะมีดถทแปด (ถาวันพระ ๑๕ ค่ําวา วันปณณะ ิ ี ี่ ระสีดถทสบหา ถา ๑๔ ค่ําวา วันจาตุททะสีดถทสบสี) แหงปกษมาถึงแลว ิ ี ี่ ิ ิ ี ี่ ิ ่ ก็แหละวันเชนนี้ เปนกาลทีสมเด็จพระผูมีพระภาคเจาทรงบัญญัตแตงตั้งไวให ่  ิ ประชุมกันฟงธรรม และเปนกาลที่จะรักษาอุโบสถของอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลาย เพื่อประโยชนแกการฟงธรรมนั้นดวย เชิญเถิดเราทั้งหลายทั้งปวง ที่ไดมา ประชุมพรอมกัน ณ ที่นี้ พึงกําหนดกาลวาจะรักษาอุโบสถตลอดวันหนึ่งกับคืน หนึ่งนี้ แลวพึงทําความเวนโทษนั้นๆเปนอารมณ คือ ๒๑
  • 32. o เวนจากการฆาสัตว ๑ o เวนจากลักฉอ, ถือเอาสิ่งของที่เจาของเขาไมให ๑ o เวนจากประพฤติกรรมที่เปนขาศึกแกพรหมจรรย ๑ o เวนจากเจรจาคําเท็จลอลวงผูอื่น ๑ o เวนจากดื่มสุราเมรัยอันเปนเหตุท่ตั้งแหงความประมาท ๑ ี o เวนจากบริโภคอาหาร ตั้งแตเวลาพระอาทิตยเที่ยงแลวไปจนถึงเวลา อรุณขึ้นมาใหม ๑ o เวนจากฟอนรําขับรองและประโคมเครื่องดนตรีตางๆ แตบรรดาที่ เปนขาศึกแกบุญกุศลทั้งสิ้น และทัดทรงประดับตกแตงรางกายดวย ดอกไมของหอม เครื่องประดับ เครื่องทาเครื่องยอม ผัดผิวทํากาย ใหวิจิตรงดงามตางๆ อันเปนเหตุที่ตั้งแหงความกําหนัดยินดี ๑ o เวน จากการนั่ ง นอนเหนือ เตียงตั่ ง มา ที่มี เทา สูง เกิน ประมาณและ ที่นั่งที่นอนใหญ ภายในมีนุนและสําลี และเครื่องปูลาดที่วิจิตรดวย เงินและทองตางๆ ๑ อยาใหมีจิตฟุงซานสงไปทีอื่น พึงสมาทานเอาองคอุโบสถทั้งแปดประการ ่ โดยเคารพ เพื่อจะบูชาสมเด็จพระผูมีพระภาค พระพุทธเจานั้นดวยธรรมมานุ-  ธรรมะปฏิบติ อนึ่ง ชีวิตของเราทั้งหลาย ที่ไดเปนอยูรอดมาถึงวันอุโบสถเชนนี้ ั จงอยาไดลวงไปเสียเปลาจากประโยชนเลย (เมื่อหัวหนาประกาศจบแลว พระสงฆผแสดงธรรมขึ้นนั่งบนธรรมาสน ู อุบาสก อุบาสิกา พึงนั่งคุกเขากราบพรอมกัน ๓ ครั้ง แลวกลาวคําอาราธนาอุโบสถศีลพรอมกัน วาดังนี้) ๒๒
  • 33. มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ (วา ๓ จบ) ตอนี้ คอยตั้งใจรับสรณคมนและศีลโดยเคารพ คือ ประนมมือวาตามคําที่พระสงฆบอกเปนตอนๆ วา นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ) พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ, ทุติยมป พุทธัง ั สะระณัง คัจฉามิ, ทุติยมป ธัมมัง ั สะระณัง คัจฉามิ, ทุติยมป สังฆัง ั สะระณัง คัจฉามิ, ตะติยมป พุทธัง ั สะระณัง คัจฉามิ, ตะติยมป ธัมมัง ั สะระณัง คัจฉามิ, ตะติยมป สังฆังั สะระณัง คัจฉามิ, เมื่อพระสงฆวา ติสะระณะคะมะนัง นิฏฐิตง ั พึงรับพรอมกันวา อามะ ภันเต ๑. ปาณาติปาตา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ, ๒. อะทินนาทานา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ, ๓. อะพ๎รหมะจะริยา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ, ั ๎ ๔. มุสาวาทา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ, ๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ, ๖. วิกาละโภชะนา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ, ๒๓
