SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 108
Baixar para ler offline
วิชาเศรษฐศาสตร์กบการเข ้าใจปั ญหา
                ั
             ั
         ของสงคมมนุษย์
            สฤณี อาชวานันทกุล
           Fringer | คนชายขอบ
         http://www.fringer.org/
           28 พฤศจิกายน 2552
                                  ิ
         งานนีเผยแพร่ภายใต ้ลิขสทธิ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial
         Share Alike (by-nc-sa) โดยผู ้สร ้างอนุญาตให ้ทําซํา แจกจ่าย แสดง และสร ้างงาน
                        ่      ่
         ดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึงของงานนีได ้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีทให ้เครดิตผู ้สร ้าง ไม่
                                                                          ี
         นํ าไปใช ้ในทางการค ้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต ้ลิขสทธิเดียวกันนีเท่านั น
                                                                   ิ
หัวข ้อบรรยาย

1.   พืนฐานเรืองเศรษฐศาสตร์
2.   การเติบโตทางเศรษฐกิจ
3.   พืนฐานเรืองระบบตลาด
4.   พรมแดนของเศรษฐศาสตร์
5.   การบริหารจัดการทรัพยากร: ทีดินในศรีลังกา
6.   แนะนํ าเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม
1. พืนฐานเรืองเศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์คออะไร?
            ื
“โจทย์ใหญ่” ของเศรษฐศาสตร์
                                    ิ
           • มนุษย์มความต ้องการไม่สนสุด
                    ี
           • แต่ทรัพยากรมีจํากัด
             – ทุนธรรมชาติ (ทีดิน ฯลฯ)
             – ทุนมนุษย์ (แรงงาน ปั ญญา ฯลฯ)
             – ทุนเงินตรา
                        ั
             – ทุนทางสงคม ฯลฯ
                    ้
           • ควรใชและจัดสรรทรัพยากรแต่
             ละชนิด “อย่างไร”?
           • เรามี “ทางเลือก” อะไรบ ้าง?
สมมุตฐานเบืองต ้นของเศรษฐศาสตร์
     ิ
            ั
• คนเป็ น “สตว์เศรษฐกิจ” 100%?
• คน “มีเหตุมผล” 100%?
             ี
• ถ ้าสมมุตฐานเหล่านีไม่เป็ นจริง
           ิ
  ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์อาจอธิบาย
  “โลกแห่งความจริง” ไม่ได ้
• บริบท และ เงือนไข เป็ นสงสําคัญ
                          ิ
ึ
เศรษฐศาสตร์ศกษาโจทย์ในหลายระดับ
 ิ
สงแวดล ้อม การเมือง      สถาบัน     พัฒนา

            โลก / ประเทศ
 ข ้อมูล                           การเงิน
             อุตสาหกรรม
เครือข่าย                         การคลัง
               องค์กร
 ื  ี
ชอเสยง                            สวัสดิการ
               ปั จเจก
คําถามใหญ่ของเศรษฐศาสตร์
                                ิ
• ระบอบเศรษฐกิจควรผลิตสนค้าและบริการ
  ประเภทใดบ้าง? – เน ้นการผลิตในภาคเกษตร หรือ
  อุตสาหกรรม หรือบริการ หรือข ้อมูล หรือ ฯลฯ? หรือ
                                                   ั
  ควรเน ้นกิจกรรมด ้านกีฬา การพักผ่อน หรือทีอยูอาศย?
                                                 ่
                                  ิ
• ระบอบเศรษฐกิจควรผลิตสนค้าและบริการ
                   ้
  อย่างไร? – ใชแรงงานเป็ นหลัก, ทีดินเป็ นหลัก, หรือ
                                      ิ
  ทุนเป็ นหลัก? ทําอย่างไรให ้เกิดประสทธิภาพ?
                 ้ ิ
• ใครควรได้ใชสนค้าและบริการทีผลิต? – แบ่งให ้
  ทุกคนได ้เท่าๆ กัน? ให ้คนรวยได ้มากกว่า? ให ้
  คนทํางานหนั กได ้มากกว่า?
Stock vs. Flow
Positive & normative economics
• Positive Statements:
                   ู   ่                           ็
   – สามารถพิสจน์วาเป็ นจริงหรือเท็จได ้ ด ้วยการเชคข ้อมูลหรือ
     ค ้นคว ้าวิจัยเพิมเติม
• Normative Statements:
                                      ึ ่
   – เป็ น “ความเห็น” หรือ “ความรู ้สกสวนตัว” ทีพิสจน์วาเป็ น
                                                   ู   ่
     จริงหรือเท็จไม่ได ้ด ้วยการค ้นคว ้าวิจัย


                                             ่
    องค์ความรู ้จากเศรษฐศาสตร์แขนงใหม่ๆ เชน เศรษฐศาสตร์
  ิ
 สงแวดล ้อม เศรษฐศาสตร์ความสุข และเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม
           ่                            ิ
    กําลังชวยขยับขยาย “ขอบเขต” ของสงทีนักเศรษฐศาสตร์
        ึ
      ศกษา       แปลง Normative เป็ น Positive economics
“นักเศรษฐศาสตร์พดอะไรก็ได ้”?
                ู
      Price
      6


      5


      4



      3


      2


      1


      0
          0   1   2      3       4   5   6
                      Quantity
“นักเศรษฐศาสตร์พดอะไรก็ได ้”?
                ู
      Price
      6                          S0


                                      S1
      5


                                                S2
      4



      3



      2


      1                                    D0


      0
          0   1   2      3        4    5         6
                      Quantity
“นักเศรษฐศาสตร์พดอะไรก็ได ้”?
                ู
      Price
      6

                                      S0

      5


      4



      3


                                            D2
      2


                                       D1
      1

                                 D0
      0
          0   1   2      3       4     5    6
                      Quantity
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
บริโภคหรือลงทุน?
บริโภคหรือลงทุน?
บริโภคหรือลงทุน?
บริโภคหรือลงทุน?
บัญญัตพนฐานของวิชาเศรษฐศาสตร์
      ิ ื
ี
บัญญัต ิ #1: ภาวะได ้อย่าง-เสยอย่าง
                         ิ
• บัญญัตท ี 1: คนทุกคนเผชญภาวะ “ได ้อย่าง-
        ิ
    ี
  เสยอย่าง” (tradeoffs) เสมอ
      ิ
• ประสทธิภาพ vs. ความยุตธรรม - แต่ขนอยู่
                        ิ          ึ
  กับว่าเรานิยามสองคํานีอย่างไรด ้วย
• เรียน vs. เล่น, บริโภค vs. ลงทุน
• “โลกนีไม่มอะไรฟรี” (there is no free
            ี
  lunch) – เพราะอะไร?
ิ          ี
บัญญัต ิ #2: ต ้นทุนคือสงทีเรายอมเสย
                                      ิ
• บัญญัตท ี 2: ต ้นทุนของอะไรก็ตามคือสงที
        ิ
          ี               ิ
  คุณยอมเสยไปเพือให ้ได ้สงนันมา
• “โลกนีไม่มอะไรฟรี” (there is no free
            ี
  lunch) เพราะอย่างน ้อยเราทุกคนก็ม ี “ต ้นทุน
       ี
  ค่าเสยโอกาส” (opportunity cost)
                   ่
• ตัวอย่างต ้นทุนเชน เวลา เงิน ความสุข ความ
  สบาย ฯลฯ
บัญญัต ิ #3: คิดทีละหน่วย (margin)
• บัญญัตท ี 3:คนทีมีเหตุมผลคิดแบบ “เพิมทีละ
        ิ                ี
  หน่วย” (margin) คือคํานึงถึงประโยชน์และ
                           ่ ่
  ต ้นทุน “ทีเพิมขึน” ไม่ใชคาเฉลีย
• สมมติวาต ้นทุนในการบินของเครืองบินขนาด
        ่
  200 ทีนัง เท่ากับ $100,000
• ถ ้าเทียวบินเหลือทีนัง 10 ที ผู ้โดยสารอยาก
  จ่ายแค่ $300 สายการบินควรขายให ้หรือไม่?
ิ
บัญญัต ิ #4: คนตอบสนองต่อสงจูงใจ
                           ิ
• บัญญัตท ี 4:คนตอบสนองต่อสงจูงใจ
        ิ
     ็ ่
• “เชคชวยชาติ”
• มาตรการภาษี
   ื
• ซอ 2 แถม 1
• ราคาศูนย์บาท = “emotional hot button”
วิธวทยาของเศรษฐศาสตร์
    ี ิ
(economic methodology)
เศรษฐศาสตร์เล่าเรืองด ้วยแผนภาพ
                                                     ิ
                                                    สงบันเทิง
ค่าใชจ่ายในการบริโภค (บาท)


                                                                อาหาร
     ้




                             O   รายได ้ต่อเดือน (บาท)
เศรษฐศาสตร์เล่าเรืองด ้วย Time Series
พันล ้าน
บาท
                                                 ่
            ผลิตภ ัณฑ์มวลรวมในประเทศและอ ัตราการสงออกของไทย
8,000                                                                                                                      80%




6,000                                                                                                                      60%




4,000                                                                                                                      40%




2,000                                                                                                                      20%




    0                                                                                                                      0%
         2533   2534   2535   2536   2537   2538   2539   2540   2541   2542   2543   2544   2545     2546   2547   2548

                              GDP ของไทย                          การส ง ออก เป น ร อ ยละของ GDP


        ทีมา: กระทรวงพาณิชย์, ธนาคารแห่งประเทศไทย
อัตราสวนก็ใช ้ “เล่าเรือง” ได ้
       ่
                                           ่       ้ ื
                                   อ ัตราสวนการใชเชอเพลิงต่อรายได้ตอห ัว ปี 2548
                                                                       ่
                                       (จํานวนต ันหรือเทียบเท่า ต่อรายได้ 1 USD)
500
450
400
350
300
250
200
150
100
 50
  0
                                                              อิ น โดนี เซี ย
                                                 ฟ น แลนด




                                                                                                              สิ งคโปร




                                                                                                                                             ฮ อ งกง
                                                                                มาเลเซี ย




                                                                                                                          ไทย




                                                                                                                                                              อิ น เดีย
                                                                                            ฟ ลิ ป ป น ส




                                                                                                                                เกาหลี ใต
         สหรั ฐ อเมริ ก า


                            ญี่ปุ น




                                                                                                                                                        จีน
                                       อั งกฤษ




      ทีมา: British Petroleum Statistical Review of World Energy 2006, World Bank
ข ้อมูล cross-section “เล่าเรือง” ได ้ดีกว่า
                สัดส่ วนหนี ต่ อรายได้ของครัวเรือนไทย แบ่งตามชันรายได้
25.0
20.0
15.0
10.0
 5.0
 0.0
       0       10      20       30          40     50       60     70      80   90   100
                             ั
                            ชนรายได ้ของครัวเรือน (percentile)
                        2000         2004        Poly. (2000)    Poly. (2004)
       ทีมา: สํานักงานสถิตแห่งชาติ
                          ิ
scale ของกราฟ มีผลทางจิตวิทยา
                             100
                                                       การบริโภคอาหารต่อปี (ต่อคน)
ปริมาณทีซอต่อปี (กิโลกรัม)




                              75


                                                                  รายได ้ของ       ปริมาณทีซอ  ื
                                                             ผู ้บริโภค (บาท)
                                                                          บาท)    ต่อปี (กิโลกรัม)
                              50
                                                                      0                 10
         ื




                                                                  5,000                 25
                                                                 10,000                 45
                              25                                 15,000                 70
                                                                 20,000                100

                               0
                                   0   10 000     20 000     30 000     40 000      50 000     60 000

                                                รายได ้ของผู ้บริโภคต่อปี (บาท)
                                                               fig
scale ของกราฟ มีผลทางจิตวิทยา (ต่อ)
                             400



                                            รายได ้ของ      ปริมาณทีซอ  ื
ปริมาณทีซอต่อปี (กิโลกรัม)




                             300
                                       ผู ้บริโภค (บาท)
                                                    บาท)   ต่อปี (กิโลกรัม)
                                                0                10
                                            5,000                25
                             200           10,000                45
                                           15,000                                    การบริโภคอาหาร
         ื




                                                                 70
                                           20,000               100                   ต่อปี (ต่อคน)
                             100




                               0
                                   0            5000             10 000          15 000       20 000
                                                 รายได ้ของผู ้บริโภคต่อปี
                                                                fig          (บาท)
เมือไหร่ท ี “ข่าวดี” เป็ นข่าวดีจริงๆ?
                      12                                                                                    15

                      11
                                                                                                            10
อัตราการว่างงาน (%)




                      10

                       9
                                                                                                            5

                       8

                                                                                                            0
                       7

                       6                                                 Unemployment
                                                                                                            -5
                       5

                       4                                                                                    -10
                           Q1   Q2   Q3   Q4   Q1   Q2   Q3         Q4   Q1   Q2   Q3   Q4   Q1   Q2   Q3

                                 1989               1990      fig             1991            1992
เมือไหร่ท ี “ข่าวดี” เป็ นข่าวดีจริงๆ? (ต่อ)
                      12                                                                                  15




                                                                                                                อัตราการเปลียนแปลงของอัตราการว่างงาน
                                                                                                                อัตราการเปลียนแปลงของอัตราการว่างงาน (%)
                                                     Rate of change
                      11                            in unemployment
                                                                                                          10
                      10
อัตราการว่างงาน (%)




                       9
                                                                                                          5

                       8

                                                                                                          0
                       7

                                                                     Unemployment
                       6
                                                                                                          -5
                       5

                       4                                                                                  -10
                           Q1   Q2   Q3   Q4   Q1    Q2   Q3   Q4    Q1   Q2   Q3   Q4   Q1    Q2    Q3
                                                               fig
                                 1989                 1990                 1991               1992
มูลค่า = ปริมาณ x ราคา
•                 ่
      การ “แยกสวน” ตัวเลขต่างๆ ออกเป็ นองค์ประกอบ จะทําให ้เราเข ้าใจได ้ดีขนว่า ใคร
                                                                            ึ
                ี
      ได ้หรือเสยประโยชน์จากตัวเลขทีสูงขึนหรือลดลง
•                         ่
      ยกตัวอย่างมูลค่าการสงออกข ้าวเปรียบเทียบ 2545 เทียบกับ 2548:
                               ่
                        มูลค่าสงออกข้าว                ่            ่
                                                      สวนต่างมูลค่าสงออก
    พันล ้านบาท                                                 23
       100                                 93                   7%    ่
                                                                     สวนต่างทีเกิดจาก
                                                                     ปริมาณข ้าว
        80
                       70
        60
                                                                      ่
                                                                     สวนต่างทีเกิดจาก
                                                               93%
        40                                                           ราคาข ้าว

        20

         0
                      2545                2548
                       ่         ่
             ทีมา: กรมสงเสริมการสงออก

