SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 51
Baixar para ler offline
ระบบคุ ้มครองผู ้บริโภค กับความ
                          ั      ี
รับผิดชอบของธุรกิจต่อสงคม (ซเอสอาร์)
                 สฤณี อาชวานันทกุล
              http://www.fringer.org/
                  4 มิถนายน 2011
                       ุ


        งานนี้เผยแพร่ภายใต้สญญาอนุญาต Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa)
                              ั
        โดยผูสร้างอนุญาตให้ทาซา แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะใน
             ้                  ้
         กรณีทให้เครดิตผูสร้าง ไม่นาไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้สญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้เท่านัน
               ่ี        ้                                                      ั                             ้
หัวข ้อบรรยาย

1. จากกระบวนทัศน์ “กาไรสูงสุด” สู่ “ไตรกาไรสุทธิ”
   (triple bottom line)
                                           ี
2. มาตรฐานการเปิ ดเผยข ้อมูล และมาตรฐานซเอสอาร์
3. เราทาอะไรได ้บ ้าง?
จากกระบวนทัศน์ “กาไรสูงสุด” สู่ “ไตร
  กาไรสุทธิ” (triple bottom line)
่       ี
กระบวนทัศน์เก่า: มองผู ้มีสวนได ้เสยจากัด
     Production and Managerial Views
่       ี
กระบวนทัศน์ใหม่: ผู ้มีสวนได ้เสยใกล ้+ไกล
่       ี
ผู ้มีสวนได ้เสยนอกองค์กรมีหลายระดับ
Natural, Social,
                          ้ ี ่
                        ผูมสวนได้     ้ ี ่
                                    ผูมสวนได้       ้ ี ่
                                                  ผูมสวนได้
Economic Environment        ่   ี       ่   ี         ่   ี
                         สวนเสย      สวนเสย        สวนเสย

Value Chain       ้ ี ่
                ผูมสวนได้
                    ่
                 สวนเสย ี


 Supply Chain                                   ลูกค้า


    คูคา
      ่ ้                      องค์กร               ่
                                                ขายสง          ผูบริโภค
                                                                 ้
                คูคา
                  ่ ้
    ย่อย



    ้ ่
  ผูสงมอบ                                                     ร ับจ ัดการ
  ว ัตถุดบ
         ิ                                                    ของเลิกใช ้
การพัฒนาทีผานมาไม่ยงยืน
          ่ ่      ั่




                          9
เรากาลังทะลุขดการรองรับของธรรมชาติ
             ี
Planetary Boundaries:




                                                                                                10
         ที่ มา: The Biosphere Economy, http://www.volans.com/lab/projects/biosphere-economy/
่       ี
ปั จจัยทีผลักดันซเอสอาร์เป็ นทังวิกฤตและโอกาส
                               ้

                 ปั จจัยผลักดัน 10 ประการ
             5 ประเด็นร ้อน                       ่       ี
                                         5 ผู ้มีสวนได ้เสย
                                         สาคัญทีผลักดัน
                                                    ่
         ภาวะสภาพภูมอากาศ
                    ิ                                ่ ่
                                         ผู ้บริโภคทีใสใจ
            เปลียนแปลง
                ่                             ิ่
                                             สงแวดล ้อม
          มลพิษและอันตราย                   ผู ้ถือหุ ้นนัก
             ต่อสุขภาพ                      เคลือนไหว
                                                   ่
           การต่อต ้านโลกาภิ            ภาคประชาสังคม/
           วัตน์ทไม่เป็ นธรรม
                 ี่                        เอ็นจีโอ
             วิกฤตพลังงาน             ผู ้กากับดูแลภาครัฐ/
                                          นักวิทยาศาสตร์
          ความไว ้วางใจของ              ประชาชน/คนใน
           ประชาชนในภาค                  ชุมชนทีได ้รับ
                                                ่
                   ื่
           ธุรกิจเสอมถอย                   ผลกระทบ

  ที่ มา: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social
                                                                                                              11
       Performance Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org
ี
กระแสทีผลักดันซเอสอาร์กระทบทุกมิต ิ
       ่
• กฎหมาย กฎ และระเบียบต่างๆ
• การเปิ ดเผยข ้อมูล และรายงานความรับผิดชอบต่อ
   ั
  สงคม (CSR)
     ื่ ี
• ชอเสยง และภาพลักษณ์ของบริษัท
          ่           ่
• การเปลียนผ่านไปสูการพัฒนาทียั่งยืน
                               ่
  (Sustainable Development)
กรอบคิดของธุรกิจทียงยืน: สมดุลสามขา
                  ่ ั่




                                  13
“Triple Bottom Line”: ไตรกาไรสุทธิ
   ไตรกาไรสุทธิ หมายถึงผลตอบแทนสุทธิทบริษัทสงมอบต่อ
                                              ี่     ่
                                 ั ่ิ             ่
    ระบอบเศรษฐกิจ สงคม และสงแวดล ้อม ไม่ใชประโยชน์ทาง
    ธุรกิจทีบริษัทได ้รับ
                 ่
   อย่างไรก็ด ี แนวคิดการทา “ธุรกิจอย่างยั่งยืน” เสนอว่า บริษัทจะ
    ได ้รับประโยชน์ทางธุรกิจจากกิจกรรมทีสร ้างผลตอบแทนต่อ
                                          ่
      ั                ิ่
    สงคมและสงแวดล ้อมในระยะยาว
                            ่
    ยกตัวอย่างเชน การลงทุนในเทคโนโลยีสะอาด: ผลตอบแทน
              ิ่
    ด ้านสงแวดล ้อม = การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และ
    ผลตอบแทนด ้านการเงิน = การลดต ้นทุนในการดาเนินธุรกิจ (เชน    ่
            ้
    ค่าใชจ่ายเชอเพลิง)    ื้
   ดังนัน เงือนเวลา จึงเป็ นประเด็นสาคัญในการคิด  บริษัท
          ้        ่
                     ่         ั
    จะต ้องเปลียนวิสยทัศน์ให ้มองยาวขึน้
                                                               14
ี
ความรับผิดชอบ (ซเอสอาร์) กับธุรกิจทียั่งยืน
                                    ่

                        ความร ับผิดชอบ
                                ั
                           ต่อสงคม
               ่
              สงเสริม

                           เศรษฐกิจ



                    ั
                   สงคม           ิ่
                                 สงแวดล้อม
  พ ัฒนา
ไปพร้อมก ัน
อย่างสมดุล
เหตุผลทางธุรกิจของการทาธุรกิจทียงยืน
                               ่ ั่
แต่ละบริษัทมีเหตุผลทีแตกต่างกันในการนาหลัก “การ
                     ่
                       ้
พัฒนาอย่างยั่งยืน” มาใชในการดาเนินธุรกิจ
              ี
• แรงจูงใจทางศลธรรม
                             ี่
• ลดต ้นทุนและลด/บริหารความเสยง
                   ิ       ิ
• ประโยชน์ด ้านประสทธิภาพเชงนิเวศ
  (eco-efficiency)                      เหล่านีคอ
                                                ้ ื
                                       “เหตุผลทาง
• สร ้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ทีแตกต่างจาก
                         ่
                                          ธุรกิจ”
  คูแข่ง (product differentiation)
    ่
• เป็ นกลยุทธ์ในการเอาตัวรอดในระยะ
  ยาว (“creative destruction”)                        16
“Pull factor” : ธุรกิจทียงยืนโตเร็ว
                                         ่ ั่
                                                                                                            เสือผ้ า
                                                                                                                ้
                             50%                                                                           ออร์ แกนิก
อ ัตราการเติบโตต่อปี (%)




                                                                                                           $583 ล้ าน
                             40%                                                                สินค้ า
                                                                                               แฟร์ เทรด
                             30%                                                                 $2.2
                                                                          ไมโคร                พันล้ าน
                             20%           อาหารปลอด                     ไฟแนนซ์
                                             สารพิษ                     $7 พันล้ าน
                             10%          $15.5 พันล้ าน



                                                             รายได้ ต่อปี (เหรียญสหรัฐ), 2009
                           ทีมา: Good Capital, Social Enterprise Expansion Fund presentation
                             ่                                                                                          17
“Pull factor” : “ตลาดคนจน” $5 ล ้านล ้าน
• ทัวโลกมีคนทีมรายได ้ตากว่า
    ่           ่ ี      ่
  $2 ต่อวัน 2.6 พันล ้านคน 
  รายได ้น ้อย แต่มจานวนมาก
                    ี
• ถ ้าบุก “ตลาดคนจน” สาเร็จ ก็
                 ่  ั
  จะได ้กาไรและชวยสงคม
      ่
  (ชวยคนจน) ไปพร ้อมกัน