  • 34. ๗. นัจจะคีตะวาทิตะ วิสกะทัสสะนะ, มาลาคันธะ วิเลปะนะ, ธาระณะ ู มัณฑะนะ วิภสะนัฏฐานา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ, ู ๘. อุจจาสะยะนะ มะหาสะยะนา, เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. อิมง, อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง, พุทธะปญญัตตัง, อุโปสะถัง, ั อิมญจะ รัตติง, อิมญจะ ทิวะสัง, สัมมะเทวะ, อะภิรกขิตุง, สะมาทิยามิ. ั ั ั ขาพเจาขอสมาทาน, ซึ่งอุโบสถศีล, อันประกอบไปดวยองคแปดประการ, เพื่อจะรักษาไวใหด, มิใหขาด, มิใหทําลาย, มิใหดางพรอย, ี  ตลอดวันหนึ่งและคืนหนึ่ง, ในเวลานี้ (หยุดรับเพียงเทานี) ้ ตอนนี้ พระสงฆจะวา อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ อุโปสะถะวะเสนะ มะนะสิกะริตวา สาธุกง อัปปะมาเทนะ รักขิตพพานิ ๎ ั ั (พึงรับพรอมกันวา) อามะ ภันเต (พระสงฆวาตอ) สีเลนะ สุคะติง ยันติ, สีเลนะ โภคะสัมปะทา, สีเลนะ นิพพุตง ยันติ, ิ ตัสมา สีลง วิโสธะเย. ๎ ั พึงกราบพรอมกัน ๓ ครั้ง ตอนี้นั่งราบพับเพียบ ประนมมือฟงธรรม เมื่อจบแลวพึงใหสาธุการและสวดประกาศตนพรอมกัน ดังนี้ สาธุ สาธุ สาธุ ๒๔
  • 35. อะหัง พุทธัญจะ ธัมมัญจะ สังฆัญจะ สะระณัง คะโต (หญิงวา คะตา) อุปาสะกัตตัง (หญิงวา อุปาสิกตตัง) เทเสสิง ภิกขุสงฆัสสะ สัมมุขา ั ั เอตัง เม สะระณัง เขมัง เอตัง สะระณะมุตตะมัง เอตัง สะระณะมาคัมมะ สัพพะทุกขา ปะมุจจะเย ยะถาพะลัง จะเรยยาหัง สัมมาสัมพุทธะสาสะนัง ทุกขะนิสสะระณัสเสวะ ภาคี อัสสัง (หญิงวา ภาคินสสัง) อะนาคะเตฯ ิ กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา พุทเธ กุกมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง ั พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ ฯ กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา ธัมเม กุกมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง ั ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม ฯ กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา สังเฆ กุกมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง ั สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ ฯ ๒๕
  • 36. คติกรรมฐาน กินน้อย นอนน้อย พูดน้อย ทําความเพียรมาก พระธรรมสิงหบุราจารย (หลวงพอจรัญ ตธมฺโม) วัดอัมพวัน จังหวัดสิงหบุรี ๒๖