•                         ่                                                ่
      จะเห็นได ้ว่ามูลค่าสงออกข ้าวทีเพิมขึนนันเกิดจากราคาขายทีสูงขึนเป็ นสวนใหญ่
                                         ่
      (93%) มาจากปริมาณเพิมขึนเป็ นสวนน ้อย (7%)
•                                            ื
      เมือเทียบตัวเลขนีกับราคาทีรัฐบาลรับซอข ้าวเปลือก จะพบว่าคนทีได ้ประโยชน์สวน ่
                                                  ่
      ใหญ่จากมาตรการนีคือพ่อค ้าคนกลาง ไม่ใชเกษตรกร
2. การเติบโตทางเศรษฐกิจ
การเติบโตทางเศรษฐกิจ
ประโยชน์ของการเติบโตทางเศรษฐกิจ
ประโยชน์ของการเติบโตทางเศรษฐกิจ
นั กเศรษฐศาสตร์โดยมากเชอว่า... ื
• การเติบโตทางเศรษฐกิจทําให ้เราผลิตทุกอย่างได ้
                            ิ
    มากขึน โดยเฉพาะสนค ้าอุปโภค
      ิ
• สนค ้าอุปโภคบริโภคมากขึน              มาตรฐานความ
    เป็ นอยูดกว่าเดิม
            ่ ี                     ี ิ
                          คุณภาพชวตดีขน    ึ
• เศรษฐกิจโต          รัฐเก็บภาษี ได ้มาก    โครงสร ้างและ
    สวัสดิการพืนฐานดีขน (ถนน โรงพยาบาล ฯลฯ)
                          ึ
                                               ่
• ความมังคังทีสร ้างนั นจะ “ไหลริน” ลงมาสูคนจนโดย
                 ่
    อัตโนมัต ิ เชน ผ่านการจ ้างงาน และเมือรัฐบาลเก็บ
                                        ่
    ภาษี จากคนรวยได ้มากขึน ก็จะชวยคนจนได ้มากขึน
“ต ้นทุน” ของการเติบโตทางเศรษฐกิจ
“ต ้นทุน” ของการเติบโตทางเศรษฐกิจ
ตัวอย่างต ้นทุนของการเติบโตทางเศรษฐกิจ
• คนรวยรวยขึน คนจนอาจจนลงหรือลําบากกว่าเดิม
   “รวยกระจุก จนกระจาย”
• “ผลไหลริน” ในความเป็ นจริงไม่คอยไหล
                                ่
            ั
• คอร์รัปชนบันทอนการกระจายรายได ้และลดทอน
   คุณภาพของบริการภาครัฐ
• องค์ประกอบของการเติบโตบางอย่างอาจไม่เป็ นผลดีตอ
                                                ่
                ่
   ประชาชน เชน เพิมงบประมาณทางทหารเกินจําเป็ น
• องค์ประกอบ (composition) สําคัญกว่า ผลรวม (sum)
ิ
ต ้นทุนด ้านสงแวดล ้อม
ี
ค่าเสยโอกาสของการเติบโตทางเศรษฐกิจ
• เนืองจากทรัพยากรมีจํากัด เราจึงมักจะต ้องเลือกว่าจะ
                                   ่
  เน ้นการผลิตอะไรมากกว่ากัน ณ ชวงเวลาใดเวลาหนึง
  ระหว่าง
           ิ
         สนค ้าทุน (capital goods) กับ
             ิ
         สนค ้าอุปโภคบริโภค (consumer goods)
                                              ั
• การเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาวต ้องอาศยการลงทุน
       ิ          ่
  ในสนค ้าทุน เชน เครืองจักร ถนนหนทาง ทรัพย์สนทางิ
  ปั ญญา อย่างต่อเนือง เนืองจากเป็ น “ปั จจัยการผลิต” ที
  ผลิตสร ้างการเติบโตในระยะยาว
• แต่ก็ละเลยสนค ้าอุปโภคบริโภคไม่ได ้ เพราะรวมปั จจัยส ี
               ิ
  + เครืองอํานวยความสะดวก + ปรับปรุงคุณภาพชวต      ี ิ
ี
ภาวะได ้อย่าง-เสยอย่างของการเติบโต
       ิ
ปริมาณสนค ้าทุน                                 ี
                                        ค่าเสยโอกาสของ
                                            ิ
                                        สนค ้าทุน K2-K1 =
    K2                                    ิ
                                        สนค ้าอุปโภคบริโภค
                                        C1-C2 ทีต ้อง
                                              ี สละ”
                                        “เสยสละ” (ไม่ได ้ผลิต)
         ประโยชน์

    K1

                         ต ้นทุน
                                                         ิ
                                                 ปริมาณสนค ้า
                    C2             C1            อุปโภคบริโภค
ั
การเติบโตและศกยภาพในการผลิต
       ิ
ปริมาณสนค ้าทุน                               ้ ั
                            เมือประเทศยังใชศกยภาพ
                            ในการผลิตไม่เต็มที
                            เศรษฐกิจจะขยายตัวจาก
                                                  ิ
                            จุด A ไป B ได ้ ทังสนค ้า
                                    ิ
                            ทุนและสนค ้าอุปโภค
                       B
   K2                       บริโภคเพิมขึน
              A
   K1




                                                ิ
                                        ปริมาณสนค ้า
                  C1   C2               อุปโภคบริโภค
ั
 ในระยะยาว ต ้องเพิมศกยภาพในการผลิต
       ิ
ปริมาณสนค ้าทุน
                            เมือประเทศผลิตเต็ม
                               ั
                            ศกยภาพแล ้ว การเติบโต
                                      ั         ั
                            ต ้องอาศยการเพิมศกยภาพ
                       B         ่
                            เชน เพิมทรัพยากร (ค ้นพบ
   K2
                  A         นํ ามัน, แรงงานต่างด ้าว)
                                                  ้าว)
   K1                                         ิ
                            หรือปรับปรุงประสทธิภาพ
                            ในการผลิต (เทคโนโลยี,
                                          ึ ษา)
                            ปรับปรุงการศกษา)



                                              ิ
                                      ปริมาณสนค ้า
                  C1   C2             อุปโภคบริโภค
ั             ั
การเพิมศกยภาพทีดีระยะสนแต่อาจไม่ยงยืน
                                 ั
        ิ
 ปริมาณสนค ้าทุน                         ั
                             การเพิมศกยภาพทีเอียง
                                       ิ
                             ไปข ้างสนค ้าอุปโภค
                                           ิ
                             มากกว่าสนค ้าทุน เชน  ่
                             เงินลงทุนจากต่างชาติ
                   A
                        B    อาจเน ้นผลิตสนค ้าิ
     K2
     K1
                             อุปโภคบริโภคเพือ
                               ่
                             สงออก ประเทศเติบโตใน
                                     ั
                             ระยะสน แต่ยงยืนหรือ
                                             ั
                                                 ิ
                             เปล่า? (อย่าลืมว่าสนค ้า
                                   ื
                             ทุนเสอมตามกาลเวลา)
                                   อมตามกาลเวลา)

                                            ิ
                                    ปริมาณสนค ้า
                   C1   C2
                                    อุปโภคบริโภค
วิวฒนาการ (?) ของระบบเศรษฐกิจ
        ั
                          ทุนนิยมเสรีมเพียงบาง
                                      ี
                          ธุรกิจในบางประเทศ ใน                          “ทุนนิยมธรรมชาติ”
ระดับเสรีภาพทางเศรษฐกิจ



                          ระดับโลกยังเป็ นทุนนิยม      ทุนนิยมเสรี       “ทุนนิยมก ้าวหน ้า”
                          สามานย์อยู่                    (แนวคิด
                                                       กระแสหลัก)
      ของประชาชน




                              ทุนนิยมผูกขาด/        ทุนนิยมในไทยยังเป็ น “ทุนนิยมสามานย์”
                              ทุนนิยมสามานย์/       อยู่ สาเหตุหลักๆ อาจเป็ นเพราะ:
                              ทุนนิยมพวกพ ้อง        • ธนกิจการเมืองยังเฟื องฟู
                                                                      ั
                                                     • โครงสร ้างศกดินา/อํานาจนิยมยังอยู่
                                                     • กฎหมายป้ องกันการผูกขาดไม่มผล ี
                          เศรษฐกิจผูกขาด                                          ั
                                                     • กฎหมายคุ ้มครองผู ้บริโภค สงคม ฯลฯ
                              โดยรัฐ                          ้
                                                         ยังใชไม่ได ้จริง


                                   ระดับความยังยืนของระบบเศรษฐกิจ
ั
ปั ญหาของสงคม: ‘มายาคติ’ ทีไม่เป็ นจริง (1)
          มายาคติ                          ข้อเท็ จจริง
        ื
• เงินซอได ้ทุกอย่าง                      ื
                                   • เงินซอความสุข, ความ
                       ั
• GDP วัด ‘สุขภาพสงคม’ ได ้          ปลอดภัย, ฯลฯ ไม่ได ้ ถ ้า
• ประโยชน์จากทุนนิยมเสรี จะ          กลไกต่างๆ ไม่ทํางาน
                 ่
  ‘ไหล’ ลงมาสูคนทุกระดับชน     ั   • Human Development
  เอง โดยทีรัฐไม่ต ้อง               Index (Amartya Sen) วัด
  แทรกแซงตลาด – “The                 ระดับ ‘ความสุข’ ของ
  rising tide lifts all boats”       ประชาชนได ้ดีกว่า GDP
                    ่
• รัฐไม่ควรแตะ “สวนเกิน”           • ความมังคังของคนจํานวน
  ของคนรวย เพราะสวนเกิน  ่           มากมาจากมรดกหรือการเก็ง
  เหล่านันมาจากการทํางาน                        ่
                                     กําไร ไม่ใชการทํางานหนัก
          ึ
  หนักซงก่อให ้เกิดผลผลิตที        • “In the long run, we’re all
  เป็ นประโยชน์                      dead” (John M. Keynes)
ั
ปั ญหาของสงคม: ‘มายาคติ’ ทีไม่เป็ นจริง (2)
         มายาคติ                        ข้อเท็ จจริง
           ่
• ทุกภาคสวนควรมุงเน ้นการ
                  ่                     ิ
                               • ประสทธิภาพอย่างเดียวอาจไม่ทํา
             ิ
  สร ้างประสทธิภาพสูงสุด                                   ั
                                 ให ้เกิดความเป็ นธรรมในสงคม
                                                      ั
                                 (หรืออย่างน ้อยก็สงคมทีมี
  อย่างเดียว                     มนุษยธรรม) : สถานการณ์ทมี    ี
• เนืองจากระบบตลาดเป็ น          เศรษฐีไม่กคนในขณะทีคนหลาย
                                              ี
  ระบบทีดีทสุดในการสร ้าง
               ี                 ล ้านคนต ้องอดอาหารตายอาจ “มี
        ิ                                 ิ
                                 ประสทธิภาพสูงสุด” (Pareto
  ประสทธิภาพ รัฐจึงควรปล่อย
                                 optimal) แล ้ว หากไม่มทางทีจะ
                                                         ี
  ให ้ระบบตลาดทํางานด ้วยตัว       ่              ี ิ
                                 ชวยให ้ใครรอดชวตโดยไม่ทําให ้
  ของมันเอง                                 ี
                                 เศรษฐีเสยประโยชน์
                               • มีแนวโน ้มสูงทีจะเกิด “ทุนนิยม
                                 สามานย์” หากรัฐไม่ควบคุมตลาด
                                 อย่างแข็งขันและเป็ นอิสระอย่าง
                                 แท ้จริงจากภาคธุรกิจ
ั
ปั ญหาของสงคม: ‘มายาคติ’ ทีไม่เป็ นจริง (3)
        มายาคติ                       ข้อเท็ จจริง
                ี ั
• สมองมนุษย์มศกยภาพ                      ิ
                              • ปั ญหาสงแวดล ้อมหลาย
  พอทีจะเข ้าใจการทํางานของ                ่
                                ประการ เชน โลกร ้อน กําลัง
  ธรรมชาติอย่างสมบูรณ์          บ่อนทําลายโลก และชดเจน  ั
• ธรรมชาติเปรียบเสมือนเป็ น     ว่าเกิดจากนํ ามือมนุษย์
  ‘เครืองจักร’ ทีเดินอย่าง    • กฎวิทยาศาสตร์ใหม่ๆ เชน    ่
  เทียงตรงตามกฎเกณฑ์            Relativity, Uncertainty,
  แน่นอนตายตัว                  Incompleteness พิสจน์ู
• ดังนัน มนุษย์จงสามารถ
                  ึ                ั
                                ชดเจนว่า ความไม่แน่นอน
  เอาชนะและควบคุมธรรมชาติ                      ั
                                และความไม่สมบูรณ์เป็ นสจ    ั
  ได ้                          ธรรมของโลก และพรมแดน
                                ความรู ้ของมนุษย์แปลว่าไม่ม ี
                                วัน ‘เอาชนะ’ ธรรมชาติได ้
ั
ปั ญหาของสงคม: ‘มายาคติ’ ทีไม่เป็ นจริง (4)
          มายาคติ                           ข้อเท็ จจริง
• ทุกบริษัทควรตังเป้ าหมายที     • ปั ญหาข ้อมูลไม่เท่าเทียมกัน
  “ผลตอบแทนสูงสุดต่อผู ้ถือ        (asymmetric information)
                                   ระหว่างผู ้บริหารบริษัทกับผู ้ถือหุ ้น
  หุ ้น” เพราะผู ้ถือหุ ้นย่อม     และระหว่างบริษัทกับผู ้บริโภค/
  คํานึงถึงประโยชน์ของ                ั
                                   สงคม ทําให ้เกิดการหลอกลวงและ
    ่
  สวนรวมอยูแล ้ว
              ่                    ฉ ้อฉลง่ายและปกปิ ดง่ายด ้วย
• ดังนัน บริษัททีมุงเน ้น
                       ่         • ทุกฝ่ ายมีผลประโยชน์ทับซอน        ้
                     ่
  เป้ าหมายนีจะชวยให ้เกิด       • แนวโน ้มทีจะได ้กําไรสูงกว่าจาก
                           ่                                ั
                                   การเก็งกําไรระยะสนในตลาดหุ ้น
  ประโยชน์สงสุดต่อสวนรวม
                ู
                                   เทียบกับเงินปั นผลในระยะยาวทํา
  โดยอัตโนมัต ิ                    ให ้ผู ้ถือหุ ้น ‘มักง่าย’ กว่าทีควร
                                 • ผู ้ถือหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์
                                   สมัยใหม่ไม่กระจุกตัวเหมือนใน
                                   อดีต – ‘ความเป็ นเจ ้าของ’ ลดลง
ั
ปั ญหาของสงคม: ‘มายาคติ’ ทีไม่เป็ นจริง (5)
          มายาคติ                            ข้อเท็ จจริง
• ทุกคนควรทําแต่ในสงที      ิ    • นอกเหนือจากเงิน ภาคสงคมยัง      ั
            ี
  ตัวเองเชยวชาญทีสุด ภาค           ต ้องการระบบ & องค์ความรู ้ในการ
                                                         ึ
                                   บริหารจัดการ ซงภาคธุรกิจมี
  ธุรกิจก็ควรทําธุรกิจ ภาค                             ี
                                   ความรู ้ความเชยวชาญดีทสุด         ี
    ั
  สงคมก็ทํางานด ้านสงคม   ั      • ระบบราชการของรัฐยังไร ้
  ภาครัฐก็นําเงินภาษี ไปสร ้าง               ิ
                                   ประสทธิภาพ คอร์รัปชน และไม่ ั
  ระบบสวัสดิการสงคม ั              เหลียวแลผู ้ด ้อยโอกาสทีสุด ซงไม่         ึ
                      ่                    ิ   ี ี
                                   มีสทธิมเสยงในระบอบการเมือง
• นักธุรกิจทีอยากชวยเหลือ
        ั
  ภาคสงคมนอกเหนือจากเงิน         • ‘สงคมสงเคราะห์’ ไม่สามารถใช ้
                                       ั
                                                     ิ
                                   แก ้ปั ญหาเชงโครงสร ้าง เชน ความ    ่
  ภาษี ทจ่ายรัฐ ก็ทําได ้โดย
          ี                              ี       ี ิ
                                   เสยงในชวตและทรัพย์สน ไม่ม ี   ิ
                  ั
  ผ่านกิจกรรม ‘สงคม                                          ึ
                                   ทีดินทํากิน ไร ้การศกษา ฯลฯ
                        ่
  สงเคราะห์’ ต่างๆ เชน การ       • ผู ้ทําหน ้าทีบริหารเงินได ้ดีทสุดคือ ี
  บริจาค เท่านันก็พอแล ้ว                                  ่
                                   นักการเงิน ไม่ใชนักพัฒนาสงคม            ั
ั
ปั ญหาของสงคม: ‘มายาคติ’ ทีไม่เป็ นจริง (6)
          มายาคติ                             ข้อเท็ จจริง
          ิ      ่
• กรรมสทธิสวนบุคคลเป็ น            • คนจํานวนมากไม่ได ้สร ้างสรรค์เพือ
  ปั จจัยสําคัญในการผลักดัน          เงิน แต่เพือแบ่งปั นให ้กับผู ้อืน
  ความเจริญทางเศรษฐกิจ             • พืนทีสาธารณะมากมายมีสมาชกใน          ิ
                                     ชุมชนเป็ นผู ้ร่วมกันดูแลอย่างดีโดย
  เพราะคนทีสามารถอ ้าง               ไม่เคยต ้องมีเอกสารสทธิ  ิ
  ‘ความเป็ นเจ ้าของ’ เท่านัน ที                  ิ
                                   • ระบบลิขสทธิทีเข ้มงวดคุ ้มครอง
  จะมีแรงจูงใจในการผลิตงาน           ผู ้สร ้างมากเกินไป และนํ าไปสูการ ่
• ‘พืนทีสาธารณะ’ ทีปราศจาก           ผูกขาดความรู ้ ต่อยอดไม่ได ้
  เจ ้าของจะไร ้คนดูแล             • ในหลายกรณี ความเห็นแก่ตวของ      ั
                                     นักธุรกิจหน ้าเลือดและความไร ้
• ดังนัน รัฐจึงต ้องตีกรอบและ                 ิ
                                     ประสทธิภาพของรัฐ คือสาเหตุท ี
               ิ    ่
  มอบกรรมสทธิสวนบุคคล                พืนทีสาธารณะทรุดโทรม
                       ิ
  และคุ ้มครองกรรมสทธินัน                              ิ
                                   • ระบบยอมออกสทธิบตรแม ้กระทัง
                                                            ั
  อย่างเคร่งครัด                                    ่
                                     ธรรมชาติ เชน DNA, พันธุพช   ์ ื
GDP เป็ นองค์ประกอบเดียวของ “ความสุข”