                                       18
“Pull factor” : นักลงทุนเพือความยั่งยืน
                           ่
                       ั
การลงทุนทีรับผิดชอบต่อสงคม (socially responsible
          ่
investment: SRI) เติบโตอย่างต่อเนืองในแทบทุกทวีปทั่วโลก
                                  ่
• $3 ล ้านล ้านในอเมริกา (เกือบ 10%) จานวน 250 กว่ากองทุน –
  เติบโต 260%+ ในรอบหนึงทศวรรษทีผานมา
                             ่        ่ ่
• ในจานวนนี้ กองทุน SRI 35% ที่ Morningstar ติดตาม ได ้
  อันดับ 4 หรือ 5 ดาว (เทียบกับค่าเฉลีย 32.5% ของทังวงการ)
                                      ่            ้
• มีกองทุน SRI กว่า 220 กองทุนในยุโรป
• กองทุน SRI รวมกันบริหารเงิน $13.9 พันล ้านในออสเตรเลีย
• ตลาดหลักทรัพย์ กองทุน SRI แถวหน ้า และผู ้ให ้บริการข ้อมูล
  ทางการเงินขนาดใหญ่หลายเจ ้าสร ้างดัชนีความยังยืนแล ้ว –
                                              ่
  Dow Jones Sustainability Index, FTSE4Good, Domini
  Social Index
                                                                19
Campbell Soup: ซุปโซเดียมตา
                          ่
           ่ ่            ่
• อาหารทีใสเกลือมากมีสวนก่อให ้เกิด
                        ่        ี่
  ความดันโลหิตสูง เพิมความเสยงทีจะ    ่
  เป็ นโรคหัวใจ
• Campbell Soup ยักษ์ ใหญ่ใน
  อุตสาหกรรมอาหาร ร่วมโครงการร่วม
  ระหว่างภาครัฐกับเอกชนชอ     ื่
  “National Salt Reduction
  Initiative” ตังเป้ าลดระดับเกลือใน
                ้
  อาหาร
• บริษัทเปิ ดเผยข ้อมูลโภชนาการอย่าง
  ละเอียด และประกาศเป้ าหมายรายได ้
  จากการขายซุปโซเดียมตา     ่
• ปั จจุบนรายได ้จากซุปโซเดียมตาของ
         ั                          ่
  บริษัทคิดเป็ น 30% ของรายได ้รวม        20
ี
ซเอสอาร์แท ้ต ้องรับผิดชอบ supply chain

 •   Timberland
 •   Patagonia
 •   Body Shops
 •   Ben & Jerry
 •   Wal-Mart
 •   Home Depot

                                     21
มาตรฐานการเปิ ดเผยข ้อมูล และมาตรฐาน
                ี
              ซเอสอาร์
“บัญชี” ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องใหม่

 prehistory        1400AD          2000AD   future



                   INTUITION

                       STORIES


                               SYSTEMS

financial accounting
        environmental and social
                                                23
               accounting                            •23
แต่เริ่มมีมาตรฐานสากล และปฏิญญาระดับโลก

        (People)                  (Planet)                  (Profit)
        Social                   Environment              Economics
                                 Johannesburg Action   Taxes
                                 Plan
                                                       Antitrust laws and
                                 Rio Declaration
                                                       regulations
                                                       UN Anti-Corruption
        The International Bill   The UN Biodiversity
        of Human Rights                                Convention
                                 Convention
                                                       Accounting standards
                                 ISO 14000             & regular financial
                                 ISO 26000 (2010)      reporting