  • 38. เมื่อพระคุณเจาผูเปนประธานฝายสงฆมาถึง ผูปฏิบัติธรรมนั่งคุกเขา ประนมมือ ผูเปนประธาน ฯ กราบพระนั่งลง ผูปฏิบัติธรรมกราบ ๓ ครั้ง พรอมเพรียงกัน ตั ว แทนผู ป ฏิ บั ติ ธ รรมจุ ด เที ย นธู ป ผู ป ฏิ บั ติ ธ รรมกล า วคํ า บู ช าพระ กราบพระ อาราธนาศีล สมาทานศีล เมื่อสมาทานศีลเสร็จแลว ตอไปพึง ตั้งใจสมาทานพระกรรมฐาน สมาทานพระกรรมฐาน นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (วา ๓ จบ) พรอมกัน ตอไปพึงวาตามผูนํา ดังนี้ อิมาหัง ภะคะวา, อัตตะภาวัง, ตุม๎หากัง, ปะริจจะชามิ, ขาแตองคสมเด็จพระผูมีพระภาคเจา, ขาพเจาขอมอบกายถวายชีวิต,  ตอพระรัตนตรัย, คือพระพุทธ, พระธรรม, พระสงฆ อิมาหัง อาจะริยะ, อัตตะภาวัง, ตุม๎หากัง, ปะริจจะชามิ, ขาแตพระอาจารยผูเจริญ, ขาพเจาขอมอบกายถวายตัว, ตอครูบาอาจารย, เพื่อเจริญวิปสสนากรรมฐาน นิพพานัสสะ, เม ภันเต, สัจฉิกะระณัตถายะ, กัมมัฏฐานังเทหิ, ขาแตทานผูเจริญ, ขอทานจงใหกรรมฐานแกขาพเจา,  เพื่อทําใหแจง, ซึ่งมรรคผลนิพพานตอไป ๒๘
  • 39. อะหัง สุขโต โหมิ, ิ ขอใหขาพเจาถึงสุข, ปราศจากทุกข, ไมมีเวร, ไมมภัย, ไมมีความ- ี ลําบาก, ไมมีความเดือดรอน, ขอใหมความสุข, รักษาตนอยูเถิด ี สัพเพ สัตตา, สุขิตา โหนตุ, ขอใหสัตวทั้งหลายทุกตัวตน, ตลอดเทพบุตร, เทพธิดาทุกพระองค, พระภิกษุ, สามเณร, และผูปฏิบติธรรมทุกทาน,  ั ขอทานจงมีความสุข, รักษาตนอยูเถิด อัทธุวัง เม ชีวิตตัง, ชีวิตของเราไมแนนอน, ความตายของเราแนนอน, เราตองตายแน, เพราะชีวิตของเรา, มีความตายเปนที่สุด, นับวาเปนโชคอันดีแลว, ที่เราไดเขามาปฏิบติ, วิปสสนากรรมฐาน, ณ โอกาสบัดนี, ั ้ ไมเสียทีทไดเกิดมา, พบพระพุทธศาสนา ี่ เยเนวะ ยันติ, นิพพานัง, พระพุทธเจา, และพระอรหันตสาวก, ไดดําเนินไปสูพระนิพพาน,  ดวยหนทางเสนนี้, ขาพเจาขอตั้งสัจจะอธิษฐาน, ปฏิญาณตน, ตอพระรัตนตรัย, และครูบาอาจารยวา, ตั้งแตนตอไป, ี้ ขาพเจาจะตั้งอกตั้งใจ, ประพฤติและปฏิบัต, เพือใหบรรลุมรรคผล, ิ ่ ดําเนินรอยตามพระองคทาน อิมายะ, ธัมมานุธมมะ, ปะฏิปตติยา, ระตะนัตตะยัง, ปูเชมิ, ั ขาพเจาขอบูชาพระรัตนตรัย, ดวยการปฏิบติธรรม, ั สมควรแกมรรคผลนิพพานนี้, ดวยสัจจะวาจา, ที่กลาวอางมานี้, ขอใหขาพเจาไดบรรลุ, มรรคผลนิพพานดวยเทอญ ฯ สวดพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ (จบแลวกราบ ๓ ครั้ง) ๒๙
  • 40. ผูแทนนําเครื่องสักการะเขาไปถวายพระผูเปนอาจารย เสร็จแลว กราบ ๓ ครั้ง พรอมกัน นั่งพับเพียบประนมมือ ฟงโอวาทจากพระอาจารย... ๓๐
  • 42. เมื่อประธานจุดเทียน ธูป พึงพรอมกันนั่งคุกเขาประนมมือ คําบูชาพระรัตนตรัย (นํา) โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, (รับ) พระผูมพระภาคเจา พระองคใด, เปนพระอรหันตสัมมาสัมพุทธะ, ี ส๎วากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม. พระธรรมอันพระผูมพระภาคเจา พระองคใด, ตรัสสอนดีแลว, ี สุปะฏิปนโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆสาวกของพระผูมพระภาคเจา พระองคใด, ปฏิบัติดีแลว ี ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง, ขาพเจาทั้งหลาย, ขอบูชาอยางยิ่ง, ซึ่งพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น,  พรอมดวยพระธรรม, พรอมดวยพระสงฆ, อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปเตหิ อะภิปูชะยามะ, ดวยเครื่องสักการะเหลานี, ที่ยกขึ้นแลวตามสมควร, ้ สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตป, พระผูมพระภาคเจา, แมปรินพพานนานแลว, ขอไดทรงกรุณาโปรดเถิด, ี ิ ปจฉิมา ชะนะตานุกัมปะมานะสา, ขอไดมน้ําพระทัย, อนุเคราะหแกหมูชนที่เกิดมาในภายหลัง, ี อิเม สักกาเร ทุคคะตะปณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ, ขอจงทรงรับเครืองสักการะทั้งหลายเหลานี, อันเปนบรรณาการของคนยาก, ่ ้ อัมหากัง ฑีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ, เพื่อประโยชนและความสุข, แกพวกขาพเจาทั้งหลาย, สิ้นกาลนานเทอญฯ ๓๒
  • 43. อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ ภะคะวา, พระผูมีพระภาคเจา, เปนพระอรหันต, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกขสิ้นเชิง,  ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ, ขาพเจาอภิวาทพระผูมพระภาคเจา, ผูร, ผูตื่น, ผูเบิกบาน (กราบ) ี ู ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรมเปนธรรมที่พระผูมพระภาคเจา, ตรัสไวดีแลว, ี ธัมมัง นะมัสสามิ, ขาพเจานมัสการพระธรรม (กราบ) สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆสาวกของพระผูมพระภาคเจา, ปฏิบัติดแลว,  ี ี สังฆัง นะมามิ, ขาพเจานอบนอมพระสงฆ (กราบ) ปุพพะภาคะนะมะการ (หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส.) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจา, พระองคนั้น,  อะระหะโต, เปนผูไกลจากกิเลส, สัมมาสัมพุทธัสสะ, ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง, (วา ๓ ครั้ง) ๓๓
  • 44. พุทธาภิถุติง (หันทะ มะยัง พุทธาภิถุตง กะโรมะ เส.) ิ โย โส ตะถาคะโต, พระตถาคตเจานั้นพระองคใด, อะระหัง, เปนผูไกลจากกิเลส, สัมมาสัมพุทโธ, เปนผูตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง, วิชชาจะระณะสัมปนโน, เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ, สุคะโต, เปนผูไปแลวดวยดี, โลกะวิท,ู เปนผูรูโลกอยางแจมแจง, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, เปนผูสามารถฝกบุรุษที่สมควรฝกได, อยางไมมีใครยิ่งกวา, สัตถา เทวะมะนุสสานัง, เปนครูผูสอนของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย, พุทโธ, เปนผูรู, ผูตื่น, ผูเบิกบานดวยธรรม, ภะคะวา, เปนผูมีความจําเริญ, จําแนกธรรมสั่งสอนสัตว, โย อิมง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพ๎รัห๎มะกัง, สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิง ั ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัต๎วา ปะเวเทสิ, พระผูมีพระภาคเจาพระองคใด, ไดทรงทําความดับทุกขใหแจง, ดวยพระปญญาอันยิ่งเองแลว, ทรงสอนโลกนี้, พรอมทั้งเทวดา, มาร, พรหม, และหมูสตว, พรอมทั้งสมณะพราหมณ, ั พรอมทั้งเทวดาและมนุษยใหรูตาม ๓๔