    ทีมา: Deutsche Bank Research, 2007
                                         53
เศรษฐกิจขับเคลือนด ้วยพลังงานทีไม่ยงยืน
                                   ั




     ทีมา: Carol King, “Will we always be more capable in the future?”;
          Worldchanging.com -                                             54
           http://www.worldchanging.com/archives/007962.html
ความสําคัญของ “ความยุตธรรมทางสงคม”
                      ิ       ั
• การเติบโตของเศรษฐกิจทีมี “ฐานกว ้าง” นันคือ เติบโต
               ่                            ่
  ในทางทีคนสวนใหญ่ได ้ประโยชน์ ไม่ใชในทางทีความ
                             ั
  มังคังกระจุกตัวอยูในมือชนชนนํ านั น เป็ นการเติบโตที
                      ่
                  ี ิ
  ทําให ้คุณภาพชวตของคนดีขน และเอืออํานวยต่อ
                               ึ
                         ึ ่              ั
  กระแสประชาธิปไตย ซงชวยให ้คนในสงคมรู ้จักอดทน
  อดกลันต่อความคิดเห็นทีแตกต่าง แทนทีจะทะเลาะจน
          ่
  นํ าไปสูความรุนแรง หรือถูกกดขีโดยผู ้ครองอํานาจ
• การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที “ดี” ทีมีฐานกว ้าง จึง
     ่      ั
  ชวยให ้สงคมมีระดับ “คุณธรรม” สูงขึนกว่าเดิม และ
                                      ั            ั
  ระดับคุณธรรมทีสูงขึนนั นก็จะทําให ้สงคมยังยืน มีสนติ
                                 ั
  สุขและเสถียรภาพมากกว่าในสงคมทีความเจริญกระจุก
  ตัวอยูในมือคนเพียงไม่กคน
        ่                 ี
                                                    55
ลักษณะของนโยบายพัฒนาในอุดมคติ
                         ่
• ตังเป้ าหมายทีการสงเสริมและดํารง “ความอยูดมสข”  ่ ี ี ุ
  ของประชาชนในสงคม     ั
     ้
• ใชทรัพยากรธรรมชาติอย่างยังยืน : “การพัฒนาอย่าง
  ยังยืน” (Sustainable Development) หมายความว่า
          ้
  ไม่ใชทรัพยากรธรรมชาติในอัตราทีเร็วกว่าความสามารถ
  ของมนุษย์ในการผลิตทรัพยากรทดแทน และไม่ทง              ิ
  ทรัพยากรธรรมชาติในอัตราทีเร็วกว่าอัตราทีธรรมชาติจะ
                  ั
  สามารถดูดซบมันกลับเข ้าไปในระบบ
                             ี
• ประเมินผลดีและผลเสยจากนโยบายอย่างรอบคอบ
  สําหรับผู ้มีสวนได ้เสยทุกฝ่ าย โดยเฉพาะผู ้ด ้อยโอกาส
                ่          ี
• มองทรัพยากรทีมีวันหมดต่างๆ รวมทังผลกระทบ
  ภายนอกว่าเป็ น “ต ้นทุน” ทีผู ้ก่อต ้องรับภาระ          56
ลักษณะของนโยบายพัฒนาในอุดมคติ (ต่อ)
                                   ั
 • เป้ าหมายควรอยูทการพัฒนา “ศกยภาพ” ของมนุษย์
                     ่ ี
            ่
   ไม่ใชแค่ “ระดับรายได ้” (Amartya Sen)
     ่                         ั
 • สงเสริม “ความยุตธรรมทางสงคม” โดยรัฐต ้องคุ ้มครอง
                       ิ
         ิ
   สทธิมนุษยชนขันพืนฐานของประชาชน จัดบริการ
   สาธารณูปโภคขันพืนฐานทีได ้คุณภาพ ดําเนินนโยบาย
   ทีมีจดมุงหมายทีการลดความเหลือมลําทางรายได ้ และ
           ุ ่
       ่         ่
   สงเสริมการมีสวนร่วมทางการเมืองของประชาชน
 • สามารถรองรับความหลากหลายของแต่ละวัฒนธรรม
                                     ้
   ท ้องถินในทุกระดับได ้ เพราะการใชชุดนโยบายพัฒนาที
   ยัดเยียดแบบ “สําเร็จรูป” อาจนํ าไปสูความขัดแย ้งและ
                                       ่
                   ั
   ความรุนแรงในสงคม และดังนั นจึงไม่อาจเรียกว่าเป็ น
   ระบบเศรษฐกิจทียังยืนได ้                           57
อนาคต ?                            มุงทําเงินสูงสุด
                                     ่
1000   CO2                           CO2 850 ppm
       ppm                          อุณหภูม ิ +6ºC
900


800
                                             มุงทําเงิน +
                                               ่
                                           พลังงาน“สะอาด”
700
                                               CO2 590 ppm
600                                          อุณหภูม ิ +2.4ºC

500                                              ิ
                                           เงิน+สงแวดล ้อม
                                            ประสานทังโลก
400
                                                  CO2 550 ppm
                                                 อุณหภูม ิ +2ºC
         380ppm
300

       2000   2020   2040   2060   2080   2100
มุงทําเงินสูงสุด vs เงิน+สงแวดล ้อม
             ่                       ิ
          + พลังงานสะอาด ประสานทังโลก



                                   การตลาด
                                  เพือทิงขว ้าง




                                      บริโภค                จํากัด
สกัด         ผลิต       จัดจําหน่าย                            ขยะ
วัตถุดบ
      ิ       ิ
             สนค ้า

                                          ที่มา : www.storyofstuff.com
มุงทําเงินสูงสุด vs เงิน+สงแวดล ้อม
             ่                       ิ
          + พลังงานสะอาด ประสานทังโลก


                              ผลิต
                               ิ
                              สนค ้า




                      ยังยืน           จัดจําหน่าย
สกัด
วัตถุดบ
      ิ


                            บริโภค
3. พืนฐานเรืองระบบตลาด
ความรู ้ทัวไปเกียวกับ “ตลาด”
 ในทางเศรษฐศาสตร์ “ตลาด” หมายถึงบริบททีมีการตก
       ื     ิ                        ้ ื
 ลงซอขายสนค้าหรือบริการระหว่างผูซอกับผูขาย       ้
 โดยทีทังสองฝ่ ายไม่จําเป็ นต ้องมาพบปะกันโดยตรงหรือ
 มีสถานทีตังทีแน่นอน ตราบใดทีมีการตกลงซอขาย    ื
   ิ
 สนค ้าหรือบริการ ก็ถอว่าตลาดได ้เกิดขึนแล ้ว อาจไม่
                        ื
         ่        ํ
 ต ้องสงมอบและชาระเงินกันในทันทีก็ได ้
                    ื     ิ
 หากมีการตกลงซอขายสนค ้าหรือบริการชนิดใด ก็มักจะ
           ื   ิ                    ่
 เรียกชอตามสนค ้าหรือบริการนั น เชน “ตลาด
                                             ิ
 ข ้าวเปลือก” หรืออาจเรียกตามประเภทของสนค ้าทีซอ     ื
                      ่
 ขายกันโดยรวม เชน “ตลาดผลผลิต” หรือ “ตลาด
 การเงิน” หรืออาจแยกพิจารณาตามขอบเขตบริเวณ เชน         ่
 “ตลาดในประเทศ” และ “ตลาดโลก” เป็ นต ้น
                                                     62
ความรู ้ทัวไปเกียวกับ “ตลาด” (ต่อ)
 “ระบบตลาด” คือระบบเศรษฐกิจทีเน ้นภาคการผลิต,
             ิ                        ิ
 การกระจายสนค ้า และการแลกเปลียนสนค ้าเป็ นหลัก
 ควบคุมโดยปั จเจกบุคคลหรือบรรษั ทเอกชนมากกว่า
                                        ่
 รัฐบาล หากรัฐเข ้ามาแทรกแซงก็ถอเป็ นสวนน ้อย
                                ื
                                             ื
 โครงสร ้างตลาด หมายถึง จํานวนผู ้ขายและผู ้ซอทีมีอยู่
           ิ
 ในตลาดสนค ้าหรือบริการชนิดนั นๆ รวมถึง
 สภาพแวดล ้อมในการแข่งขัน
                             ิ
 ราคาและปริมาณผลผลิตของสนค ้าหรือบริการจะถูก
 กําหนดขึนมาได ้อย่างไร ย่อมขึนอยูกบโครงสร ้างตลาด
                                  ่ ั


                                                    63
ข ้อสมมติของระบบตลาด
 หากแบ่งประเภทตลาดตามโครงสร ้างจะแบ่งได ้เป็ น 2 ประเภท คือ ตลาด
 แข่งขันสมบูรณ์ (perfect competition) และตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
 (imperfect competition)
 ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ หมายถึงตลาดทีมีลกษณะดังต่อไปนี
                                             ั
              ื
      มีผู ้ซอผู ้ขายจํานวนมาก และเป็ นรายเล็ก ๆ หรือรายย่อยเท่านัน ผู ้ผลิตแต่
                          ิ
      ละรายเป็ นผู ้ขายสนค ้าตามราคาตลาดหรือเป็ นผู ้รับราคา (price taker)
      ผู ้ขายสามารถเข ้าและออกจากตลาดได ้อย่างอิสระ (free-entry and
      free-exit) โดยไม่ถกกีดกัน
                            ู
        ิ
      สนค ้าของผู ้ขายแต่ละรายมีลกษณะเหมือนกันทุกประการ
                                    ั
                                                  ้
      (homogeneous products) จึงสามารถใชทดแทนกันได ้อย่างสมบูรณ์
            ื
      ผู ้ซอและผู ้ขายมีความรอบรู ้ในข ้อมูลข่าวสารอย่างสมบูรณ์ (perfect
                                      ิ
      information) การเคลือนย ้ายสนค ้าและทรัพยากรการผลิตสามารถทําได ้
      อย่างสะดวกและรวดเร็ว
                                         ื              ่
 ในทางทฤษฎี ตลาดแข่งขันสมบูรณ์คอตลาดทีนํ าสงประโยชน์สทธิสงสุดต่อ ุ   ู
                              ิ                     ่ ุ
 ทุกฝ่ าย เป็ นตลาดทีมีประสทธิภาพ ปรับตัวเข ้าสูดลยภาพได ้อย่างรวดเร็ว
 ล ักษณะของตลาดแข่งข ันสมบูรณ์ จึงเปน “เงือนไขแห่งความสาเร็ จ”
                                               ็                       ํ
                                                                             64
 ของระบบตลาด
เงือนไขแห่งความสําเร็จของระบบตลาด
            ู้ ื
 การมีผซอและผูขายเปนจํานวนมาก และแต่ละรายเปนราย
                         ้   ็                              ็
                                         ิ
 เล็ ก ๆ หรือรายย่อย แสดงว่า ปริมาณสนค ้าของผู ้ผลิตแต่ละ
               ั ่                           ิ
 รายจะมีสดสวนเพียงน ้อยนิดเมือเทียบกับสนค ้าทังหมดในตลาด
 ดังนันหากผู ้ผลิตรายหนึงรายใดเปลียนแปลงพฤติกรรมในการ
                     ่                 ิ
 ผลิต ก็จะไม่สงผลกระทบต่อปริมาณสนค ้าในตลาด กล่าวคือ จะ
 ไม่มผู ้ผลิตใดมีอทธิพลเหนือตลาดในแง่ทจะกําหนดปริมาณหรือ
      ี                ิ                   ี
          ิ
 ราคาสนค ้าชนิดนันได ้ แม ้คิดจะรวมตัวกันก็ทําได ้ยาก และผู ้ผลิต
                                                          ื
 แต่ละรายต ้องเป็ นผู ้รับราคา ในทํานองเดียวกัน ฝ่ ายผู ้ซอก็เป็ น
                                ่
 รายเล็กๆ และมีจํานวนมากเชนกัน จึงไม่สามารถรวมตัวเพือ
 เรียกร ้องให ้ฝ่ ายผู ้ขายลดราคาลงมาตามความต ้องการของ
 ตนเองได ้
                   ิ
 ดังนัน ราคาสนค ้าจึงถูกกําหนดโดยกลไกของตลาด = อุปสงค์
 และอุปทานของตลาด                                                  65
เงือนไขแห่งความสําเร็จของระบบตลาด (ต่อ)
  การทีผูผลิตสามารถเข้าและออกจากตลาดได้อย่างอิสระ
            ้
  แสดงว่าถ ้าผู ้ผลิตรายใหม่จะเข ้ามาทําการผลิตเพือแข่งขันกับ
  ผู ้ผลิตทีมีอยูเดิมก็ยอมทําได ้ เพราะไม่มข ้อกีดกันใดๆ ไม่วาจะ
                 ่        ่                  ี               ่
  เป็ นกฎเกณฑ์ของรัฐ หรือการรวมตัวกันของผู ้ผลิตรายเดิมเพือ
                                      ั    ่
  กีดกันรายใหม่ (collusion หรือ “ฮว”) สวนผู ้ผลิตรายเดิม ถ ้าจะ
  ออกจากตลาดหรือเลิกกิจการไป ก็สามารถทําได ้ง่ายโดยไม่ม ี
  อุปสรรคใดๆ เชนกัน ่
                        ี
  คุณสมบัตข ้อนีบ่งชว่า ผู ้ผลิตแต่ละรายสนองตอบต่อแรงจูงใจ
              ิ
  ทางราคาได ้อย่างรวดเร็ว