                                                                             24
แนวปฏิบตและมาตรฐานด ้าน CSR
       ั ิ
บทบาทของมาตรฐาน
• ได ้รับการยอมรับ
             ้
• สามารถใชร่วมกันได ้
ี
ISO26000: มาตรฐานซเอสอาร์
Voluntary guideline พัฒนาตังแต่ปี 2005 ประกาศใช้ พ.ย. 2010
                                ้
มีหลักการ 7 ข้อ ได้แก่
1. ​หลักการปฏิบตตามกฎหมาย (Principle of legal compliance) ปฏิบตตาม
                     ั ิ                                               ั ิ
      กฎหมายและกฎเกณฑ์ต่างๆ ทีเกียวข้องในระดับชาติและระดับสากล
                                       ่ ่
2. หลักการเคารพต่อแนวปฏิบตระดับชาติหรือระดับสากล (Principle of respect
                                  ั ิ
      for authoritative inter-government agreements or internationally
      recognized instruments) รวมถึงสนธิสญญาสากล คาสัง่ ประกาศ ข้อตกลง
                                             ั
      มติ และข้อชีนาต่างๆ ซึงได้รับการรับรองจากองค์กรสากลทีเกียวข้องกับบริษท
                   ้          ่                              ่ ่            ั
3. ​หลักการให้ความสาคัญกับผูมีส่วนได้เสีย ( Principle of recognition of
                                   ้
      stakeholders and concerns) บริษทควรตระหนักในสิทธิและผลประโยชน์ของ
                                           ั
      ผูมีส่วนได้เสีย โดยเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นเกียวกับกิจกรรมของบริษท
        ้                                               ่                     ั
      และการตัดสินใจใดๆ ก็ตามทีจะส่งผลกระทบต่อผูมีส่วนได้เสีย
                                     ่             ้                       27
ี
ISO26000: มาตรฐานซเอสอาร์ (ต่อ)
4. หลักของการแสดงรับผิดทีสามารถตรวจสอบได้ (Principle of accountability)
                            ่
   การดาเนินงานใดๆ ก็ตามของบริษท ต้องสามารถตรวจสอบได้จากภายนอก
                                     ั
5. หลักความโปร่งใส (Principle of transparency) บริษทควรเปิดเผยข้อมูลต่างๆให้
                                                      ั
     ้             ่
   ผูมีส่วนได้เสียฝายต่างๆ รวมถึงผูทีเกียวข้องได้รับทราบอย่างชัดเจนและ
                                   ้ ่ ่
   ทันท่วงที
6. หลักความเคารพในสิทธิมนุษยชน (Principle of respect of fundamental
   human right) บริษทควรดาเนินกิจการในทางทีสอดคล้องกับปฏิญญาสากลว่า
                       ั                          ่
   ด้วยสิทธิมนุษยชน
7. หลักความเคารพในความหลากหลาย (Principle of respect for diversity) บริษท ั
   ควรจ้างพนักงานโดยไม่มีการแบ่งแยกเชือชาติ สีผว ความเชื่อ อายุ เพศ
                                          ้         ิ
                                                                         28
ี
องค์ประกอบของซเอสอาร์ใน ISO26000
1. มีการกา​กบ​ด​แลกิจการที่ดี​(Organization governance)​​บริษทควรกาหนด
                 ั ู                                            ั
             ่             ่
    หน้าทีให้คณะกรรมการฝายจัดการ ผูถือหุน และผูมีส่วนได้เสียสามารถสอดส่องดู
                                        ้ ้          ้
    แลผลงานและการดาเนินธุรกิจของบริษทได้ เพือแสดงถึงความโปร่งใส พร้อมรับ
                                           ั       ่
    การตรวจสอบ และสามารถชีแจงให้ผูมีส่วนได้เสียได้รับทราบผลการปฏิบตงานได้
                               ้      ้                               ั ิ
2. ​คา​นึง​ถึง​สิทธิมนุษยชน​(Human rights) ซึงเป็ นสิทธิขนพืนฐานของมนุษย์ โดย
                                                 ่         ั้ ้
    สิทธิดงกล่าวควรครอบคลุมถึงสิทธิความเป็ นพลเมือง สิทธิทางการเมือง สิทธิทาง
           ั
    เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และสิทธิตามกฎหมายระหว่างประเทศด้วย
3. ​ข้อปฏิบติด้านแรงงาน​(Labor practices)​​บริษทต้องตระหนักว่าแรงงานไม่ใช่
               ั                                       ั
                  ้                      ั ิ             ั
    สินค้า ดังนันแรงงานจึงไม่ควรถูกปฏิบตเสมือนเป็ นปจจัยการผลิต
4. การดู​แลส่ิ งแวดล้อม​​(Environment)​บริษทจะต้องคานึงถึงหลักการป้องกัน
                                               ั
      ั
    ปญหามลพิษ ส่งเสริมการบริโภคอย่างยังยืน (sustainable consumption) และการ
                                             ่
    ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพในการผลิตและบริการ                        29
ี
องค์ประกอบของซเอสอาร์ใน ISO26000 (ต่อ)
5. ​การดา​เนินธุรกิจอย่าง​เป็ น​ธรรม​(Fair operating practices)​ธุรกิจควรแข่งขัน
    อย่างเป็ นธรรมและเปิดกว้าง ซึงจะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพในการลดต้นทุนสินค้า
                                 ่
    และบริการ ส่งเสริมนวัตกรรมใหม่ๆ ในการทาธุรกิจ ตลอดจนช่วยขยายการเติบโต
    ทางเศรษฐกิจและมาตรฐานการครองชีพในระยะยาว
6. ​ใส่​ใจต่อ​ผ​บริ​โภค​(Consumer issues)​​บริษทจะต้องเปิดโอกาสให้ผูบริโภคได้
                  ู้                           ั                     ้
    รับทราบข้อมูลในการใช้สินค้าและบริการอย่างเหมาะสม และต้องให้ความสาคัญ
    กับการพัฒนาสินค้าและบริการทีเป็ นประโยชน์ต่อสังคม โดยคานึงถึงความ
                                   ่
    ปลอดภัยในการใช้งานและสุขภาพของผูบริโภค เมือพบว่าสินค้าไม่เป็ นไปตาม
                                         ้         ่
    เกณฑ์ทกาหนด จะต้องมีกลไกในการเรียกคืนสินค้า และเคารพในกฎหมาย
             ่ี
    คุมครองผูบริโภค
      ้         ้
7. การแบ่งปันสู่สงคม​และ​ชมชน​(Contribution to the community and
                      ั       ุ
    society)​                                                               30
Global Reporting Initiative (GRI)
• ชุดหลักเกณฑ์ในการผลิต “รายงานการพัฒนาเพือความยังยืน”
                                                ่     ่
  (sustainability report) – บางบริษัทเรียก “รายงานความ
                   ั
  รับผิดชอบต่อสงคม” (CSR report)
• ครอบคลุมมิตตางๆ และสอดคล ้องกับแนวคิด triple bottom line
               ิ ่
  ทีสด
     ่ ุ
• พัฒนามาจาก CERES Principles จนปั จจุบนเป็ นเครือข่ายทีม ี
                                           ั            ่
           ิ
  สมาชก 30,000 รายทัวโลก มีบริษัททีผลิตรายงานตามเกณฑ์
                          ่           ่
  GRI 1,500 แห่ง
                                ่
• เป้ าหมายหลักของ GRI คือการสงเสริมให ้องค์กรทุกรูปแบบ
  จัดทารายงานความยังยืนอย่างสมาเสมอและมี “มาตรฐาน” เพียง
                      ่           ่
                        ้
  พอทีจะให ้คนนอกใชเปรียบเทียบผลงานระหว่างองค์กรได ้ ไม่
         ่
  ต่างจากการรายงานงบการเงินประจาปี
                                                         31
่
GRI สวนที่ 1: หลักในการทารายงาน
  ่
สวนที่ 1: Defining report content, quality, and boundary
•    ่
    สวนนีอาจเรียกได ้ว่าเป็ น “ปั จจัยผลิต” (inputs) ทีจะกาหนดขอบเขตและ
           ้                                            ่
         ้                               ึ่
    เนือหาของ “ผลผลิต” (outputs) ซงหมายถึงข ้อมูลทีบริษัทจะเปิ ดเผยใน
                                                          ่
       ่
    สวนถัดไป หลักในการทารายงานมีสองหัวข ้อย่อยดังต่อไปนี้
•                 ้                                  ี่
    หลักทีบริษัทใชในการทารายงานความยั่งยืน มีสประเด็นได ้แก่
             ่
      –                             ่                             ้
          ระดับความสาคัญของข ้อมูลทีเปิ ดเผย (materiality) ต ้องใชมุมมองของผู ้มี
           ่       ี
          สวนได ้เสยเป็ นหลัก
      –   ระดับความครอบคลุมผู ้มีสวนได ้เสย (stakeholder inclusiveness) ต ้อง
                                  ่       ี
                                  ่            ่       ี
          อธิบายกระบวนการการมีสวนร่วมของผู ้มีสวนได ้เสยแต่ละฝ่ าย และประเด็นทีผู ้
                                                                               ่
             ่       ี
          มีสวนได ้เสยให ้ความสาคัญ
      –   ทีทางของรายงานในบริบทความยั่งยืน (sustainability context)
            ่
      –   ระดับความครบถ ้วนสมบูรณ์ของข ้อมูล (completeness)
•   การจัดเรียงลาดับหัวข ้อเหล่านีในรายงาน GRI ควรจัดเรียงตามลาดับความ
                                  ้
    สาคัญเพือใหผู ้อ่านเห็นภาพว่าบริษัทให ้น้ าหนักกับประเด็นใด ประเด็นใดมี
              ่    ้
                                            ่
    ความสาคัญมากต่อกิจการของบริษัท (เชน บริษัทกระดาษ ควรให ้น้ าหนัก
                ิ่
    กับมิตด ้านสงแวดล ้อมมากกว่าสถาบันการเงิน)
          ิ
                                                                                    32
่
GRI สวนที่ 1: หลักในการทารายงาน (ต่อ)
•         ่       ้
    หลักทีบริษัทใชในการกาหนด “คุณภาพ” ของ
    รายงาน มีหกประเด็นได ้แก่
     –   ระดับความสมดุลของเนือหา (balance) - ต ้อง
                             ้
                         ิ        ิ
         รายงานทังผลงานเชงบวกและเชงลบ
                 ้
     –   ระดับการเปรียบเทียบได ้(กับองค์กรอืน)
                                            ่
         (comparability)
     –   ระดับความถูกต ้องเทียงตรง (accuracy)
                             ่
     –   ระดับความทันท่วงทีของการรายงาน
         (timeliness)
     –                 ื่
         ระดับความเชอถือได ้ของข ้อมูล (reliability)
     –               ั
         ระดับความชดเจน (clarity)                      33
่
GRI สวนที่ 2: ข ้อมูลทีเปิ ดเผย
                       ่
 ่
สวนที่ 2: Standard Disclosures
•       ่
    สวนนีนับเป็ น “ผลผลิต” ของหลักในการทารายงานทีอธิบายใน
            ้                                          ่
          ่                      ิ             ิ
    สวนแรก ประกอบด ้วยข ้อมูลเชงคุณภาพและเชงปริมาณ แบ่งเป็ น
              ่                                   ี้ ั
    สองสวนย่อยได ้แก่ คาอธิบาย (Profile) และดัชนีชวดผลงานของ
    บริษัทในด ้านต่างๆ หกด ้าน (Performance Indicators)
•   คาอธิบาย (Profile) - รายงานจากมุมมองของการพัฒนาอย่าง
    ยังยืนเป็ นหลัก
      ่
      –   กลยุทธ์และบทวิเคราะห์ (strategy and analysis)
      –   โครงสร ้างองค์กรและธุรกิจหลัก (organizational profile)
      –   ขอบเขตของรายงาน (report parameters)
      –                                                           ั
          โครงสร ้างธรรมาภิบาล (governance) ด ้านความรับผิดชอบต่อสงคม
      –   พันธะต่อข ้อตกลงภายนอก (commitment to external initiatives)
      –                    ่              ่      ี
          กระบวนการการมีสวนร่วมของผู ้มีสวนได ้เสย (stakeholder
          engagement)                                               34
stakeholder engagement ของ SCG Paper

ผูมีส่วนได้เสี ย
 ้                 กระบวนการสร้างความสัมพันธ์           ประเด็นที่ผมีส่วนได้เสี ยให้ความสาคัญ
                                                                   ู้
ผูถือหุ้น
   ้               การประชุมสามัญประจาปี สาหรับผูถอ
                                                  ้ ื    ชือเสียงและความสามารถในการแข่งขัน
                                                           ่
                   หุนรายย่อย, ระบบธรรมาภิบาล,
                     ้                                    ของบริษท      ั
                   รายงานประจาปี , เว็บไซต์ของบริษทั     ผลตอบแทนจากการลงทุน
ลูกค้า             การเยียมเยียนลูกค้าโดยพนักงาน
                        ่                                ราคายุตธรรม
                                                                    ิ
                                                         ส่งสินค้าตรงเวลา
                                                         คุณภาพและความปลอดภัยของสินค้า
                                                         สินค้าทีเป็ นมิตรต่อสิงแวดล้อม
                                                                  ่             ่
ซัพพลายเออร์       การประเมินซัพพลายเออร์, การเยียม
                                                 ่       ราคายุตธรรม ิ
                   เยือนซัพพลายเออร์รายใหญ่, โครงการ     จ่ายเงินตรงเวลา
                   สานสัมพันธ์กบซัพพลายเออร์
                               ั


                                                                                           35
engagement ของ SCG Paper (ต่อ)
ผูมีส่วนได้เสี ย
 ้                 กระบวนการสร้างความสัมพันธ์        ประเด็นที่ผมีส่วนได้เสี ยให้ความสาคัญ
                                                                ู้
พนักงาน            คณะกรรมการสวัสดิการ, แบบสารวจ         ทิศทางและนโยบายบริษท ั
                   ความคิดเห็นของพนักงาน, การเยียม
                                                ่        ความมั ่นคงในงาน
                   เยือนพนักงานของผูบริหาร
                                    ้                    ค่าตอบแทนทีเป็ นธรรม
                                                                         ่
                                                         สภาพแวดล้อมในการทางาน
ชุมชน              การสารวจความคิดเห็น, การเยียมเยือน 
                                                 ่        โอกาสในการทางาน
                   ชุมชน, โครงการ open house,            การรักษาสิงแวดล้อม
                                                                       ่
                   โครงการสานสัมพันธ์กบชุมชน
                                          ั              การพัฒนาชุมชน
องค์กรของรัฐ       การเยียมเยียนของผูบริหาร, การสร้าง 
                            ่           ้                 การปฏิบตตามกฎหมาย
                                                                   ั ิ
                   พันธมิตรเพือส่งเสริมการพัฒนาอย่าง
                              ่                          การช่วยพัฒนาเศรษฐกิจ
                   ยั ่งยืน
องค์กรพัฒนาเอกชน   การขอคาปรึกษาเกียวกับชุมชน, การ
                                      ่               การเพิมมูลค่าทางสังคม
                                                              ่
(เอ็นจีโอ)         พบปะสนทนา, การสร้างพันธมิตรเพือ  ่ การให้การสนับสนุ นโครงการด้านสังคม
                   ส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั ่งยืน       และสิงแวดล้อม
                                                            ่
                                                      สุขภาวะและความเจริญของสังคม 36
่
GRI สวนที่ 2: ข ้อมูลทีเปิ ดเผย (ต่อ)
                       ่
        ี้ ั
ดัชนีชวดผลงานของบริษัท (Performance Indicators) ได ้แก่
              ิ่                 ่
1. ดัชนีด ้านสงแวดล ้อม เชน ปริมาณก๊าซเรือนกระจกทีบริษัทปล่อย
                                                     ่
   ในรอบปี , ปริมาณน้ าทีใช,้ ค่าปรับกรณีละเมิดกฎหมายด ้าน
                             ่
     ิ่
   สงแวดล ้อมทีจายให ้กับรัฐ
                       ่ ่
                 ิ                 ่ ั ่
2. ดัชนีด ้านสทธิมนุษยชน เชน สดสวนของลูกจ ้างทีเป็ นสมาชก
                                                   ่       ิ
   สหภาพแรงงาน, จานวนกรณีความลาเอียงในทีทางานและการ
                                                 ่
   จัดการของบริษัทในกรณีเหล่านี้
                                       ่    ั ่
3. ดัชนีด ้านแรงงานและพนักงาน เชน สดสวนของลูกจ ้างและ
                           ิ
   พนักงานทีเป็ นสมาชกสหภาพแรงงาน, อัตราการออกของ
                   ่
                                         ั่
   พนักงาน (turnover rate), จานวนชวโมงการอบรมทีพนักงาน ่
                         ่     ่
   ได ้รับโดยเฉลีย, อัตราสวนเงินเดือนขันตาของพนักงานชายต่อ
                                             ้ ่
   เงินเดือนขันตาของพนักงานหญิง
                     ้ ่
                                                           37
่
GRI สวนที่ 2: ข ้อมูลทีเปิ ดเผย (ต่อ)
                       ่
               ั             ่
4. ดัชนีด ้านสงคม เชน คาอธิบายหลักการ ขอบเขต และประสทธิผล         ิ
   ของโครงการหรือกระบวนการทีประเมินและบริหารจัดการ
                                       ่
   ผลกระทบของการดาเนินธุรกิจของบริษัทต่อชุมชน โดย
                  ้       ั้         ่                   ่
   ครอบคลุมตังแต่ขนตอนการริเริมกิจการในชุมชน (เชน ก่อสร ้าง
   โรงงานใหม่) การดาเนินกิจการ และการล ้มเลิกหรือย ้ายกิจการ
   ออกจากพืนที, การจัดการกรณีเกิดเหตุฉ ้อฉลหรือคอร์รัปชนของ
              ้ ่                                              ั่
   พนักงาน
                                              ่
5. ดัชนีด ้านความรับผิดชอบต่อผู ้บริโภค เชน คาอธิบายกระบวนการ
                       ี ้ ิ
   ติดฉลากและวิธใชสนค ้าและบริการ, มูลค่าค่าปรับฐานละเมิด
   กฎหมายด ้านความปลอดภัยของสนค ้า       ิ
                                 ่
6. ดัชนีด ้านเศรษฐกิจ เชน มูลค่าทางเศรษฐกิจทีบริษัทสร ้างและ
                                                 ่
                        ่          ี                       ้
   จัดสรรไปยังผู ้มีสวนได ้เสยฝ่ ายต่างๆ อาทิ รายได ้ ค่าใชจ่ายใน
   การดาเนินงาน ค่าตอบแทนพนักงาน เงินบริจาค เงินลงทุนใน
                               ่
   ชุมชน กาไรสะสม (สวนของผู ้ถือหุ ้น) เงินต ้นและดอกเบีย (จ่าย
                                                             ้
   คืนให ้กับเจ ้าหนี) และภาษี (จ่ายให ้กับรัฐ)
                     ้                                              38
แนวทางการดาเนินการ
1.                 ั                      ี
     เข ้าใจความสมพันธ์ระหว่างหลักซเอสอาร์ กับ
     ลักษณะขององค์กร และวิธดาเนินกิจการ
                                ี
2.   มีกลไกรับรู ้ความต ้องการและความคาดหวังของผู ้มี
       ่       ี
     สวนได ้เสยทุกฝ่ าย ผ่านกระบวนการรับเรืองร ้องเรียน
                                            ่
     สานเสวนา ประชุม ฯลฯ
3.                                ี
     ออกแบบแนวทางบูรณาการซเอสอาร์ทั่วทังองค์กร้
4.   กาหนดรูปแบบและแนวทางการสอสาร      ื่
5.                                  ื่          ี
     ให ้ความสาคัญกับ “ความน่าเชอถือ” ของซเอสอาร์
     องค์กร
6.   กาหนดเป้ าหมาย ทบทวน และรายงานผลต่อ
     สาธารณะอย่างสมาเสมอ
                       ่
ระบบการบริหารงาน (Management Systems)
กับ 7 หัวข ้อหลัก (Core subjects) ใน ISO26000

                                                                 ิ
                                                                สทธิมนุษยชน
                                                                  มรท. 8001
                                                                  SA 8001

                                 การพ ัฒนาและ
                                        ่
                                 การมีสวนร่วม     ิ
                                                 สทธิมนุษยชน
                                  ของชุมชน

                                                                              แรงงาน
                                                                              มอก.18001
                                                                              มรท. 8001

                      ิ่
                     สงแวดล้อม                             การปฏิบ ัติ
                                             องค์กร       ด้านแรงงาน
  ิ่
 สงแวดล้อม
   ISO 14001
   ISO 50001
ISO 14064 (GHG)
                                   ประเด็น
              ผูบริโภค
                ้
                                                  การปฏิบ ัติ
               ISO 9001
                                  ผูบริโภค
                                    ้             ทีเปนธรรม
                                                    ่ ็
           Carbon Footprint
           ฉลากเขียว / เบอร์ 5
ี
ประโยชน์ของหลักซเอสอาร์ตอธุรกิจ
                        ่
    ่              ิ
• ชวยให ้การตัดสนใจเป็ นไปด ้วยความรอบคอบ โดยมีความ
  เข ้าใจเพิมขึนต่อ
            ่ ้
                     ั
   – ความคาดหวังของสงคม
   – โอกาสทางธุรกิจ
           ี่                    ั      ิ่
   – ความเสยงต่างๆ โดยเฉพาะด ้านสงคมและสงแวดล ้อม
• ปรับปรุง
   –   แนวปฏิบตในการบริหารความเสยง
                ั ิ                ี่
   –                   ั                          ่      ่   ี
       การสร ้างความสมพันธ์ระหว่างองค์กรกับผู ้มีสวนได ้สวนเสย
   –                ื่
       ความน่าเชอถือ และ ความเป็ นธรรมในการประสานงาน
   –   ความสามารถในการสรรหา จูงใจ และรักษาลูกจ ้าง
   ่
• ชวยสร ้างเสริม
      ื่ ี                ื่
   – ชอเสยงและความน่าเชอถือขององค์กรต่อสาธารณะชน
   – ความจงรักภักดี ขวัญ และ กาลังใจของลูกจ ้าง
ี
ประโยชน์ของหลักซเอสอาร์ตอธุรกิจ (ต่อ)
                        ่
• ป้ องกันและลดความขัดแย ้งทีอาจจะเกิดขึนกับผู ้บริโภคเกียวกับ
                             ่          ้                ่
     ิ
  สนค ้าและการบริการ
• การประหยัด อันเป็ นผลมาจาก
   –                           ้                  ิ
       การเพิมผลผลิต และการใชทรัพยากรอย่างมีประสทธิภาพ
             ่
   –               ้             ้
       ลดการใชพลังงาน และการใชน้ า
   –                      ี
       การลดลงของของเสย (waste)
   –             ้          ิ
       การใชประโยชน์จากสนค ้าพลอยได ้ (by-products)
   –                               ้
       การมีวตถุดบทีเพียงพอต่อการใชงาน
               ั     ิ ่
   ่
• ชวยสนับสนุน
                                       ้
   – การดารงอยูขององค์กรในระยะยาว โดยใชทรัพยากรธรรมชาติและรักษา
               ่
      ิ่
     สงแวดล ้อมอย่างยั่งยืน
                    ่      ่ ั
   – สภาพแวดล ้อมทีน่าอยูในสงคม
เราทาอะไรได ้บ ้าง?
ื่
เอ็นจีโอและสอมีบทบาทสาคัญมาก
 ี
ซเอสอาร์ “แท ้” มักเกิดหลังโดนต่อต ้าน
• Nike – มาตรฐานแรงงาน
•                          ิ่
  Exxon Mobil –ทาลายสงแวดล ้อม
• Kathy Lee Gifford – แรงงานเด็ก
• Philip Morris – ความรับผิดจาก
     ิ
  สนค ้าไม่ปลอดภัย (product
  liability)
               ิ
• Shell Oil – สทธิมนุษยชน
• Addidas และยีห ้อกีฬาอืนๆ –
                 ่       ่
  ปั ญหานักกีฬาโด๊ปยาในโอลิมปิ ก
  2004
                                         44
ผู ้บริโภคมีพลังสูงมากในยุคอินเทอร์เน็ ต




                                           45
ื่
ต ้องสอ “ผู ้บริโภคสร ้างการเปลียนแปลงได ้”
                                ่




  “You vote every time you
    spend money” - Bono
ื่            ั
ต ้องสอประเด็นอย่างชดเจนและ “สนุก”




                                     47
48
‘Less is More’
่ ุ
สูยค “เศรษฐกิจแห่งคุณค่า”?
“ In the 19th century, we were making money
  with money. In the 21st century, I believe and
  hope that we will use values to create value.”
     - Oliver Le Grand , Chairman of the Board of
       Cortal (a subsidiary of BNP Paribas)

“[There is] No Place To Hide for the Irresponsible
 Business”
     - Financial Times headline,
       29 September 2003
                                                     50
“You never change things by fighting the
               existing reality.
  To change something, build a new model
  that makes the existing model obsolete.”

            - R. Buckminster Fuller -

    “คุณไม่มวันเปลียนอะไรก็ตามด ้วยการต่อกรกับ
            ี       ่
                    ความจริงทีเป็ นอยู่
                              ่
ถ ้าคุณอยากเปลียนอะไรก็ตาม จงไปสร ้างโมเดลใหม่
                  ่
              ทีทาให ้โมเดลเดิมล ้าสมัย”
                ่

           - อาร์. บัคมินสเตอร์ ฟุลเลอร์ -
                                                 51

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)

Social Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROISocial Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROISarinee Achavanuntakul
 
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With IctC:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ictthanapat yeekhaday
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจDrDanai Thienphut
 
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1 BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1 ttfintl
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปRungnapa Rungnapa
 
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนาศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนาrattapol
 
Business Model Canvas
Business Model CanvasBusiness Model Canvas
Business Model Canvasdewberry
 
สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์Saran Yuwanna
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
Corporate Good Governance for Sustainable-Dr Pipop
Corporate Good Governance for Sustainable-Dr PipopCorporate Good Governance for Sustainable-Dr Pipop
Corporate Good Governance for Sustainable-Dr PipopMary Prath, home!
 
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0maruay songtanin
 
อบรมเห็ด55
อบรมเห็ด55อบรมเห็ด55
อบรมเห็ด5584village
 

Semelhante a Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR) (20)

SROI of Community Development
SROI of Community DevelopmentSROI of Community Development
SROI of Community Development
 
Social Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROISocial Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROI
 
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With IctC:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจดร.ดนัย เทียนพุฒ  นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ นวัตกรรมไอเดียเปลี่ยนเกมธุรกิจ
 
Social Enterprise: World & Thailand
Social Enterprise: World & ThailandSocial Enterprise: World & Thailand
Social Enterprise: World & Thailand
 
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1 BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
BuildTech'12 SHOW DAILY ฉบับที่ 1
 
Vol01
Vol01Vol01
Vol01
 
CSR and Labor
CSR and LaborCSR and Labor
CSR and Labor
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
 
Nrct
NrctNrct
Nrct
 
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนาศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
 
Business Model Canvas
Business Model CanvasBusiness Model Canvas
Business Model Canvas
 
สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์
 
Intelligent risks
Intelligent risksIntelligent risks
Intelligent risks
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
Corporate Good Governance for Sustainable-Dr Pipop
Corporate Good Governance for Sustainable-Dr PipopCorporate Good Governance for Sustainable-Dr Pipop
Corporate Good Governance for Sustainable-Dr Pipop
 
523
523523
523
 
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
 
The necessary revolution
The necessary revolutionThe necessary revolution
The necessary revolution
 
อบรมเห็ด55
อบรมเห็ด55อบรมเห็ด55
อบรมเห็ด55
 

Mais de Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

Mais de Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 

Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)