                                                               66
เงือนไขแห่งความสําเร็จของระบบตลาด (ต่อ)
            ิ
  การทีสนค้าของผูผลิตแต่ละรายมีล ักษณะเหมือนก ันทุก
                        ้
              ึ           ิ
  ประการ ซงทําให ้สนค ้าของผู ้ผลิตแต่ละรายสามารถใชทดแทน    ้
                                             ื                 ื
  กันได ้อย่างสมบูรณ์นัน แสดงให ้เห็นว่าผู ้ซอหรือผู ้บริโภคจะซอ
    ิ                                  ิ       ื ิ
  สนค ้าของผู ้ผลิตรายใดก็ได ้ การตัดสนใจซอสนค ้าของผู ้บริโภค
  รายใดขึนอยูกบราคาเพียงประการเดียว นันคือ ถ ้าผู ้ผลิตรายใด
                ่ ั
                                     ื
  ขายตํากว่ารายอืนๆ ผู ้บริโภคก็จะซอจากผู ้ผลิตรายนัน ในทาง
  ตรงกันข ้ามหากผู ้ผลิตรายใดขายในราคาทีสูงกว่ารายอืนๆ
                    ื ิ
  ผู ้บริโภคจะไม่ซอสนค ้าของผู ้ผลิตรายนัน
   ั ้ ื
  ทงผูซอและผูขายมีขอมูลครบถ้วนสมบูรณ์และเท่าเทียมก ัน
              ้       ้
                    ิ
  และการเคลือนย ้ายสนค ้าสามารถได ้อย่างสะดวกและรวดเร็วด ้วย


                                                               67
ประโยชน์ของระบบตลาด
 เศรษฐกิจแบบตลาดโดยธรรมชาติของตัวมันเอง มีลกษณะออก ั
 จากศูนย์กลาง, ยืดหยุน, ได ้ผลในทางปฏิบต ิ และเปลียนแปลงได ้
                       ่                   ั
 การกําหนดราคาเกิดขึนจากกลไกของ “มือทีมองไม่เห็น”
 สาเหตุหลักทีทําให ้เศรษฐกิจแบบตลาดได ้ผลในทางปฏิบต ิ คือ
                                                       ั
 หลักการของมันให ้ความสําคัญกับ “ประสทธิภาพ” และ “เสรีภาพ”
                                         ิ
   ึ
 ซงในทีนีหมายถึง
                                               ิ
     “เสรีภาพ” ของผู ้บริโภคทีจะเลือกบริโภคสนค ้าหรือบริการใด ๆ
     ทีมีอยูในตลาดทีผู ้ผลิตแข่งขันกันเสนอให ้
            ่
     “เสรีภาพ” ของผู ้ผลิตทีจะเริมหรือขยายธุรกิจและรับหรือ
                    ี
     กระจายความเสยง รวมทังผลตอบแทนออกไปได ้
                                                 ี
     “เสรีภาพ” ของแรงงานทีจะเลือกงานหรืออาชพ เข ้าร่วมกับ
     สหภาพแรงงาน หรือแม ้แต่เปลียนเจ ้านายได ้
                                                            68
ขีดจํากัดของระบบตลาด
 ระบบตลาดเอือให ้เกิดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และ
                                                  ิ
 ความก ้าวหน ้าทางเทคโนโลยี และการปรับปรุงประสทธิภาพอย่าง
 ต่อเนือง
 แต่ระบบตลาดไม่มภมคุ ้มกันหรือกลไกใดๆ สําหรับประเด็นความ
                   ี ู ิ
               ั
 ยุตธรรมทางสงคม นโยบายสาธารณะ และ “ผลกระทบต่อ
    ิ
                            ่
 ภายนอก” (externalities) เชน เงินเฟ้ อ, การว่างงาน, มลภาวะ,
                       ี ิ
 ความเหลือมลําของชวตความเป็ นอยู, ความยากจน และอุปสรรค
                                    ่
 ทางการค ้าระหว่างประเทศ
                 ่
 สถาบันอืนๆ เชน รัฐ และ ชุมชน มีบทบาทในการแก ้ไขปั ญหาที
 ระบบตลาดไม่สามารถแก ้ไขเองได ้ (“ความล ้มเหลวของตลาด”)
 และจัดการกับประเด็นสาธารณะทีอยูนอกขอบเขตของระบบตลาด
                                  ่


                                                         69
ความล ้มเหลวของตลาด
ความล ้มเหลวของตลาด (Market Failure) หมายถึง ภาวะทีกลไก
                                      ิ
ตลาดไม่สามารถจัดสรรทรัพยากรให ้มีประสทธิภาพได ้ หรือภาวะที
ตลาดไม่สามารถตอบสนองความต ้องการของสาธารณะทังในแง่ของ
                      ิ
ปริมาณหรือราคาของสนค ้าได ้ รวมทังการทีตลาดไม่สามารถสะท ้อน
ต ้นทุนหรือประโยชน์ทแท ้จริงได ้
                    ี

สาเหตุแห่งความล ้มเหลวประการหลักๆ ได ้แก่
1) สารสนเทศไม่สมบูรณ์ คือสถานการณ์ทฝ่ ายหนึงมีข ้อมูล
                                              ี
มากกว่าอีกฝ่ ายหนึง ทําให ้เกิดปั ญหาเชน ่
                                                  ิ
   ปั ญหา Lemon market คือตลาดทีผู ้ขายรู ้ว่าสนค ้ามีคณภาพตํา
                                                         ุ
           ื                 ่
   แต่ผู ้ซอรู ้ไม่มากเท่า เชน ตลาดรถมือสอง วิธแก ้ไขคือผู ้ขายต ้อง
                                                ี
             ื   ี                     ื
   สร ้างชอเสยง (Reputation) ให ้ผู ้ซอไว ้วางใจ หรือสร ้างมาตรฐาน
      ิ
   สนค ้า (Standardize)                                         70
ความล ้มเหลวของตลาด (ต่อ)
1) สารสนเทศไม่สมบูรณ์ (ต่อ)
                                                ิ
  ปั ญหา Adverse selection เกิดเมือกําหนดให ้สนค ้าบริการทีมี
                                         ิ
  คุณภาพต่างกันมีราคาเท่ากัน จนทําให ้สนค ้าและบริการทีมี
                 ิ
  คุณภาพตําไล่สนค ้าคุณภาพสูงออกไปจากตลาด วิธแก ้ไขคือี
        ่ ั                                        ื
  การสงสญญาณตลาด (market signaling) ให ้ผู ้ซอรู ้ข ้อมูลของ
     ิ
  สนค ้าบริการนัน ๆ มากขึนกว่าเดิม
  ปั ญหา Moral hazard เกิดขึนจากการทีฝ่ ายหนึงเปลียนแปลง
  พฤติกรรมจากเดิมไปจนทําให ้อีกฝ่ ายหนึงทีมีต ้นทุนในการติดตาม
  พฤติกรรมสูง (high monitoring cost) และต ้องรับภาระจาก
  พฤติกรรมนันๆ
                                                        ่
  ปั ญหา Principal-agent เกิดขึนจากการที agent (เชน นายหน ้า
  ขายบ ้าน) ทํางานเพือความต ้องการของตนเอง โดยไม่สนความ
  ต ้องการของ Principal (ลูกค ้า) และ Principal มีต ้นทุนในการ
  ติดตามพฤติกรรมของ agent สูง                                71
ความล ้มเหลวของตลาด (ต่อ)
2) ผลกระทบภายนอก (externalities) เป็ นผลกระทบทีมีตอ            ่
   บุคคลทีสามทีไม่ได ้ตังใจให ้เกิด และต ้นทุนจากผลกระทบไม่ได ้
   ถูกนับรวมเข ้าไปในต ้นทุนของผู ้ผลิต ผลกระทบภายนอกมีทง    ั
                             ่
   ด ้านดีและด ้านไม่ด ี เชน การกระจายความรู ้ด ้านเทคโนโลยี
   (technology spillover) หรือ มลพิษทีเกิดจากโรงงาน ปั ญหานี
   แก ้ไขได ้โดยการพยายามนํ าผลกระทบภายนอกมาคิดเป็ นต ้นทุน
   ของผู ้ผลิตให ้ได ้ (internalize externalities)
3) อํานาจเหนือตลาด คือมีผู ้ผลิตรายหนึงรายใดทีมีอํานาจมากกว่า
                                               ึ
   ผู ้ผลิตอืน ๆ ทําให ้เกิดการผูกขาด นํ ามาซงการกําหนดราคาทีไม่
                                ่
   เป็ นไปตามกลไกตลาด เชน ราคาสูงเกินควร
       ิ                                         ิ
4) สนค้าสาธารณะ (public goods) คือสนค ้าทีใชแล ้วไม่หมด้
   ไปและไม่สามารถกีดกันผู ้อืนในการบริโภคได ้ ก่อให ้เกิดปั ญหา
                                            ิ
   “free-riders” คือผู ้ทีได ้ประโยชน์จากสนค ้าหรือบริการ โดยทีไม่
                           ้
   จ่ายราคาในการใชนัน เมือมีปัญหานีมากเข ้าจะทําให ้ไม่มผู ้ใด
                                                           ี
                         ิ
   ยอมจ่าย สุดท ้ายสนค ้าชนิดนันก็จะไม่เกิดขึนในตลาด             72
การแทรกแซงของรัฐเพือแก ้ความล ้มเหลวของ
                                     ี
ตลาด – แต่ต ้องระวังเรืองได ้อย่าง-เสยอย่าง
  การแทรกแซงราคาหรือการควบคุมราคา
  กฎระเบียบป้ องกันการผูกขาด
            ่
  นโยบายสงเสริมการแข่งขัน
          ้
  การใชนโยบายภาษี เพือกําจัดแรงจูงใจหรือเพิมต ้นทุนในการทํา
                                                ่
  กิจกรรมทีมีผลกระทบต่อภายนอกในทางลบ เชน ภาษี นําเสย     ี
  ภาษี ขยะ ภาษี สารเคมี ภาษี กําไรจากการผูกขาด เป็ นต ้น
                                                    ่
  การสนับสนุนกิจกรรมทีเกิดประโยชน์ตอสาธารณะ เชน การจัดให ้
                                       ่
     ิ                           ่            ิ
  มีสนค ้าสาธารณะ การให ้ความชวยเหลือหรือสทธิพเศษ เป็ นต ้น
                                                  ิ
                        ่    ื
  นักเศรษฐศาสตร์บางสวนเชอว่า ระบบตลาดเสรีในตัวของมันเอง
  ย่อมมีปัญหาอยูแล ้ว ดังนันจึงมองว่าความล ้มเหลวของตลาดเป็ น
                 ่
  ภาวะปกติของระบบตลาด

                                                          73
4. พรมแดนของเศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์กระแสหลัก
• เศรษฐศาสตร์กระแสหลัก หมายถึง “กระบวนทัศน์
                             ่       ้
  หลัก” ทีนักเศรษฐศาสตร์สวนใหญ่ใชวิเคราะห์และ
  อธิบายปรากฎการณ์ทางเศรษฐกิจในปั จจุบน ปั จจุบน
                                          ั      ั
  หมายถึง สํานั กคลาสสค หรือสํานั กนีโอคลาสสค
                       ิ                     ิ
           ้
• นิยมใชแบบจําลองทางคณิตศาสตร์หรือเศรษฐมิตเป็ นิ
  เครืองมือในสร ้างแบบจําลองหรือทฤษฎีตางๆ ในการ
                                        ่
  วิเคราะห์
                           ั
• ข ้อสมมติหลักคือ คนเป็ นสตว์เศรษฐกิจ และตลาดเสรี
         ิ
  มีประสทธิภาพสูงสุด
เศรษฐศาสตร์กระแสรอง
• ยังมีนักเศรษฐศาสตร์คนอืนๆ ทีมองต่างออกไป.....
            ั
• และสงสยในข ้อสมมติหลักว่าในโลกความเป็ นจริง มัน
          ่
  เป็ นเชนนั นหรือไม่
• ถ ้าข ้อสมมติเป็ นจริง ทําไมจึงยังเกิดภาวะเศรษฐกิจ
  ตกตําครังใหญ่ขน และตามมาด ้วยวิกฤตเศรษฐกิจและ
                    ึ
                                         ่
  การเงินหลายครัง นั กเศรษฐศาสตร์สวนหนึงจึงหันไป
  หาทางออกอืนๆ
   – สํานักเคนส ์
   – สํานักนีโอเคนส ์
   – ฯลฯ
พรมแดนของเศรษฐศาสตร์
• เมือมีการพัฒนาความรู ้ต่างๆ มากขึน พรมแดนของ
  เศรษฐศาสตร์ก็ขยายกว ้างขึน แตกแขนงออกเป็ น
  หลายสาขา
  –   เศรษฐศาสตร์การเมือง
  –   เศรษฐศาสตร์สถาบัน
  –               ิ
      เศรษฐศาสตร์สงแวดล ้อม
  –   เศรษฐศาสตร์ความสุข
  –   เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม
เศรษฐศาสตร์การเมือง
             ึ                                  ั
• คือ การศกษาทางเศรษฐศาสตร์ทนํ าเอาปั จจัยด ้านสงคม
                                 ี
  เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม ประเพณี กฎหมาย พฤติกรรม
                        ั              ึ
  ของมนุษย์ อํานาจ ชนชน ฯลฯ เข ้ามาศกษาด ้วย
• เพืออธิบายว่าสถาบันการเมือง, สภาวะแวดล ้อมทางการเมือง
  และระบบเศรษฐกิจมีอทธิพลต่อกันอย่างไร
                      ิ
                                                  ่
• หรืออาจหมายรวมถึงหัวข ้อเรืองนโยบายสาธารณะ เชน นโยบาย
  การคลัง, นโยบายการปกป้ องตลาด และการแสวงหาค่าเชาทาง่
  เศรษฐกิจ
       ิ ิ                                 ึ
• อ. ศรพร ยอดกมลศาสตร์ นิยามว่า “เป็ นการศกษาเรือง
           ั    ิ
  ความสมพันธ์เชงอํานาจ ทีโยงยึดอยูกบผลประโยชน์ทาง
                                   ่ ั
  เศรษฐกิจ”
เศรษฐศาสตร์การเมือง
                ึ
• โดยวิธการศกษาหรือการตังข ้อสมมติ มักจะวิเคราะห์ท ี
            ี
                          ้
  โครงสร ้างมากกว่าทีจะใชเทคนิคทางคณิตศาสตร์ พูดง่ายๆ ว่า
              ึ                    ิ ั
  เป็ นการศกษาเศรษฐศาสตร์ในเชงสงคมศาสตร์มากกว่าจะ
                                                  ่
  พยายามทําให ้เป็ นวิทยาศาสตร์ โดยการวิเคราะห์สวนใหญ่จะ
  พิจารณาบริบทของประวัตศาสตร์ด ้วย
                            ิ
• คําว่าเศรษฐศาสตร์การเมืองเกิดขึนครังแรกในปี 1615 โดยนัก
  เศรษฐศาสตร์สํานักธรรมชาตินยม (Physiocrats)
                               ิ
                                 ื   ี
• นักเศรษฐศาสตร์การเมืองทีมีชอเสยงได ้แก่ Adam smith,
  David Ricardo, Thomas Malthus และวิพากษ์ ตอยอดโดย
                                                ่
  Karl Marx
• เศรษฐศาสตร์การเมืองเอง ก็เกียวพันกับหลายๆ ศาสตร์ ไม่วาจะ
                                                       ่
        ั
  เป็ นสงคมวิทยา, รัฐศาสตร์, มนุษยวิทยา, จิตวิทยา,
                                            ั
  ประวัตศาสตร์, กฎหมาย, นิเวศวิทยา, ความสมพันธ์ระหว่าง
          ิ
  ประเทศ ฯลฯ
เศรษฐศาสตร์การเมือง
       ึ
• งานศกษาด ้านเศรษฐศาสตร์การเมืองในปั จจุบนมี
                                          ั
  ค่อนข ้างหลากหลาย
             ึ                  ่
  – การศกษาการแสวงหาค่าเชาทางเศรษฐกิจในประเด็นต่างๆ
      ่
    เชน ในการเลือกตัง เป็ นต ้น
         ึ
  – การศกษาเรืองนโยบายการคลัง
           ึ
  – การศกษาเรืองกระบวนการผลิตนโยบายของรัฐ
เศรษฐศาสตร์สถาบัน
            ึ
• เน ้นการศกษาและทําความเข ้าใจบทบาทของสถาบันต่างๆ ไม่วา  ่
                        ั
  จะเป็ นสถาบันทางสงคม สถาบันการเงิน และสถาบันธุรกิจ ใน
  การเปลียนแปลงพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์
• เศรษฐศาสตร์สถาบันมองว่าตลาดเป็ นผลลัพธ์ของการ
        ั                                       ่
  ปฏิสมพันธ์กนระหว่างสถาบันหลายๆ สถาบัน เชน ปั จเจกบุคคล,
               ั
                            ั
  บริษัท, รัฐ, ธรรมเนียมทางสงคม
• ข ้อสมมติของเศรษฐศาสตร์สถาบันจะมองว่าคนมีความเป็ นเหตุ
  เป็ นผลทีจํากัด (bounded rationality) ทีมีการวิวฒนาการ
                                                  ั
  เปลียนแปลงไปด ้วย (คนไม่ได ้มีความชอบทีคงที, มีเหตุมผล
                                                       ี
  สมบูรณ์เสมอ) และมีข ้อมูลไม่สมบูรณ์
    ่                                 ึ ่
• สวนสถาบันเองก็มการเปลียนแปลง ซงสงผลต่อแรงจูงใจของ
                      ี
  สถาบันนันๆ ทีมีตอมนุษย์
                    ่
                              ื  ี
• นักเศรษฐศาสตร์สถาบันทีมีชอเสยงได ้แก่ Thorstein Veblen,
  John Kenneth Galbraith, Gunnar Myrdal ฯลฯ
เศรษฐศาสตร์สถาบัน
                                      ึ
• หัวข ้อทีนักเศรษฐศาสตร์สถาบันทําการศกษา มีความ
  หลากหลายมาก เชน   ่
   –           ึ                       ั
       การศกษาพฤติกรรมการเลือกทีอยูอาศยของคนผิวขาว และผิวดํา
                                     ่
   –         ึ                     ั
       การศกษาเรืองความเป็ นธรรมในสงคม
   –       ึ
       การศกษาเรืองทุนวัฒนธรรม
   –               ึ        ั
       การศกษาเรืองทุนทางสงคม
   –                 ึ
       การศกษาเรืองชนชน ั
   –             ึ
       การศกษาผลกระทบขององค์กรโลกบาลทีมีตอประชาคมโลก
                                           ่
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems
Economics and the Understanding of Society's Problems