  • 1. ระบบคุ ้มครองผู ้บริโภค กับความ ั ี รับผิดชอบของธุรกิจต่อสงคม (ซเอสอาร์) สฤณี อาชวานันทกุล http://www.fringer.org/ 4 มิถนายน 2011 ุ งานนี้เผยแพร่ภายใต้สญญาอนุญาต Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) ั โดยผูสร้างอนุญาตให้ทาซา แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะใน ้ ้ กรณีทให้เครดิตผูสร้าง ไม่นาไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้สญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้เท่านัน ่ี ้ ั ้
  • 2. หัวข ้อบรรยาย 1. จากกระบวนทัศน์ “กาไรสูงสุด” สู่ “ไตรกาไรสุทธิ” (triple bottom line) ี 2. มาตรฐานการเปิ ดเผยข ้อมูล และมาตรฐานซเอสอาร์ 3. เราทาอะไรได ้บ ้าง?
  • 3. จากกระบวนทัศน์ “กาไรสูงสุด” สู่ “ไตร กาไรสุทธิ” (triple bottom line)
  • 4. ี กระบวนทัศน์เก่า: มองผู ้มีสวนได ้เสยจากัด Production and Managerial Views
  • 5.
  • 6.
  • 7. ี กระบวนทัศน์ใหม่: ผู ้มีสวนได ้เสยใกล ้+ไกล
  • 8. ี ผู ้มีสวนได ้เสยนอกองค์กรมีหลายระดับ Natural, Social, ้ ี ่ ผูมสวนได้ ้ ี ่ ผูมสวนได้ ้ ี ่ ผูมสวนได้ Economic Environment ่ ี ่ ี ่ ี สวนเสย สวนเสย สวนเสย Value Chain ้ ี ่ ผูมสวนได้ ่ สวนเสย ี Supply Chain ลูกค้า คูคา ่ ้ องค์กร ่ ขายสง ผูบริโภค ้ คูคา ่ ้ ย่อย ้ ่ ผูสงมอบ ร ับจ ัดการ ว ัตถุดบ ิ ของเลิกใช ้
  • 10. เรากาลังทะลุขดการรองรับของธรรมชาติ ี Planetary Boundaries: 10 ที่ มา: The Biosphere Economy, http://www.volans.com/lab/projects/biosphere-economy/
  • 11. ี ปั จจัยทีผลักดันซเอสอาร์เป็ นทังวิกฤตและโอกาส ้ ปั จจัยผลักดัน 10 ประการ 5 ประเด็นร ้อน ่ ี 5 ผู ้มีสวนได ้เสย สาคัญทีผลักดัน ่ ภาวะสภาพภูมอากาศ ิ ่ ่ ผู ้บริโภคทีใสใจ เปลียนแปลง ่ ิ่ สงแวดล ้อม มลพิษและอันตราย ผู ้ถือหุ ้นนัก ต่อสุขภาพ เคลือนไหว ่ การต่อต ้านโลกาภิ ภาคประชาสังคม/ วัตน์ทไม่เป็ นธรรม ี่ เอ็นจีโอ วิกฤตพลังงาน ผู ้กากับดูแลภาครัฐ/ นักวิทยาศาสตร์ ความไว ้วางใจของ ประชาชน/คนใน ประชาชนในภาค ชุมชนทีได ้รับ ่ ื่ ธุรกิจเสอมถอย ผลกระทบ ที่ มา: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social 11 Performance Measurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org
  • 12. ี กระแสทีผลักดันซเอสอาร์กระทบทุกมิต ิ ่ • กฎหมาย กฎ และระเบียบต่างๆ • การเปิ ดเผยข ้อมูล และรายงานความรับผิดชอบต่อ ั สงคม (CSR) ื่ ี • ชอเสยง และภาพลักษณ์ของบริษัท ่ ่ • การเปลียนผ่านไปสูการพัฒนาทียั่งยืน ่ (Sustainable Development)
  • 14. “Triple Bottom Line”: ไตรกาไรสุทธิ  ไตรกาไรสุทธิ หมายถึงผลตอบแทนสุทธิทบริษัทสงมอบต่อ ี่ ่ ั ่ิ ่ ระบอบเศรษฐกิจ สงคม และสงแวดล ้อม ไม่ใชประโยชน์ทาง ธุรกิจทีบริษัทได ้รับ ่  อย่างไรก็ด ี แนวคิดการทา “ธุรกิจอย่างยั่งยืน” เสนอว่า บริษัทจะ ได ้รับประโยชน์ทางธุรกิจจากกิจกรรมทีสร ้างผลตอบแทนต่อ ่ ั ิ่ สงคมและสงแวดล ้อมในระยะยาว  ่ ยกตัวอย่างเชน การลงทุนในเทคโนโลยีสะอาด: ผลตอบแทน ิ่ ด ้านสงแวดล ้อม = การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และ ผลตอบแทนด ้านการเงิน = การลดต ้นทุนในการดาเนินธุรกิจ (เชน ่ ้ ค่าใชจ่ายเชอเพลิง) ื้  ดังนัน เงือนเวลา จึงเป็ นประเด็นสาคัญในการคิด  บริษัท ้ ่ ่ ั จะต ้องเปลียนวิสยทัศน์ให ้มองยาวขึน้ 14
  • 15. ี ความรับผิดชอบ (ซเอสอาร์) กับธุรกิจทียั่งยืน ่ ความร ับผิดชอบ ั ต่อสงคม ่ สงเสริม เศรษฐกิจ ั สงคม ิ่ สงแวดล้อม พ ัฒนา ไปพร้อมก ัน อย่างสมดุล
  • 16. เหตุผลทางธุรกิจของการทาธุรกิจทียงยืน ่ ั่ แต่ละบริษัทมีเหตุผลทีแตกต่างกันในการนาหลัก “การ ่ ้ พัฒนาอย่างยั่งยืน” มาใชในการดาเนินธุรกิจ ี • แรงจูงใจทางศลธรรม ี่ • ลดต ้นทุนและลด/บริหารความเสยง ิ ิ • ประโยชน์ด ้านประสทธิภาพเชงนิเวศ (eco-efficiency) เหล่านีคอ ้ ื “เหตุผลทาง • สร ้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ทีแตกต่างจาก ่ ธุรกิจ” คูแข่ง (product differentiation) ่ • เป็ นกลยุทธ์ในการเอาตัวรอดในระยะ ยาว (“creative destruction”) 16
  • 17. “Pull factor” : ธุรกิจทียงยืนโตเร็ว ่ ั่ เสือผ้ า ้ 50% ออร์ แกนิก อ ัตราการเติบโตต่อปี (%) $583 ล้ าน 40% สินค้ า แฟร์ เทรด 30% $2.2 ไมโคร พันล้ าน 20% อาหารปลอด ไฟแนนซ์ สารพิษ $7 พันล้ าน 10% $15.5 พันล้ าน รายได้ ต่อปี (เหรียญสหรัฐ), 2009 ทีมา: Good Capital, Social Enterprise Expansion Fund presentation ่ 17
  • 18. “Pull factor” : “ตลาดคนจน” $5 ล ้านล ้าน • ทัวโลกมีคนทีมรายได ้ตากว่า ่ ่ ี ่ $2 ต่อวัน 2.6 พันล ้านคน  รายได ้น ้อย แต่มจานวนมาก ี • ถ ้าบุก “ตลาดคนจน” สาเร็จ ก็ ่ ั จะได ้กาไรและชวยสงคม ่ (ชวยคนจน) ไปพร ้อมกัน 18
  • 19. “Pull factor” : นักลงทุนเพือความยั่งยืน ่ ั การลงทุนทีรับผิดชอบต่อสงคม (socially responsible ่ investment: SRI) เติบโตอย่างต่อเนืองในแทบทุกทวีปทั่วโลก ่ • $3 ล ้านล ้านในอเมริกา (เกือบ 10%) จานวน 250 กว่ากองทุน – เติบโต 260%+ ในรอบหนึงทศวรรษทีผานมา ่ ่ ่ • ในจานวนนี้ กองทุน SRI 35% ที่ Morningstar ติดตาม ได ้ อันดับ 4 หรือ 5 ดาว (เทียบกับค่าเฉลีย 32.5% ของทังวงการ) ่ ้ • มีกองทุน SRI กว่า 220 กองทุนในยุโรป • กองทุน SRI รวมกันบริหารเงิน $13.9 พันล ้านในออสเตรเลีย • ตลาดหลักทรัพย์ กองทุน SRI แถวหน ้า และผู ้ให ้บริการข ้อมูล ทางการเงินขนาดใหญ่หลายเจ ้าสร ้างดัชนีความยังยืนแล ้ว – ่ Dow Jones Sustainability Index, FTSE4Good, Domini Social Index 19
  • 20. Campbell Soup: ซุปโซเดียมตา ่ ่ ่ ่ • อาหารทีใสเกลือมากมีสวนก่อให ้เกิด ่ ี่ ความดันโลหิตสูง เพิมความเสยงทีจะ ่ เป็ นโรคหัวใจ • Campbell Soup ยักษ์ ใหญ่ใน อุตสาหกรรมอาหาร ร่วมโครงการร่วม ระหว่างภาครัฐกับเอกชนชอ ื่ “National Salt Reduction Initiative” ตังเป้ าลดระดับเกลือใน ้ อาหาร • บริษัทเปิ ดเผยข ้อมูลโภชนาการอย่าง ละเอียด และประกาศเป้ าหมายรายได ้ จากการขายซุปโซเดียมตา ่ • ปั จจุบนรายได ้จากซุปโซเดียมตาของ ั ่ บริษัทคิดเป็ น 30% ของรายได ้รวม 20
  • 21. ี ซเอสอาร์แท ้ต ้องรับผิดชอบ supply chain • Timberland • Patagonia • Body Shops • Ben & Jerry • Wal-Mart • Home Depot 21
  • 22. มาตรฐานการเปิ ดเผยข ้อมูล และมาตรฐาน ี ซเอสอาร์
  • 23. “บัญชี” ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องใหม่ prehistory 1400AD 2000AD future INTUITION STORIES SYSTEMS financial accounting environmental and social 23 accounting •23
  • 24. แต่เริ่มมีมาตรฐานสากล และปฏิญญาระดับโลก (People) (Planet) (Profit) Social Environment Economics Johannesburg Action Taxes Plan Antitrust laws and Rio Declaration regulations UN Anti-Corruption The International Bill The UN Biodiversity of Human Rights Convention Convention Accounting standards ISO 14000 & regular financial ISO 26000 (2010) reporting 24
  • 26. บทบาทของมาตรฐาน • ได ้รับการยอมรับ ้ • สามารถใชร่วมกันได ้
  • 27. ี ISO26000: มาตรฐานซเอสอาร์ Voluntary guideline พัฒนาตังแต่ปี 2005 ประกาศใช้ พ.ย. 2010 ้ มีหลักการ 7 ข้อ ได้แก่ 1. ​หลักการปฏิบตตามกฎหมาย (Principle of legal compliance) ปฏิบตตาม ั ิ ั ิ กฎหมายและกฎเกณฑ์ต่างๆ ทีเกียวข้องในระดับชาติและระดับสากล ่ ่ 2. หลักการเคารพต่อแนวปฏิบตระดับชาติหรือระดับสากล (Principle of respect ั ิ for authoritative inter-government agreements or internationally recognized instruments) รวมถึงสนธิสญญาสากล คาสัง่ ประกาศ ข้อตกลง ั มติ และข้อชีนาต่างๆ ซึงได้รับการรับรองจากองค์กรสากลทีเกียวข้องกับบริษท ้ ่ ่ ่ ั 3. ​หลักการให้ความสาคัญกับผูมีส่วนได้เสีย ( Principle of recognition of ้ stakeholders and concerns) บริษทควรตระหนักในสิทธิและผลประโยชน์ของ ั ผูมีส่วนได้เสีย โดยเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นเกียวกับกิจกรรมของบริษท ้ ่ ั และการตัดสินใจใดๆ ก็ตามทีจะส่งผลกระทบต่อผูมีส่วนได้เสีย ่ ้ 27
  • 28. ี ISO26000: มาตรฐานซเอสอาร์ (ต่อ) 4. หลักของการแสดงรับผิดทีสามารถตรวจสอบได้ (Principle of accountability) ่ การดาเนินงานใดๆ ก็ตามของบริษท ต้องสามารถตรวจสอบได้จากภายนอก ั 5. หลักความโปร่งใส (Principle of transparency) บริษทควรเปิดเผยข้อมูลต่างๆให้ ั ้ ่ ผูมีส่วนได้เสียฝายต่างๆ รวมถึงผูทีเกียวข้องได้รับทราบอย่างชัดเจนและ ้ ่ ่ ทันท่วงที 6. หลักความเคารพในสิทธิมนุษยชน (Principle of respect of fundamental human right) บริษทควรดาเนินกิจการในทางทีสอดคล้องกับปฏิญญาสากลว่า ั ่ ด้วยสิทธิมนุษยชน 7. หลักความเคารพในความหลากหลาย (Principle of respect for diversity) บริษท ั ควรจ้างพนักงานโดยไม่มีการแบ่งแยกเชือชาติ สีผว ความเชื่อ อายุ เพศ ้ ิ 28
  • 29. ี องค์ประกอบของซเอสอาร์ใน ISO26000 1. มีการกา​กบ​ด​แลกิจการที่ดี​(Organization governance)​​บริษทควรกาหนด ั ู ั ่ ่ หน้าทีให้คณะกรรมการฝายจัดการ ผูถือหุน และผูมีส่วนได้เสียสามารถสอดส่องดู ้ ้ ้ แลผลงานและการดาเนินธุรกิจของบริษทได้ เพือแสดงถึงความโปร่งใส พร้อมรับ ั ่ การตรวจสอบ และสามารถชีแจงให้ผูมีส่วนได้เสียได้รับทราบผลการปฏิบตงานได้ ้ ้ ั ิ 2. ​คา​นึง​ถึง​สิทธิมนุษยชน​(Human rights) ซึงเป็ นสิทธิขนพืนฐานของมนุษย์ โดย ่ ั้ ้ สิทธิดงกล่าวควรครอบคลุมถึงสิทธิความเป็ นพลเมือง สิทธิทางการเมือง สิทธิทาง ั เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และสิทธิตามกฎหมายระหว่างประเทศด้วย 3. ​ข้อปฏิบติด้านแรงงาน​(Labor practices)​​บริษทต้องตระหนักว่าแรงงานไม่ใช่ ั ั ้ ั ิ ั สินค้า ดังนันแรงงานจึงไม่ควรถูกปฏิบตเสมือนเป็ นปจจัยการผลิต 4. การดู​แลส่ิ งแวดล้อม​​(Environment)​บริษทจะต้องคานึงถึงหลักการป้องกัน ั ั ปญหามลพิษ ส่งเสริมการบริโภคอย่างยังยืน (sustainable consumption) และการ ่ ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพในการผลิตและบริการ 29
  • 30. ี องค์ประกอบของซเอสอาร์ใน ISO26000 (ต่อ) 5. ​การดา​เนินธุรกิจอย่าง​เป็ น​ธรรม​(Fair operating practices)​ธุรกิจควรแข่งขัน อย่างเป็ นธรรมและเปิดกว้าง ซึงจะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพในการลดต้นทุนสินค้า ่ และบริการ ส่งเสริมนวัตกรรมใหม่ๆ ในการทาธุรกิจ ตลอดจนช่วยขยายการเติบโต ทางเศรษฐกิจและมาตรฐานการครองชีพในระยะยาว 6. ​ใส่​ใจต่อ​ผ​บริ​โภค​(Consumer issues)​​บริษทจะต้องเปิดโอกาสให้ผูบริโภคได้ ู้ ั ้ รับทราบข้อมูลในการใช้สินค้าและบริการอย่างเหมาะสม และต้องให้ความสาคัญ กับการพัฒนาสินค้าและบริการทีเป็ นประโยชน์ต่อสังคม โดยคานึงถึงความ ่ ปลอดภัยในการใช้งานและสุขภาพของผูบริโภค เมือพบว่าสินค้าไม่เป็ นไปตาม ้ ่ เกณฑ์ทกาหนด จะต้องมีกลไกในการเรียกคืนสินค้า และเคารพในกฎหมาย ่ี คุมครองผูบริโภค ้ ้ 7. การแบ่งปันสู่สงคม​และ​ชมชน​(Contribution to the community and ั ุ society)​ 30
  • 31. Global Reporting Initiative (GRI) • ชุดหลักเกณฑ์ในการผลิต “รายงานการพัฒนาเพือความยังยืน” ่ ่ (sustainability report) – บางบริษัทเรียก “รายงานความ ั รับผิดชอบต่อสงคม” (CSR report) • ครอบคลุมมิตตางๆ และสอดคล ้องกับแนวคิด triple bottom line ิ ่ ทีสด ่ ุ • พัฒนามาจาก CERES Principles จนปั จจุบนเป็ นเครือข่ายทีม ี ั ่ ิ สมาชก 30,000 รายทัวโลก มีบริษัททีผลิตรายงานตามเกณฑ์ ่ ่ GRI 1,500 แห่ง ่ • เป้ าหมายหลักของ GRI คือการสงเสริมให ้องค์กรทุกรูปแบบ จัดทารายงานความยังยืนอย่างสมาเสมอและมี “มาตรฐาน” เพียง ่ ่ ้ พอทีจะให ้คนนอกใชเปรียบเทียบผลงานระหว่างองค์กรได ้ ไม่ ่ ต่างจากการรายงานงบการเงินประจาปี 31
  • 32. ่ GRI สวนที่ 1: หลักในการทารายงาน ่ สวนที่ 1: Defining report content, quality, and boundary • ่ สวนนีอาจเรียกได ้ว่าเป็ น “ปั จจัยผลิต” (inputs) ทีจะกาหนดขอบเขตและ ้ ่ ้ ึ่ เนือหาของ “ผลผลิต” (outputs) ซงหมายถึงข ้อมูลทีบริษัทจะเปิ ดเผยใน ่ ่ สวนถัดไป หลักในการทารายงานมีสองหัวข ้อย่อยดังต่อไปนี้ • ้ ี่ หลักทีบริษัทใชในการทารายงานความยั่งยืน มีสประเด็นได ้แก่ ่ – ่ ้ ระดับความสาคัญของข ้อมูลทีเปิ ดเผย (materiality) ต ้องใชมุมมองของผู ้มี ่ ี สวนได ้เสยเป็ นหลัก – ระดับความครอบคลุมผู ้มีสวนได ้เสย (stakeholder inclusiveness) ต ้อง ่ ี ่ ่ ี อธิบายกระบวนการการมีสวนร่วมของผู ้มีสวนได ้เสยแต่ละฝ่ าย และประเด็นทีผู ้ ่ ่ ี มีสวนได ้เสยให ้ความสาคัญ – ทีทางของรายงานในบริบทความยั่งยืน (sustainability context) ่ – ระดับความครบถ ้วนสมบูรณ์ของข ้อมูล (completeness) • การจัดเรียงลาดับหัวข ้อเหล่านีในรายงาน GRI ควรจัดเรียงตามลาดับความ ้ สาคัญเพือใหผู ้อ่านเห็นภาพว่าบริษัทให ้น้ าหนักกับประเด็นใด ประเด็นใดมี ่ ้ ่ ความสาคัญมากต่อกิจการของบริษัท (เชน บริษัทกระดาษ ควรให ้น้ าหนัก ิ่ กับมิตด ้านสงแวดล ้อมมากกว่าสถาบันการเงิน) ิ 32