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Economics and the Understanding of Society's Problems

Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSarinee Achavanuntakul
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงfreelance
 
กลยุทธบริษัท ซิงเกอร์ จำกัด (มหาชน)
กลยุทธบริษัท  ซิงเกอร์  จำกัด (มหาชน) กลยุทธบริษัท  ซิงเกอร์  จำกัด (มหาชน)
กลยุทธบริษัท ซิงเกอร์ จำกัด (มหาชน) DrDanai Thienphut
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงKanyakon
 
Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.MR.Praphit Faakham
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์sunisasa
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกsupatra39
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกsupatra39
 
Thailand Online Hypermarket Shopping
Thailand Online Hypermarket ShoppingThailand Online Hypermarket Shopping
Thailand Online Hypermarket Shoppingtesco lotus thailand
 
Social Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROISocial Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROISarinee Achavanuntakul
 
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ DrDanai Thienphut
 
เที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศเที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศSaran Yuwanna
 
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่นความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่นtumetr1
 
SE FORUM 2 @ KMUTT
SE FORUM 2 @ KMUTTSE FORUM 2 @ KMUTT
SE FORUM 2 @ KMUTTthinkd.sign
 

Semelhante a Economics and the Understanding of Society's Problems (20)

Sustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case StudiesSustainable Business: Business Case & Case Studies
Sustainable Business: Business Case & Case Studies
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
หน่วยที่๕
หน่วยที่๕หน่วยที่๕
หน่วยที่๕
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
กลยุทธบริษัท ซิงเกอร์ จำกัด (มหาชน)
กลยุทธบริษัท  ซิงเกอร์  จำกัด (มหาชน) กลยุทธบริษัท  ซิงเกอร์  จำกัด (มหาชน)
กลยุทธบริษัท ซิงเกอร์ จำกัด (มหาชน)
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.Basic Economics For High School.
Basic Economics For High School.
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
Social Enterprise: World & Thailand
Social Enterprise: World & ThailandSocial Enterprise: World & Thailand
Social Enterprise: World & Thailand
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
H&f august 10
H&f august 10H&f august 10
H&f august 10
 
Thailand Online Hypermarket Shopping
Thailand Online Hypermarket ShoppingThailand Online Hypermarket Shopping
Thailand Online Hypermarket Shopping
 
Social Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROISocial Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROI
 
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
 
เที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศเที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศ
 
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่นความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
 
SE FORUM 2 @ KMUTT
SE FORUM 2 @ KMUTTSE FORUM 2 @ KMUTT
SE FORUM 2 @ KMUTT
 

Mais de Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

Mais de Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 

Economics and the Understanding of Society's Problems

  • 1. วิชาเศรษฐศาสตร์กบการเข ้าใจปั ญหา ั ั ของสงคมมนุษย์ สฤณี อาชวานันทกุล Fringer | คนชายขอบ http://www.fringer.org/ 28 พฤศจิกายน 2552 ิ งานนีเผยแพร่ภายใต ้ลิขสทธิ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) โดยผู ้สร ้างอนุญาตให ้ทําซํา แจกจ่าย แสดง และสร ้างงาน ่ ่ ดัดแปลงจากสวนใดสวนหนึงของงานนีได ้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีทให ้เครดิตผู ้สร ้าง ไม่ ี นํ าไปใช ้ในทางการค ้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต ้ลิขสทธิเดียวกันนีเท่านั น ิ
  • 2. หัวข ้อบรรยาย 1. พืนฐานเรืองเศรษฐศาสตร์ 2. การเติบโตทางเศรษฐกิจ 3. พืนฐานเรืองระบบตลาด 4. พรมแดนของเศรษฐศาสตร์ 5. การบริหารจัดการทรัพยากร: ทีดินในศรีลังกา 6. แนะนํ าเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม
  • 5. “โจทย์ใหญ่” ของเศรษฐศาสตร์ ิ • มนุษย์มความต ้องการไม่สนสุด ี • แต่ทรัพยากรมีจํากัด – ทุนธรรมชาติ (ทีดิน ฯลฯ) – ทุนมนุษย์ (แรงงาน ปั ญญา ฯลฯ) – ทุนเงินตรา ั – ทุนทางสงคม ฯลฯ ้ • ควรใชและจัดสรรทรัพยากรแต่ ละชนิด “อย่างไร”? • เรามี “ทางเลือก” อะไรบ ้าง?
  • 6. สมมุตฐานเบืองต ้นของเศรษฐศาสตร์ ิ ั • คนเป็ น “สตว์เศรษฐกิจ” 100%? • คน “มีเหตุมผล” 100%? ี • ถ ้าสมมุตฐานเหล่านีไม่เป็ นจริง ิ ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์อาจอธิบาย “โลกแห่งความจริง” ไม่ได ้ • บริบท และ เงือนไข เป็ นสงสําคัญ ิ
  • 7. ึ เศรษฐศาสตร์ศกษาโจทย์ในหลายระดับ ิ สงแวดล ้อม การเมือง สถาบัน พัฒนา โลก / ประเทศ ข ้อมูล การเงิน อุตสาหกรรม เครือข่าย การคลัง องค์กร ื ี ชอเสยง สวัสดิการ ปั จเจก
  • 8. คําถามใหญ่ของเศรษฐศาสตร์ ิ • ระบอบเศรษฐกิจควรผลิตสนค้าและบริการ ประเภทใดบ้าง? – เน ้นการผลิตในภาคเกษตร หรือ อุตสาหกรรม หรือบริการ หรือข ้อมูล หรือ ฯลฯ? หรือ ั ควรเน ้นกิจกรรมด ้านกีฬา การพักผ่อน หรือทีอยูอาศย? ่ ิ • ระบอบเศรษฐกิจควรผลิตสนค้าและบริการ ้ อย่างไร? – ใชแรงงานเป็ นหลัก, ทีดินเป็ นหลัก, หรือ ิ ทุนเป็ นหลัก? ทําอย่างไรให ้เกิดประสทธิภาพ? ้ ิ • ใครควรได้ใชสนค้าและบริการทีผลิต? – แบ่งให ้ ทุกคนได ้เท่าๆ กัน? ให ้คนรวยได ้มากกว่า? ให ้ คนทํางานหนั กได ้มากกว่า?
  • 10. Positive & normative economics • Positive Statements: ู ่ ็ – สามารถพิสจน์วาเป็ นจริงหรือเท็จได ้ ด ้วยการเชคข ้อมูลหรือ ค ้นคว ้าวิจัยเพิมเติม • Normative Statements: ึ ่ – เป็ น “ความเห็น” หรือ “ความรู ้สกสวนตัว” ทีพิสจน์วาเป็ น ู ่ จริงหรือเท็จไม่ได ้ด ้วยการค ้นคว ้าวิจัย ่ องค์ความรู ้จากเศรษฐศาสตร์แขนงใหม่ๆ เชน เศรษฐศาสตร์ ิ สงแวดล ้อม เศรษฐศาสตร์ความสุข และเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม ่ ิ กําลังชวยขยับขยาย “ขอบเขต” ของสงทีนักเศรษฐศาสตร์ ึ ศกษา แปลง Normative เป็ น Positive economics
  • 12. “นักเศรษฐศาสตร์พดอะไรก็ได ้”? ู Price 6 S0 S1 5 S2 4 3 2 1 D0 0 0 1 2 3 4 5 6 Quantity
  • 13. “นักเศรษฐศาสตร์พดอะไรก็ได ้”? ู Price 6 S0 5 4 3 D2 2 D1 1 D0 0 0 1 2 3 4 5 6 Quantity
  • 20. ี บัญญัต ิ #1: ภาวะได ้อย่าง-เสยอย่าง ิ • บัญญัตท ี 1: คนทุกคนเผชญภาวะ “ได ้อย่าง- ิ ี เสยอย่าง” (tradeoffs) เสมอ ิ • ประสทธิภาพ vs. ความยุตธรรม - แต่ขนอยู่ ิ ึ กับว่าเรานิยามสองคํานีอย่างไรด ้วย • เรียน vs. เล่น, บริโภค vs. ลงทุน • “โลกนีไม่มอะไรฟรี” (there is no free ี lunch) – เพราะอะไร?
  • 21. ี บัญญัต ิ #2: ต ้นทุนคือสงทีเรายอมเสย ิ • บัญญัตท ี 2: ต ้นทุนของอะไรก็ตามคือสงที ิ ี ิ คุณยอมเสยไปเพือให ้ได ้สงนันมา • “โลกนีไม่มอะไรฟรี” (there is no free ี lunch) เพราะอย่างน ้อยเราทุกคนก็ม ี “ต ้นทุน ี ค่าเสยโอกาส” (opportunity cost) ่ • ตัวอย่างต ้นทุนเชน เวลา เงิน ความสุข ความ สบาย ฯลฯ
  • 22. บัญญัต ิ #3: คิดทีละหน่วย (margin) • บัญญัตท ี 3:คนทีมีเหตุมผลคิดแบบ “เพิมทีละ ิ ี หน่วย” (margin) คือคํานึงถึงประโยชน์และ ่ ่ ต ้นทุน “ทีเพิมขึน” ไม่ใชคาเฉลีย • สมมติวาต ้นทุนในการบินของเครืองบินขนาด ่ 200 ทีนัง เท่ากับ $100,000 • ถ ้าเทียวบินเหลือทีนัง 10 ที ผู ้โดยสารอยาก จ่ายแค่ $300 สายการบินควรขายให ้หรือไม่?
  • 23. ิ บัญญัต ิ #4: คนตอบสนองต่อสงจูงใจ ิ • บัญญัตท ี 4:คนตอบสนองต่อสงจูงใจ ิ ็ ่ • “เชคชวยชาติ” • มาตรการภาษี ื • ซอ 2 แถม 1 • ราคาศูนย์บาท = “emotional hot button”
  • 25. เศรษฐศาสตร์เล่าเรืองด ้วยแผนภาพ ิ สงบันเทิง ค่าใชจ่ายในการบริโภค (บาท) อาหาร ้ O รายได ้ต่อเดือน (บาท)
  • 26. เศรษฐศาสตร์เล่าเรืองด ้วย Time Series พันล ้าน บาท ่ ผลิตภ ัณฑ์มวลรวมในประเทศและอ ัตราการสงออกของไทย 8,000 80% 6,000 60% 4,000 40% 2,000 20% 0 0% 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 GDP ของไทย การส ง ออก เป น ร อ ยละของ GDP ทีมา: กระทรวงพาณิชย์, ธนาคารแห่งประเทศไทย
  • 27. อัตราสวนก็ใช ้ “เล่าเรือง” ได ้ ่ ่ ้ ื อ ัตราสวนการใชเชอเพลิงต่อรายได้ตอห ัว ปี 2548 ่ (จํานวนต ันหรือเทียบเท่า ต่อรายได้ 1 USD) 500 450 400 350 300 250 200 150 100 50 0 อิ น โดนี เซี ย ฟ น แลนด สิ งคโปร ฮ อ งกง มาเลเซี ย ไทย อิ น เดีย ฟ ลิ ป ป น ส เกาหลี ใต สหรั ฐ อเมริ ก า ญี่ปุ น จีน อั งกฤษ ทีมา: British Petroleum Statistical Review of World Energy 2006, World Bank
  • 28. ข ้อมูล cross-section “เล่าเรือง” ได ้ดีกว่า สัดส่ วนหนี ต่ อรายได้ของครัวเรือนไทย แบ่งตามชันรายได้ 25.0 20.0 15.0 10.0 5.0 0.0 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ั ชนรายได ้ของครัวเรือน (percentile) 2000 2004 Poly. (2000) Poly. (2004) ทีมา: สํานักงานสถิตแห่งชาติ ิ
  • 29. scale ของกราฟ มีผลทางจิตวิทยา 100 การบริโภคอาหารต่อปี (ต่อคน) ปริมาณทีซอต่อปี (กิโลกรัม) 75 รายได ้ของ ปริมาณทีซอ ื ผู ้บริโภค (บาท) บาท) ต่อปี (กิโลกรัม) 50 0 10 ื 5,000 25 10,000 45 25 15,000 70 20,000 100 0 0 10 000 20 000 30 000 40 000 50 000 60 000 รายได ้ของผู ้บริโภคต่อปี (บาท) fig
  • 30. scale ของกราฟ มีผลทางจิตวิทยา (ต่อ) 400 รายได ้ของ ปริมาณทีซอ ื ปริมาณทีซอต่อปี (กิโลกรัม) 300 ผู ้บริโภค (บาท) บาท) ต่อปี (กิโลกรัม) 0 10 5,000 25 200 10,000 45 15,000 การบริโภคอาหาร ื 70 20,000 100 ต่อปี (ต่อคน) 100 0 0 5000 10 000 15 000 20 000 รายได ้ของผู ้บริโภคต่อปี fig (บาท)
  • 31. เมือไหร่ท ี “ข่าวดี” เป็ นข่าวดีจริงๆ? 12 15 11 10 อัตราการว่างงาน (%) 10 9 5 8 0 7 6 Unemployment -5 5 4 -10 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 1989 1990 fig 1991 1992
  • 32. เมือไหร่ท ี “ข่าวดี” เป็ นข่าวดีจริงๆ? (ต่อ) 12 15 อัตราการเปลียนแปลงของอัตราการว่างงาน อัตราการเปลียนแปลงของอัตราการว่างงาน (%) Rate of change 11 in unemployment 10 10 อัตราการว่างงาน (%) 9 5 8 0 7 Unemployment 6 -5 5 4 -10 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 fig 1989 1990 1991 1992
  • 33. มูลค่า = ปริมาณ x ราคา • ่ การ “แยกสวน” ตัวเลขต่างๆ ออกเป็ นองค์ประกอบ จะทําให ้เราเข ้าใจได ้ดีขนว่า ใคร ึ ี ได ้หรือเสยประโยชน์จากตัวเลขทีสูงขึนหรือลดลง • ่ ยกตัวอย่างมูลค่าการสงออกข ้าวเปรียบเทียบ 2545 เทียบกับ 2548: ่ มูลค่าสงออกข้าว ่ ่ สวนต่างมูลค่าสงออก พันล ้านบาท 23 100 93 7% ่ สวนต่างทีเกิดจาก ปริมาณข ้าว 80 70 60 ่ สวนต่างทีเกิดจาก 93% 40 ราคาข ้าว 20 0 2545 2548 ่ ่ ทีมา: กรมสงเสริมการสงออก • ่ ่ จะเห็นได ้ว่ามูลค่าสงออกข ้าวทีเพิมขึนนันเกิดจากราคาขายทีสูงขึนเป็ นสวนใหญ่ ่ (93%) มาจากปริมาณเพิมขึนเป็ นสวนน ้อย (7%) • ื เมือเทียบตัวเลขนีกับราคาทีรัฐบาลรับซอข ้าวเปลือก จะพบว่าคนทีได ้ประโยชน์สวน ่ ่ ใหญ่จากมาตรการนีคือพ่อค ้าคนกลาง ไม่ใชเกษตรกร
  • 37. ประโยชน์ของการเติบโตทางเศรษฐกิจ นั กเศรษฐศาสตร์โดยมากเชอว่า... ื • การเติบโตทางเศรษฐกิจทําให ้เราผลิตทุกอย่างได ้ ิ มากขึน โดยเฉพาะสนค ้าอุปโภค ิ • สนค ้าอุปโภคบริโภคมากขึน มาตรฐานความ เป็ นอยูดกว่าเดิม ่ ี ี ิ คุณภาพชวตดีขน ึ • เศรษฐกิจโต รัฐเก็บภาษี ได ้มาก โครงสร ้างและ สวัสดิการพืนฐานดีขน (ถนน โรงพยาบาล ฯลฯ) ึ ่ • ความมังคังทีสร ้างนั นจะ “ไหลริน” ลงมาสูคนจนโดย ่ อัตโนมัต ิ เชน ผ่านการจ ้างงาน และเมือรัฐบาลเก็บ ่ ภาษี จากคนรวยได ้มากขึน ก็จะชวยคนจนได ้มากขึน
  • 39. “ต ้นทุน” ของการเติบโตทางเศรษฐกิจ ตัวอย่างต ้นทุนของการเติบโตทางเศรษฐกิจ • คนรวยรวยขึน คนจนอาจจนลงหรือลําบากกว่าเดิม “รวยกระจุก จนกระจาย” • “ผลไหลริน” ในความเป็ นจริงไม่คอยไหล ่ ั • คอร์รัปชนบันทอนการกระจายรายได ้และลดทอน คุณภาพของบริการภาครัฐ • องค์ประกอบของการเติบโตบางอย่างอาจไม่เป็ นผลดีตอ ่ ่ ประชาชน เชน เพิมงบประมาณทางทหารเกินจําเป็ น • องค์ประกอบ (composition) สําคัญกว่า ผลรวม (sum)
  • 41. ี ค่าเสยโอกาสของการเติบโตทางเศรษฐกิจ • เนืองจากทรัพยากรมีจํากัด เราจึงมักจะต ้องเลือกว่าจะ ่ เน ้นการผลิตอะไรมากกว่ากัน ณ ชวงเวลาใดเวลาหนึง ระหว่าง ิ สนค ้าทุน (capital goods) กับ ิ สนค ้าอุปโภคบริโภค (consumer goods) ั • การเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาวต ้องอาศยการลงทุน ิ ่ ในสนค ้าทุน เชน เครืองจักร ถนนหนทาง ทรัพย์สนทางิ ปั ญญา อย่างต่อเนือง เนืองจากเป็ น “ปั จจัยการผลิต” ที ผลิตสร ้างการเติบโตในระยะยาว • แต่ก็ละเลยสนค ้าอุปโภคบริโภคไม่ได ้ เพราะรวมปั จจัยส ี ิ + เครืองอํานวยความสะดวก + ปรับปรุงคุณภาพชวต ี ิ
  • 42. ี ภาวะได ้อย่าง-เสยอย่างของการเติบโต ิ ปริมาณสนค ้าทุน ี ค่าเสยโอกาสของ ิ สนค ้าทุน K2-K1 = K2 ิ สนค ้าอุปโภคบริโภค C1-C2 ทีต ้อง ี สละ” “เสยสละ” (ไม่ได ้ผลิต) ประโยชน์ K1 ต ้นทุน ิ ปริมาณสนค ้า C2 C1 อุปโภคบริโภค
  • 43. ั การเติบโตและศกยภาพในการผลิต ิ ปริมาณสนค ้าทุน ้ ั เมือประเทศยังใชศกยภาพ ในการผลิตไม่เต็มที เศรษฐกิจจะขยายตัวจาก ิ จุด A ไป B ได ้ ทังสนค ้า ิ ทุนและสนค ้าอุปโภค B K2 บริโภคเพิมขึน A K1 ิ ปริมาณสนค ้า C1 C2 อุปโภคบริโภค
  • 44. ั ในระยะยาว ต ้องเพิมศกยภาพในการผลิต ิ ปริมาณสนค ้าทุน เมือประเทศผลิตเต็ม ั ศกยภาพแล ้ว การเติบโต ั ั ต ้องอาศยการเพิมศกยภาพ B ่ เชน เพิมทรัพยากร (ค ้นพบ K2 A นํ ามัน, แรงงานต่างด ้าว) ้าว) K1 ิ หรือปรับปรุงประสทธิภาพ ในการผลิต (เทคโนโลยี, ึ ษา) ปรับปรุงการศกษา) ิ ปริมาณสนค ้า C1 C2 อุปโภคบริโภค
  • 45. ั การเพิมศกยภาพทีดีระยะสนแต่อาจไม่ยงยืน ั ิ ปริมาณสนค ้าทุน ั การเพิมศกยภาพทีเอียง ิ ไปข ้างสนค ้าอุปโภค ิ มากกว่าสนค ้าทุน เชน ่ เงินลงทุนจากต่างชาติ A B อาจเน ้นผลิตสนค ้าิ K2 K1 อุปโภคบริโภคเพือ ่ สงออก ประเทศเติบโตใน ั ระยะสน แต่ยงยืนหรือ ั ิ เปล่า? (อย่าลืมว่าสนค ้า ื ทุนเสอมตามกาลเวลา) อมตามกาลเวลา) ิ ปริมาณสนค ้า C1 C2 อุปโภคบริโภค
  • 46. วิวฒนาการ (?) ของระบบเศรษฐกิจ ั ทุนนิยมเสรีมเพียงบาง ี ธุรกิจในบางประเทศ ใน “ทุนนิยมธรรมชาติ” ระดับเสรีภาพทางเศรษฐกิจ ระดับโลกยังเป็ นทุนนิยม ทุนนิยมเสรี “ทุนนิยมก ้าวหน ้า” สามานย์อยู่ (แนวคิด กระแสหลัก) ของประชาชน ทุนนิยมผูกขาด/ ทุนนิยมในไทยยังเป็ น “ทุนนิยมสามานย์” ทุนนิยมสามานย์/ อยู่ สาเหตุหลักๆ อาจเป็ นเพราะ: ทุนนิยมพวกพ ้อง • ธนกิจการเมืองยังเฟื องฟู ั • โครงสร ้างศกดินา/อํานาจนิยมยังอยู่ • กฎหมายป้ องกันการผูกขาดไม่มผล ี เศรษฐกิจผูกขาด ั • กฎหมายคุ ้มครองผู ้บริโภค สงคม ฯลฯ โดยรัฐ ้ ยังใชไม่ได ้จริง ระดับความยังยืนของระบบเศรษฐกิจ
  • 47. ั ปั ญหาของสงคม: ‘มายาคติ’ ทีไม่เป็ นจริง (1) มายาคติ ข้อเท็ จจริง ื • เงินซอได ้ทุกอย่าง ื • เงินซอความสุข, ความ ั • GDP วัด ‘สุขภาพสงคม’ ได ้ ปลอดภัย, ฯลฯ ไม่ได ้ ถ ้า • ประโยชน์จากทุนนิยมเสรี จะ กลไกต่างๆ ไม่ทํางาน ่ ‘ไหล’ ลงมาสูคนทุกระดับชน ั • Human Development เอง โดยทีรัฐไม่ต ้อง Index (Amartya Sen) วัด แทรกแซงตลาด – “The ระดับ ‘ความสุข’ ของ rising tide lifts all boats” ประชาชนได ้ดีกว่า GDP ่ • รัฐไม่ควรแตะ “สวนเกิน” • ความมังคังของคนจํานวน ของคนรวย เพราะสวนเกิน ่ มากมาจากมรดกหรือการเก็ง เหล่านันมาจากการทํางาน ่ กําไร ไม่ใชการทํางานหนัก ึ หนักซงก่อให ้เกิดผลผลิตที • “In the long run, we’re all เป็ นประโยชน์ dead” (John M. Keynes)
  • 48. ั ปั ญหาของสงคม: ‘มายาคติ’ ทีไม่เป็ นจริง (2) มายาคติ ข้อเท็ จจริง ่ • ทุกภาคสวนควรมุงเน ้นการ ่ ิ • ประสทธิภาพอย่างเดียวอาจไม่ทํา ิ สร ้างประสทธิภาพสูงสุด ั ให ้เกิดความเป็ นธรรมในสงคม ั (หรืออย่างน ้อยก็สงคมทีมี อย่างเดียว มนุษยธรรม) : สถานการณ์ทมี ี • เนืองจากระบบตลาดเป็ น เศรษฐีไม่กคนในขณะทีคนหลาย ี ระบบทีดีทสุดในการสร ้าง ี ล ้านคนต ้องอดอาหารตายอาจ “มี ิ ิ ประสทธิภาพสูงสุด” (Pareto ประสทธิภาพ รัฐจึงควรปล่อย optimal) แล ้ว หากไม่มทางทีจะ ี ให ้ระบบตลาดทํางานด ้วยตัว ่ ี ิ ชวยให ้ใครรอดชวตโดยไม่ทําให ้ ของมันเอง ี เศรษฐีเสยประโยชน์ • มีแนวโน ้มสูงทีจะเกิด “ทุนนิยม สามานย์” หากรัฐไม่ควบคุมตลาด อย่างแข็งขันและเป็ นอิสระอย่าง แท ้จริงจากภาคธุรกิจ
  • 49. ั ปั ญหาของสงคม: ‘มายาคติ’ ทีไม่เป็ นจริง (3) มายาคติ ข้อเท็ จจริง ี ั • สมองมนุษย์มศกยภาพ ิ • ปั ญหาสงแวดล ้อมหลาย พอทีจะเข ้าใจการทํางานของ ่ ประการ เชน โลกร ้อน กําลัง ธรรมชาติอย่างสมบูรณ์ บ่อนทําลายโลก และชดเจน ั • ธรรมชาติเปรียบเสมือนเป็ น ว่าเกิดจากนํ ามือมนุษย์ ‘เครืองจักร’ ทีเดินอย่าง • กฎวิทยาศาสตร์ใหม่ๆ เชน ่ เทียงตรงตามกฎเกณฑ์ Relativity, Uncertainty, แน่นอนตายตัว Incompleteness พิสจน์ู • ดังนัน มนุษย์จงสามารถ ึ ั ชดเจนว่า ความไม่แน่นอน เอาชนะและควบคุมธรรมชาติ ั และความไม่สมบูรณ์เป็ นสจ ั ได ้ ธรรมของโลก และพรมแดน ความรู ้ของมนุษย์แปลว่าไม่ม ี วัน ‘เอาชนะ’ ธรรมชาติได ้
  • 50. ั ปั ญหาของสงคม: ‘มายาคติ’ ทีไม่เป็ นจริง (4) มายาคติ ข้อเท็ จจริง • ทุกบริษัทควรตังเป้ าหมายที • ปั ญหาข ้อมูลไม่เท่าเทียมกัน “ผลตอบแทนสูงสุดต่อผู ้ถือ (asymmetric information) ระหว่างผู ้บริหารบริษัทกับผู ้ถือหุ ้น หุ ้น” เพราะผู ้ถือหุ ้นย่อม และระหว่างบริษัทกับผู ้บริโภค/ คํานึงถึงประโยชน์ของ ั สงคม ทําให ้เกิดการหลอกลวงและ ่ สวนรวมอยูแล ้ว ่ ฉ ้อฉลง่ายและปกปิ ดง่ายด ้วย • ดังนัน บริษัททีมุงเน ้น ่ • ทุกฝ่ ายมีผลประโยชน์ทับซอน ้ ่ เป้ าหมายนีจะชวยให ้เกิด • แนวโน ้มทีจะได ้กําไรสูงกว่าจาก ่ ั การเก็งกําไรระยะสนในตลาดหุ ้น ประโยชน์สงสุดต่อสวนรวม ู เทียบกับเงินปั นผลในระยะยาวทํา โดยอัตโนมัต ิ ให ้ผู ้ถือหุ ้น ‘มักง่าย’ กว่าทีควร • ผู ้ถือหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์ สมัยใหม่ไม่กระจุกตัวเหมือนใน อดีต – ‘ความเป็ นเจ ้าของ’ ลดลง
  • 51. ั ปั ญหาของสงคม: ‘มายาคติ’ ทีไม่เป็ นจริง (5) มายาคติ ข้อเท็ จจริง • ทุกคนควรทําแต่ในสงที ิ • นอกเหนือจากเงิน ภาคสงคมยัง ั ี ตัวเองเชยวชาญทีสุด ภาค ต ้องการระบบ & องค์ความรู ้ในการ ึ บริหารจัดการ ซงภาคธุรกิจมี ธุรกิจก็ควรทําธุรกิจ ภาค ี ความรู ้ความเชยวชาญดีทสุด ี ั สงคมก็ทํางานด ้านสงคม ั • ระบบราชการของรัฐยังไร ้ ภาครัฐก็นําเงินภาษี ไปสร ้าง ิ ประสทธิภาพ คอร์รัปชน และไม่ ั ระบบสวัสดิการสงคม ั เหลียวแลผู ้ด ้อยโอกาสทีสุด ซงไม่ ึ ่ ิ ี ี มีสทธิมเสยงในระบอบการเมือง • นักธุรกิจทีอยากชวยเหลือ ั ภาคสงคมนอกเหนือจากเงิน • ‘สงคมสงเคราะห์’ ไม่สามารถใช ้ ั ิ แก ้ปั ญหาเชงโครงสร ้าง เชน ความ ่ ภาษี ทจ่ายรัฐ ก็ทําได ้โดย ี ี ี ิ เสยงในชวตและทรัพย์สน ไม่ม ี ิ ั ผ่านกิจกรรม ‘สงคม ึ ทีดินทํากิน ไร ้การศกษา ฯลฯ ่ สงเคราะห์’ ต่างๆ เชน การ • ผู ้ทําหน ้าทีบริหารเงินได ้ดีทสุดคือ ี บริจาค เท่านันก็พอแล ้ว ่ นักการเงิน ไม่ใชนักพัฒนาสงคม ั
  • 52. ั ปั ญหาของสงคม: ‘มายาคติ’ ทีไม่เป็ นจริง (6) มายาคติ ข้อเท็ จจริง ิ ่ • กรรมสทธิสวนบุคคลเป็ น • คนจํานวนมากไม่ได ้สร ้างสรรค์เพือ ปั จจัยสําคัญในการผลักดัน เงิน แต่เพือแบ่งปั นให ้กับผู ้อืน ความเจริญทางเศรษฐกิจ • พืนทีสาธารณะมากมายมีสมาชกใน ิ ชุมชนเป็ นผู ้ร่วมกันดูแลอย่างดีโดย เพราะคนทีสามารถอ ้าง ไม่เคยต ้องมีเอกสารสทธิ ิ ‘ความเป็ นเจ ้าของ’ เท่านัน ที ิ • ระบบลิขสทธิทีเข ้มงวดคุ ้มครอง จะมีแรงจูงใจในการผลิตงาน ผู ้สร ้างมากเกินไป และนํ าไปสูการ ่ • ‘พืนทีสาธารณะ’ ทีปราศจาก ผูกขาดความรู ้ ต่อยอดไม่ได ้ เจ ้าของจะไร ้คนดูแล • ในหลายกรณี ความเห็นแก่ตวของ ั นักธุรกิจหน ้าเลือดและความไร ้ • ดังนัน รัฐจึงต ้องตีกรอบและ ิ ประสทธิภาพของรัฐ คือสาเหตุท ี ิ ่ มอบกรรมสทธิสวนบุคคล พืนทีสาธารณะทรุดโทรม ิ และคุ ้มครองกรรมสทธินัน ิ • ระบบยอมออกสทธิบตรแม ้กระทัง ั อย่างเคร่งครัด ่ ธรรมชาติ เชน DNA, พันธุพช ์ ื
  • 53. GDP เป็ นองค์ประกอบเดียวของ “ความสุข” ทีมา: Deutsche Bank Research, 2007 53
  • 54. เศรษฐกิจขับเคลือนด ้วยพลังงานทีไม่ยงยืน ั ทีมา: Carol King, “Will we always be more capable in the future?”; Worldchanging.com - 54 http://www.worldchanging.com/archives/007962.html
  • 55. ความสําคัญของ “ความยุตธรรมทางสงคม” ิ ั • การเติบโตของเศรษฐกิจทีมี “ฐานกว ้าง” นันคือ เติบโต ่ ่ ในทางทีคนสวนใหญ่ได ้ประโยชน์ ไม่ใชในทางทีความ ั มังคังกระจุกตัวอยูในมือชนชนนํ านั น เป็ นการเติบโตที ่ ี ิ ทําให ้คุณภาพชวตของคนดีขน และเอืออํานวยต่อ ึ ึ ่ ั กระแสประชาธิปไตย ซงชวยให ้คนในสงคมรู ้จักอดทน อดกลันต่อความคิดเห็นทีแตกต่าง แทนทีจะทะเลาะจน ่ นํ าไปสูความรุนแรง หรือถูกกดขีโดยผู ้ครองอํานาจ • การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที “ดี” ทีมีฐานกว ้าง จึง ่ ั ชวยให ้สงคมมีระดับ “คุณธรรม” สูงขึนกว่าเดิม และ ั ั ระดับคุณธรรมทีสูงขึนนั นก็จะทําให ้สงคมยังยืน มีสนติ ั สุขและเสถียรภาพมากกว่าในสงคมทีความเจริญกระจุก ตัวอยูในมือคนเพียงไม่กคน ่ ี 55
  • 56. ลักษณะของนโยบายพัฒนาในอุดมคติ ่ • ตังเป้ าหมายทีการสงเสริมและดํารง “ความอยูดมสข” ่ ี ี ุ ของประชาชนในสงคม ั ้ • ใชทรัพยากรธรรมชาติอย่างยังยืน : “การพัฒนาอย่าง ยังยืน” (Sustainable Development) หมายความว่า ้ ไม่ใชทรัพยากรธรรมชาติในอัตราทีเร็วกว่าความสามารถ ของมนุษย์ในการผลิตทรัพยากรทดแทน และไม่ทง ิ ทรัพยากรธรรมชาติในอัตราทีเร็วกว่าอัตราทีธรรมชาติจะ ั สามารถดูดซบมันกลับเข ้าไปในระบบ ี • ประเมินผลดีและผลเสยจากนโยบายอย่างรอบคอบ สําหรับผู ้มีสวนได ้เสยทุกฝ่ าย โดยเฉพาะผู ้ด ้อยโอกาส ่ ี • มองทรัพยากรทีมีวันหมดต่างๆ รวมทังผลกระทบ ภายนอกว่าเป็ น “ต ้นทุน” ทีผู ้ก่อต ้องรับภาระ 56
  • 57. ลักษณะของนโยบายพัฒนาในอุดมคติ (ต่อ) ั • เป้ าหมายควรอยูทการพัฒนา “ศกยภาพ” ของมนุษย์ ่ ี ่ ไม่ใชแค่ “ระดับรายได ้” (Amartya Sen) ่ ั • สงเสริม “ความยุตธรรมทางสงคม” โดยรัฐต ้องคุ ้มครอง ิ ิ สทธิมนุษยชนขันพืนฐานของประชาชน จัดบริการ สาธารณูปโภคขันพืนฐานทีได ้คุณภาพ ดําเนินนโยบาย ทีมีจดมุงหมายทีการลดความเหลือมลําทางรายได ้ และ ุ ่ ่ ่ สงเสริมการมีสวนร่วมทางการเมืองของประชาชน • สามารถรองรับความหลากหลายของแต่ละวัฒนธรรม ้ ท ้องถินในทุกระดับได ้ เพราะการใชชุดนโยบายพัฒนาที ยัดเยียดแบบ “สําเร็จรูป” อาจนํ าไปสูความขัดแย ้งและ ่ ั ความรุนแรงในสงคม และดังนั นจึงไม่อาจเรียกว่าเป็ น ระบบเศรษฐกิจทียังยืนได ้ 57
  • 58. อนาคต ? มุงทําเงินสูงสุด ่ 1000 CO2 CO2 850 ppm ppm อุณหภูม ิ +6ºC 900 800 มุงทําเงิน + ่ พลังงาน“สะอาด” 700 CO2 590 ppm 600 อุณหภูม ิ +2.4ºC 500 ิ เงิน+สงแวดล ้อม ประสานทังโลก 400 CO2 550 ppm อุณหภูม ิ +2ºC 380ppm 300 2000 2020 2040 2060 2080 2100
  • 59. มุงทําเงินสูงสุด vs เงิน+สงแวดล ้อม ่ ิ + พลังงานสะอาด ประสานทังโลก การตลาด เพือทิงขว ้าง บริโภค จํากัด สกัด ผลิต จัดจําหน่าย ขยะ วัตถุดบ ิ ิ สนค ้า ที่มา : www.storyofstuff.com
  • 60. มุงทําเงินสูงสุด vs เงิน+สงแวดล ้อม ่ ิ + พลังงานสะอาด ประสานทังโลก ผลิต ิ สนค ้า ยังยืน จัดจําหน่าย สกัด วัตถุดบ ิ บริโภค
  • 62. ความรู ้ทัวไปเกียวกับ “ตลาด” ในทางเศรษฐศาสตร์ “ตลาด” หมายถึงบริบททีมีการตก ื ิ ้ ื ลงซอขายสนค้าหรือบริการระหว่างผูซอกับผูขาย ้ โดยทีทังสองฝ่ ายไม่จําเป็ นต ้องมาพบปะกันโดยตรงหรือ มีสถานทีตังทีแน่นอน ตราบใดทีมีการตกลงซอขาย ื ิ สนค ้าหรือบริการ ก็ถอว่าตลาดได ้เกิดขึนแล ้ว อาจไม่ ื ่ ํ ต ้องสงมอบและชาระเงินกันในทันทีก็ได ้ ื ิ หากมีการตกลงซอขายสนค ้าหรือบริการชนิดใด ก็มักจะ ื ิ ่ เรียกชอตามสนค ้าหรือบริการนั น เชน “ตลาด ิ ข ้าวเปลือก” หรืออาจเรียกตามประเภทของสนค ้าทีซอ ื ่ ขายกันโดยรวม เชน “ตลาดผลผลิต” หรือ “ตลาด การเงิน” หรืออาจแยกพิจารณาตามขอบเขตบริเวณ เชน ่ “ตลาดในประเทศ” และ “ตลาดโลก” เป็ นต ้น 62
  • 63. ความรู ้ทัวไปเกียวกับ “ตลาด” (ต่อ) “ระบบตลาด” คือระบบเศรษฐกิจทีเน ้นภาคการผลิต, ิ ิ การกระจายสนค ้า และการแลกเปลียนสนค ้าเป็ นหลัก ควบคุมโดยปั จเจกบุคคลหรือบรรษั ทเอกชนมากกว่า ่ รัฐบาล หากรัฐเข ้ามาแทรกแซงก็ถอเป็ นสวนน ้อย ื ื โครงสร ้างตลาด หมายถึง จํานวนผู ้ขายและผู ้ซอทีมีอยู่ ิ ในตลาดสนค ้าหรือบริการชนิดนั นๆ รวมถึง สภาพแวดล ้อมในการแข่งขัน ิ ราคาและปริมาณผลผลิตของสนค ้าหรือบริการจะถูก กําหนดขึนมาได ้อย่างไร ย่อมขึนอยูกบโครงสร ้างตลาด ่ ั 63
  • 64. ข ้อสมมติของระบบตลาด หากแบ่งประเภทตลาดตามโครงสร ้างจะแบ่งได ้เป็ น 2 ประเภท คือ ตลาด แข่งขันสมบูรณ์ (perfect competition) และตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (imperfect competition) ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ หมายถึงตลาดทีมีลกษณะดังต่อไปนี ั ื มีผู ้ซอผู ้ขายจํานวนมาก และเป็ นรายเล็ก ๆ หรือรายย่อยเท่านัน ผู ้ผลิตแต่ ิ ละรายเป็ นผู ้ขายสนค ้าตามราคาตลาดหรือเป็ นผู ้รับราคา (price taker) ผู ้ขายสามารถเข ้าและออกจากตลาดได ้อย่างอิสระ (free-entry and free-exit) โดยไม่ถกกีดกัน ู ิ สนค ้าของผู ้ขายแต่ละรายมีลกษณะเหมือนกันทุกประการ ั ้ (homogeneous products) จึงสามารถใชทดแทนกันได ้อย่างสมบูรณ์ ื ผู ้ซอและผู ้ขายมีความรอบรู ้ในข ้อมูลข่าวสารอย่างสมบูรณ์ (perfect ิ information) การเคลือนย ้ายสนค ้าและทรัพยากรการผลิตสามารถทําได ้ อย่างสะดวกและรวดเร็ว ื ่ ในทางทฤษฎี ตลาดแข่งขันสมบูรณ์คอตลาดทีนํ าสงประโยชน์สทธิสงสุดต่อ ุ ู ิ ่ ุ ทุกฝ่ าย เป็ นตลาดทีมีประสทธิภาพ ปรับตัวเข ้าสูดลยภาพได ้อย่างรวดเร็ว ล ักษณะของตลาดแข่งข ันสมบูรณ์ จึงเปน “เงือนไขแห่งความสาเร็ จ” ็ ํ 64 ของระบบตลาด
  • 65. เงือนไขแห่งความสําเร็จของระบบตลาด ู้ ื การมีผซอและผูขายเปนจํานวนมาก และแต่ละรายเปนราย ้ ็ ็ ิ เล็ ก ๆ หรือรายย่อย แสดงว่า ปริมาณสนค ้าของผู ้ผลิตแต่ละ ั ่ ิ รายจะมีสดสวนเพียงน ้อยนิดเมือเทียบกับสนค ้าทังหมดในตลาด ดังนันหากผู ้ผลิตรายหนึงรายใดเปลียนแปลงพฤติกรรมในการ ่ ิ ผลิต ก็จะไม่สงผลกระทบต่อปริมาณสนค ้าในตลาด กล่าวคือ จะ ไม่มผู ้ผลิตใดมีอทธิพลเหนือตลาดในแง่ทจะกําหนดปริมาณหรือ ี ิ ี ิ ราคาสนค ้าชนิดนันได ้ แม ้คิดจะรวมตัวกันก็ทําได ้ยาก และผู ้ผลิต ื แต่ละรายต ้องเป็ นผู ้รับราคา ในทํานองเดียวกัน ฝ่ ายผู ้ซอก็เป็ น ่ รายเล็กๆ และมีจํานวนมากเชนกัน จึงไม่สามารถรวมตัวเพือ เรียกร ้องให ้ฝ่ ายผู ้ขายลดราคาลงมาตามความต ้องการของ ตนเองได ้ ิ ดังนัน ราคาสนค ้าจึงถูกกําหนดโดยกลไกของตลาด = อุปสงค์ และอุปทานของตลาด 65
  • 66. เงือนไขแห่งความสําเร็จของระบบตลาด (ต่อ) การทีผูผลิตสามารถเข้าและออกจากตลาดได้อย่างอิสระ ้ แสดงว่าถ ้าผู ้ผลิตรายใหม่จะเข ้ามาทําการผลิตเพือแข่งขันกับ ผู ้ผลิตทีมีอยูเดิมก็ยอมทําได ้ เพราะไม่มข ้อกีดกันใดๆ ไม่วาจะ ่ ่ ี ่ เป็ นกฎเกณฑ์ของรัฐ หรือการรวมตัวกันของผู ้ผลิตรายเดิมเพือ ั ่ กีดกันรายใหม่ (collusion หรือ “ฮว”) สวนผู ้ผลิตรายเดิม ถ ้าจะ ออกจากตลาดหรือเลิกกิจการไป ก็สามารถทําได ้ง่ายโดยไม่ม ี อุปสรรคใดๆ เชนกัน ่ ี คุณสมบัตข ้อนีบ่งชว่า ผู ้ผลิตแต่ละรายสนองตอบต่อแรงจูงใจ ิ ทางราคาได ้อย่างรวดเร็ว 66
  • 67. เงือนไขแห่งความสําเร็จของระบบตลาด (ต่อ) ิ การทีสนค้าของผูผลิตแต่ละรายมีล ักษณะเหมือนก ันทุก ้ ึ ิ ประการ ซงทําให ้สนค ้าของผู ้ผลิตแต่ละรายสามารถใชทดแทน ้ ื ื กันได ้อย่างสมบูรณ์นัน แสดงให ้เห็นว่าผู ้ซอหรือผู ้บริโภคจะซอ ิ ิ ื ิ สนค ้าของผู ้ผลิตรายใดก็ได ้ การตัดสนใจซอสนค ้าของผู ้บริโภค รายใดขึนอยูกบราคาเพียงประการเดียว นันคือ ถ ้าผู ้ผลิตรายใด ่ ั ื ขายตํากว่ารายอืนๆ ผู ้บริโภคก็จะซอจากผู ้ผลิตรายนัน ในทาง ตรงกันข ้ามหากผู ้ผลิตรายใดขายในราคาทีสูงกว่ารายอืนๆ ื ิ ผู ้บริโภคจะไม่ซอสนค ้าของผู ้ผลิตรายนัน ั ้ ื ทงผูซอและผูขายมีขอมูลครบถ้วนสมบูรณ์และเท่าเทียมก ัน ้ ้ ิ และการเคลือนย ้ายสนค ้าสามารถได ้อย่างสะดวกและรวดเร็วด ้วย 67
  • 68. ประโยชน์ของระบบตลาด เศรษฐกิจแบบตลาดโดยธรรมชาติของตัวมันเอง มีลกษณะออก ั จากศูนย์กลาง, ยืดหยุน, ได ้ผลในทางปฏิบต ิ และเปลียนแปลงได ้ ่ ั การกําหนดราคาเกิดขึนจากกลไกของ “มือทีมองไม่เห็น” สาเหตุหลักทีทําให ้เศรษฐกิจแบบตลาดได ้ผลในทางปฏิบต ิ คือ ั หลักการของมันให ้ความสําคัญกับ “ประสทธิภาพ” และ “เสรีภาพ” ิ ึ ซงในทีนีหมายถึง ิ “เสรีภาพ” ของผู ้บริโภคทีจะเลือกบริโภคสนค ้าหรือบริการใด ๆ ทีมีอยูในตลาดทีผู ้ผลิตแข่งขันกันเสนอให ้ ่ “เสรีภาพ” ของผู ้ผลิตทีจะเริมหรือขยายธุรกิจและรับหรือ ี กระจายความเสยง รวมทังผลตอบแทนออกไปได ้ ี “เสรีภาพ” ของแรงงานทีจะเลือกงานหรืออาชพ เข ้าร่วมกับ สหภาพแรงงาน หรือแม ้แต่เปลียนเจ ้านายได ้ 68
  • 69. ขีดจํากัดของระบบตลาด ระบบตลาดเอือให ้เกิดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และ ิ ความก ้าวหน ้าทางเทคโนโลยี และการปรับปรุงประสทธิภาพอย่าง ต่อเนือง แต่ระบบตลาดไม่มภมคุ ้มกันหรือกลไกใดๆ สําหรับประเด็นความ ี ู ิ ั ยุตธรรมทางสงคม นโยบายสาธารณะ และ “ผลกระทบต่อ ิ ่ ภายนอก” (externalities) เชน เงินเฟ้ อ, การว่างงาน, มลภาวะ, ี ิ ความเหลือมลําของชวตความเป็ นอยู, ความยากจน และอุปสรรค ่ ทางการค ้าระหว่างประเทศ ่ สถาบันอืนๆ เชน รัฐ และ ชุมชน มีบทบาทในการแก ้ไขปั ญหาที ระบบตลาดไม่สามารถแก ้ไขเองได ้ (“ความล ้มเหลวของตลาด”) และจัดการกับประเด็นสาธารณะทีอยูนอกขอบเขตของระบบตลาด ่ 69
  • 70. ความล ้มเหลวของตลาด ความล ้มเหลวของตลาด (Market Failure) หมายถึง ภาวะทีกลไก ิ ตลาดไม่สามารถจัดสรรทรัพยากรให ้มีประสทธิภาพได ้ หรือภาวะที ตลาดไม่สามารถตอบสนองความต ้องการของสาธารณะทังในแง่ของ ิ ปริมาณหรือราคาของสนค ้าได ้ รวมทังการทีตลาดไม่สามารถสะท ้อน ต ้นทุนหรือประโยชน์ทแท ้จริงได ้ ี สาเหตุแห่งความล ้มเหลวประการหลักๆ ได ้แก่ 1) สารสนเทศไม่สมบูรณ์ คือสถานการณ์ทฝ่ ายหนึงมีข ้อมูล ี มากกว่าอีกฝ่ ายหนึง ทําให ้เกิดปั ญหาเชน ่ ิ ปั ญหา Lemon market คือตลาดทีผู ้ขายรู ้ว่าสนค ้ามีคณภาพตํา ุ ื ่ แต่ผู ้ซอรู ้ไม่มากเท่า เชน ตลาดรถมือสอง วิธแก ้ไขคือผู ้ขายต ้อง ี ื ี ื สร ้างชอเสยง (Reputation) ให ้ผู ้ซอไว ้วางใจ หรือสร ้างมาตรฐาน ิ สนค ้า (Standardize) 70
  • 71. ความล ้มเหลวของตลาด (ต่อ) 1) สารสนเทศไม่สมบูรณ์ (ต่อ) ิ ปั ญหา Adverse selection เกิดเมือกําหนดให ้สนค ้าบริการทีมี ิ คุณภาพต่างกันมีราคาเท่ากัน จนทําให ้สนค ้าและบริการทีมี ิ คุณภาพตําไล่สนค ้าคุณภาพสูงออกไปจากตลาด วิธแก ้ไขคือี ่ ั ื การสงสญญาณตลาด (market signaling) ให ้ผู ้ซอรู ้ข ้อมูลของ ิ สนค ้าบริการนัน ๆ มากขึนกว่าเดิม ปั ญหา Moral hazard เกิดขึนจากการทีฝ่ ายหนึงเปลียนแปลง พฤติกรรมจากเดิมไปจนทําให ้อีกฝ่ ายหนึงทีมีต ้นทุนในการติดตาม พฤติกรรมสูง (high monitoring cost) และต ้องรับภาระจาก พฤติกรรมนันๆ ่ ปั ญหา Principal-agent เกิดขึนจากการที agent (เชน นายหน ้า ขายบ ้าน) ทํางานเพือความต ้องการของตนเอง โดยไม่สนความ ต ้องการของ Principal (ลูกค ้า) และ Principal มีต ้นทุนในการ ติดตามพฤติกรรมของ agent สูง 71
  • 72. ความล ้มเหลวของตลาด (ต่อ) 2) ผลกระทบภายนอก (externalities) เป็ นผลกระทบทีมีตอ ่ บุคคลทีสามทีไม่ได ้ตังใจให ้เกิด และต ้นทุนจากผลกระทบไม่ได ้ ถูกนับรวมเข ้าไปในต ้นทุนของผู ้ผลิต ผลกระทบภายนอกมีทง ั ่ ด ้านดีและด ้านไม่ด ี เชน การกระจายความรู ้ด ้านเทคโนโลยี (technology spillover) หรือ มลพิษทีเกิดจากโรงงาน ปั ญหานี แก ้ไขได ้โดยการพยายามนํ าผลกระทบภายนอกมาคิดเป็ นต ้นทุน ของผู ้ผลิตให ้ได ้ (internalize externalities) 3) อํานาจเหนือตลาด คือมีผู ้ผลิตรายหนึงรายใดทีมีอํานาจมากกว่า ึ ผู ้ผลิตอืน ๆ ทําให ้เกิดการผูกขาด นํ ามาซงการกําหนดราคาทีไม่ ่ เป็ นไปตามกลไกตลาด เชน ราคาสูงเกินควร ิ ิ 4) สนค้าสาธารณะ (public goods) คือสนค ้าทีใชแล ้วไม่หมด้ ไปและไม่สามารถกีดกันผู ้อืนในการบริโภคได ้ ก่อให ้เกิดปั ญหา ิ “free-riders” คือผู ้ทีได ้ประโยชน์จากสนค ้าหรือบริการ โดยทีไม่ ้ จ่ายราคาในการใชนัน เมือมีปัญหานีมากเข ้าจะทําให ้ไม่มผู ้ใด ี ิ ยอมจ่าย สุดท ้ายสนค ้าชนิดนันก็จะไม่เกิดขึนในตลาด 72
  • 73. การแทรกแซงของรัฐเพือแก ้ความล ้มเหลวของ ี ตลาด – แต่ต ้องระวังเรืองได ้อย่าง-เสยอย่าง การแทรกแซงราคาหรือการควบคุมราคา กฎระเบียบป้ องกันการผูกขาด ่ นโยบายสงเสริมการแข่งขัน ้ การใชนโยบายภาษี เพือกําจัดแรงจูงใจหรือเพิมต ้นทุนในการทํา ่ กิจกรรมทีมีผลกระทบต่อภายนอกในทางลบ เชน ภาษี นําเสย ี ภาษี ขยะ ภาษี สารเคมี ภาษี กําไรจากการผูกขาด เป็ นต ้น ่ การสนับสนุนกิจกรรมทีเกิดประโยชน์ตอสาธารณะ เชน การจัดให ้ ่ ิ ่ ิ มีสนค ้าสาธารณะ การให ้ความชวยเหลือหรือสทธิพเศษ เป็ นต ้น ิ ่ ื นักเศรษฐศาสตร์บางสวนเชอว่า ระบบตลาดเสรีในตัวของมันเอง ย่อมมีปัญหาอยูแล ้ว ดังนันจึงมองว่าความล ้มเหลวของตลาดเป็ น ่ ภาวะปกติของระบบตลาด 73
  • 75. เศรษฐศาสตร์กระแสหลัก • เศรษฐศาสตร์กระแสหลัก หมายถึง “กระบวนทัศน์ ่ ้ หลัก” ทีนักเศรษฐศาสตร์สวนใหญ่ใชวิเคราะห์และ อธิบายปรากฎการณ์ทางเศรษฐกิจในปั จจุบน ปั จจุบน ั ั หมายถึง สํานั กคลาสสค หรือสํานั กนีโอคลาสสค ิ ิ ้ • นิยมใชแบบจําลองทางคณิตศาสตร์หรือเศรษฐมิตเป็ นิ เครืองมือในสร ้างแบบจําลองหรือทฤษฎีตางๆ ในการ ่ วิเคราะห์ ั • ข ้อสมมติหลักคือ คนเป็ นสตว์เศรษฐกิจ และตลาดเสรี ิ มีประสทธิภาพสูงสุด
  • 76. เศรษฐศาสตร์กระแสรอง • ยังมีนักเศรษฐศาสตร์คนอืนๆ ทีมองต่างออกไป..... ั • และสงสยในข ้อสมมติหลักว่าในโลกความเป็ นจริง มัน ่ เป็ นเชนนั นหรือไม่ • ถ ้าข ้อสมมติเป็ นจริง ทําไมจึงยังเกิดภาวะเศรษฐกิจ ตกตําครังใหญ่ขน และตามมาด ้วยวิกฤตเศรษฐกิจและ ึ ่ การเงินหลายครัง นั กเศรษฐศาสตร์สวนหนึงจึงหันไป หาทางออกอืนๆ – สํานักเคนส ์ – สํานักนีโอเคนส ์ – ฯลฯ
  • 77. พรมแดนของเศรษฐศาสตร์ • เมือมีการพัฒนาความรู ้ต่างๆ มากขึน พรมแดนของ เศรษฐศาสตร์ก็ขยายกว ้างขึน แตกแขนงออกเป็ น หลายสาขา – เศรษฐศาสตร์การเมือง – เศรษฐศาสตร์สถาบัน – ิ เศรษฐศาสตร์สงแวดล ้อม – เศรษฐศาสตร์ความสุข – เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม
  • 78. เศรษฐศาสตร์การเมือง ึ ั • คือ การศกษาทางเศรษฐศาสตร์ทนํ าเอาปั จจัยด ้านสงคม ี เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม ประเพณี กฎหมาย พฤติกรรม ั ึ ของมนุษย์ อํานาจ ชนชน ฯลฯ เข ้ามาศกษาด ้วย • เพืออธิบายว่าสถาบันการเมือง, สภาวะแวดล ้อมทางการเมือง และระบบเศรษฐกิจมีอทธิพลต่อกันอย่างไร ิ ่ • หรืออาจหมายรวมถึงหัวข ้อเรืองนโยบายสาธารณะ เชน นโยบาย การคลัง, นโยบายการปกป้ องตลาด และการแสวงหาค่าเชาทาง่ เศรษฐกิจ ิ ิ ึ • อ. ศรพร ยอดกมลศาสตร์ นิยามว่า “เป็ นการศกษาเรือง ั ิ ความสมพันธ์เชงอํานาจ ทีโยงยึดอยูกบผลประโยชน์ทาง ่ ั เศรษฐกิจ”
  • 79. เศรษฐศาสตร์การเมือง ึ • โดยวิธการศกษาหรือการตังข ้อสมมติ มักจะวิเคราะห์ท ี ี ้ โครงสร ้างมากกว่าทีจะใชเทคนิคทางคณิตศาสตร์ พูดง่ายๆ ว่า ึ ิ ั เป็ นการศกษาเศรษฐศาสตร์ในเชงสงคมศาสตร์มากกว่าจะ ่ พยายามทําให ้เป็ นวิทยาศาสตร์ โดยการวิเคราะห์สวนใหญ่จะ พิจารณาบริบทของประวัตศาสตร์ด ้วย ิ • คําว่าเศรษฐศาสตร์การเมืองเกิดขึนครังแรกในปี 1615 โดยนัก เศรษฐศาสตร์สํานักธรรมชาตินยม (Physiocrats) ิ ื ี • นักเศรษฐศาสตร์การเมืองทีมีชอเสยงได ้แก่ Adam smith, David Ricardo, Thomas Malthus และวิพากษ์ ตอยอดโดย ่ Karl Marx • เศรษฐศาสตร์การเมืองเอง ก็เกียวพันกับหลายๆ ศาสตร์ ไม่วาจะ ่ ั เป็ นสงคมวิทยา, รัฐศาสตร์, มนุษยวิทยา, จิตวิทยา, ั ประวัตศาสตร์, กฎหมาย, นิเวศวิทยา, ความสมพันธ์ระหว่าง ิ ประเทศ ฯลฯ
  • 80. เศรษฐศาสตร์การเมือง ึ • งานศกษาด ้านเศรษฐศาสตร์การเมืองในปั จจุบนมี ั ค่อนข ้างหลากหลาย ึ ่ – การศกษาการแสวงหาค่าเชาทางเศรษฐกิจในประเด็นต่างๆ ่ เชน ในการเลือกตัง เป็ นต ้น ึ – การศกษาเรืองนโยบายการคลัง ึ – การศกษาเรืองกระบวนการผลิตนโยบายของรัฐ
  • 81. เศรษฐศาสตร์สถาบัน ึ • เน ้นการศกษาและทําความเข ้าใจบทบาทของสถาบันต่างๆ ไม่วา ่ ั จะเป็ นสถาบันทางสงคม สถาบันการเงิน และสถาบันธุรกิจ ใน การเปลียนแปลงพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์ • เศรษฐศาสตร์สถาบันมองว่าตลาดเป็ นผลลัพธ์ของการ ั ่ ปฏิสมพันธ์กนระหว่างสถาบันหลายๆ สถาบัน เชน ปั จเจกบุคคล, ั ั บริษัท, รัฐ, ธรรมเนียมทางสงคม • ข ้อสมมติของเศรษฐศาสตร์สถาบันจะมองว่าคนมีความเป็ นเหตุ เป็ นผลทีจํากัด (bounded rationality) ทีมีการวิวฒนาการ ั เปลียนแปลงไปด ้วย (คนไม่ได ้มีความชอบทีคงที, มีเหตุมผล ี สมบูรณ์เสมอ) และมีข ้อมูลไม่สมบูรณ์ ่ ึ ่ • สวนสถาบันเองก็มการเปลียนแปลง ซงสงผลต่อแรงจูงใจของ ี สถาบันนันๆ ทีมีตอมนุษย์ ่ ื ี • นักเศรษฐศาสตร์สถาบันทีมีชอเสยงได ้แก่ Thorstein Veblen, John Kenneth Galbraith, Gunnar Myrdal ฯลฯ
  • 82. เศรษฐศาสตร์สถาบัน ึ • หัวข ้อทีนักเศรษฐศาสตร์สถาบันทําการศกษา มีความ หลากหลายมาก เชน ่ – ึ ั การศกษาพฤติกรรมการเลือกทีอยูอาศยของคนผิวขาว และผิวดํา ่ – ึ ั การศกษาเรืองความเป็ นธรรมในสงคม – ึ การศกษาเรืองทุนวัฒนธรรม – ึ ั การศกษาเรืองทุนทางสงคม – ึ การศกษาเรืองชนชน ั – ึ การศกษาผลกระทบขององค์กรโลกบาลทีมีตอประชาคมโลก ่