  • 33. ่ GRI สวนที่ 1: หลักในการทารายงาน (ต่อ) • ่ ้ หลักทีบริษัทใชในการกาหนด “คุณภาพ” ของ รายงาน มีหกประเด็นได ้แก่ – ระดับความสมดุลของเนือหา (balance) - ต ้อง ้ ิ ิ รายงานทังผลงานเชงบวกและเชงลบ ้ – ระดับการเปรียบเทียบได ้(กับองค์กรอืน) ่ (comparability) – ระดับความถูกต ้องเทียงตรง (accuracy) ่ – ระดับความทันท่วงทีของการรายงาน (timeliness) – ื่ ระดับความเชอถือได ้ของข ้อมูล (reliability) – ั ระดับความชดเจน (clarity) 33
  • 34. ่ GRI สวนที่ 2: ข ้อมูลทีเปิ ดเผย ่ ่ สวนที่ 2: Standard Disclosures • ่ สวนนีนับเป็ น “ผลผลิต” ของหลักในการทารายงานทีอธิบายใน ้ ่ ่ ิ ิ สวนแรก ประกอบด ้วยข ้อมูลเชงคุณภาพและเชงปริมาณ แบ่งเป็ น ่ ี้ ั สองสวนย่อยได ้แก่ คาอธิบาย (Profile) และดัชนีชวดผลงานของ บริษัทในด ้านต่างๆ หกด ้าน (Performance Indicators) • คาอธิบาย (Profile) - รายงานจากมุมมองของการพัฒนาอย่าง ยังยืนเป็ นหลัก ่ – กลยุทธ์และบทวิเคราะห์ (strategy and analysis) – โครงสร ้างองค์กรและธุรกิจหลัก (organizational profile) – ขอบเขตของรายงาน (report parameters) – ั โครงสร ้างธรรมาภิบาล (governance) ด ้านความรับผิดชอบต่อสงคม – พันธะต่อข ้อตกลงภายนอก (commitment to external initiatives) – ่ ่ ี กระบวนการการมีสวนร่วมของผู ้มีสวนได ้เสย (stakeholder engagement) 34
  • 35. stakeholder engagement ของ SCG Paper ผูมีส่วนได้เสี ย ้ กระบวนการสร้างความสัมพันธ์ ประเด็นที่ผมีส่วนได้เสี ยให้ความสาคัญ ู้ ผูถือหุ้น ้ การประชุมสามัญประจาปี สาหรับผูถอ ้ ื  ชือเสียงและความสามารถในการแข่งขัน ่ หุนรายย่อย, ระบบธรรมาภิบาล, ้ ของบริษท ั รายงานประจาปี , เว็บไซต์ของบริษทั  ผลตอบแทนจากการลงทุน ลูกค้า การเยียมเยียนลูกค้าโดยพนักงาน ่  ราคายุตธรรม ิ  ส่งสินค้าตรงเวลา  คุณภาพและความปลอดภัยของสินค้า  สินค้าทีเป็ นมิตรต่อสิงแวดล้อม ่ ่ ซัพพลายเออร์ การประเมินซัพพลายเออร์, การเยียม ่  ราคายุตธรรม ิ เยือนซัพพลายเออร์รายใหญ่, โครงการ  จ่ายเงินตรงเวลา สานสัมพันธ์กบซัพพลายเออร์ ั 35
  • 36. engagement ของ SCG Paper (ต่อ) ผูมีส่วนได้เสี ย ้ กระบวนการสร้างความสัมพันธ์ ประเด็นที่ผมีส่วนได้เสี ยให้ความสาคัญ ู้ พนักงาน คณะกรรมการสวัสดิการ, แบบสารวจ  ทิศทางและนโยบายบริษท ั ความคิดเห็นของพนักงาน, การเยียม ่  ความมั ่นคงในงาน เยือนพนักงานของผูบริหาร ้  ค่าตอบแทนทีเป็ นธรรม ่  สภาพแวดล้อมในการทางาน ชุมชน การสารวจความคิดเห็น, การเยียมเยือน  ่ โอกาสในการทางาน ชุมชน, โครงการ open house,  การรักษาสิงแวดล้อม ่ โครงการสานสัมพันธ์กบชุมชน ั  การพัฒนาชุมชน องค์กรของรัฐ การเยียมเยียนของผูบริหาร, การสร้าง  ่ ้ การปฏิบตตามกฎหมาย ั ิ พันธมิตรเพือส่งเสริมการพัฒนาอย่าง ่  การช่วยพัฒนาเศรษฐกิจ ยั ่งยืน องค์กรพัฒนาเอกชน การขอคาปรึกษาเกียวกับชุมชน, การ ่ การเพิมมูลค่าทางสังคม ่ (เอ็นจีโอ) พบปะสนทนา, การสร้างพันธมิตรเพือ ่ การให้การสนับสนุ นโครงการด้านสังคม ส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั ่งยืน และสิงแวดล้อม ่  สุขภาวะและความเจริญของสังคม 36
  • 37. ่ GRI สวนที่ 2: ข ้อมูลทีเปิ ดเผย (ต่อ) ่ ี้ ั ดัชนีชวดผลงานของบริษัท (Performance Indicators) ได ้แก่ ิ่ ่ 1. ดัชนีด ้านสงแวดล ้อม เชน ปริมาณก๊าซเรือนกระจกทีบริษัทปล่อย ่ ในรอบปี , ปริมาณน้ าทีใช,้ ค่าปรับกรณีละเมิดกฎหมายด ้าน ่ ิ่ สงแวดล ้อมทีจายให ้กับรัฐ ่ ่ ิ ่ ั ่ 2. ดัชนีด ้านสทธิมนุษยชน เชน สดสวนของลูกจ ้างทีเป็ นสมาชก ่ ิ สหภาพแรงงาน, จานวนกรณีความลาเอียงในทีทางานและการ ่ จัดการของบริษัทในกรณีเหล่านี้ ่ ั ่ 3. ดัชนีด ้านแรงงานและพนักงาน เชน สดสวนของลูกจ ้างและ ิ พนักงานทีเป็ นสมาชกสหภาพแรงงาน, อัตราการออกของ ่ ั่ พนักงาน (turnover rate), จานวนชวโมงการอบรมทีพนักงาน ่ ่ ่ ได ้รับโดยเฉลีย, อัตราสวนเงินเดือนขันตาของพนักงานชายต่อ ้ ่ เงินเดือนขันตาของพนักงานหญิง ้ ่ 37
  • 38. ่ GRI สวนที่ 2: ข ้อมูลทีเปิ ดเผย (ต่อ) ่ ั ่ 4. ดัชนีด ้านสงคม เชน คาอธิบายหลักการ ขอบเขต และประสทธิผล ิ ของโครงการหรือกระบวนการทีประเมินและบริหารจัดการ ่ ผลกระทบของการดาเนินธุรกิจของบริษัทต่อชุมชน โดย ้ ั้ ่ ่ ครอบคลุมตังแต่ขนตอนการริเริมกิจการในชุมชน (เชน ก่อสร ้าง โรงงานใหม่) การดาเนินกิจการ และการล ้มเลิกหรือย ้ายกิจการ ออกจากพืนที, การจัดการกรณีเกิดเหตุฉ ้อฉลหรือคอร์รัปชนของ ้ ่ ั่ พนักงาน ่ 5. ดัชนีด ้านความรับผิดชอบต่อผู ้บริโภค เชน คาอธิบายกระบวนการ ี ้ ิ ติดฉลากและวิธใชสนค ้าและบริการ, มูลค่าค่าปรับฐานละเมิด กฎหมายด ้านความปลอดภัยของสนค ้า ิ ่ 6. ดัชนีด ้านเศรษฐกิจ เชน มูลค่าทางเศรษฐกิจทีบริษัทสร ้างและ ่ ่ ี ้ จัดสรรไปยังผู ้มีสวนได ้เสยฝ่ ายต่างๆ อาทิ รายได ้ ค่าใชจ่ายใน การดาเนินงาน ค่าตอบแทนพนักงาน เงินบริจาค เงินลงทุนใน ่ ชุมชน กาไรสะสม (สวนของผู ้ถือหุ ้น) เงินต ้นและดอกเบีย (จ่าย ้ คืนให ้กับเจ ้าหนี) และภาษี (จ่ายให ้กับรัฐ) ้ 38
  • 39. แนวทางการดาเนินการ 1. ั ี เข ้าใจความสมพันธ์ระหว่างหลักซเอสอาร์ กับ ลักษณะขององค์กร และวิธดาเนินกิจการ ี 2. มีกลไกรับรู ้ความต ้องการและความคาดหวังของผู ้มี ่ ี สวนได ้เสยทุกฝ่ าย ผ่านกระบวนการรับเรืองร ้องเรียน ่ สานเสวนา ประชุม ฯลฯ 3. ี ออกแบบแนวทางบูรณาการซเอสอาร์ทั่วทังองค์กร้ 4. กาหนดรูปแบบและแนวทางการสอสาร ื่ 5. ื่ ี ให ้ความสาคัญกับ “ความน่าเชอถือ” ของซเอสอาร์ องค์กร 6. กาหนดเป้ าหมาย ทบทวน และรายงานผลต่อ สาธารณะอย่างสมาเสมอ ่
  • 40. ระบบการบริหารงาน (Management Systems) กับ 7 หัวข ้อหลัก (Core subjects) ใน ISO26000 ิ สทธิมนุษยชน มรท. 8001 SA 8001 การพ ัฒนาและ ่ การมีสวนร่วม ิ สทธิมนุษยชน ของชุมชน แรงงาน มอก.18001 มรท. 8001 ิ่ สงแวดล้อม การปฏิบ ัติ องค์กร ด้านแรงงาน ิ่ สงแวดล้อม ISO 14001 ISO 50001 ISO 14064 (GHG) ประเด็น ผูบริโภค ้ การปฏิบ ัติ ISO 9001 ผูบริโภค ้ ทีเปนธรรม ่ ็ Carbon Footprint ฉลากเขียว / เบอร์ 5
  • 41. ี ประโยชน์ของหลักซเอสอาร์ตอธุรกิจ ่ ่ ิ • ชวยให ้การตัดสนใจเป็ นไปด ้วยความรอบคอบ โดยมีความ เข ้าใจเพิมขึนต่อ ่ ้ ั – ความคาดหวังของสงคม – โอกาสทางธุรกิจ ี่ ั ิ่ – ความเสยงต่างๆ โดยเฉพาะด ้านสงคมและสงแวดล ้อม • ปรับปรุง – แนวปฏิบตในการบริหารความเสยง ั ิ ี่ – ั ่ ่ ี การสร ้างความสมพันธ์ระหว่างองค์กรกับผู ้มีสวนได ้สวนเสย – ื่ ความน่าเชอถือ และ ความเป็ นธรรมในการประสานงาน – ความสามารถในการสรรหา จูงใจ และรักษาลูกจ ้าง ่ • ชวยสร ้างเสริม ื่ ี ื่ – ชอเสยงและความน่าเชอถือขององค์กรต่อสาธารณะชน – ความจงรักภักดี ขวัญ และ กาลังใจของลูกจ ้าง
  • 42. ี ประโยชน์ของหลักซเอสอาร์ตอธุรกิจ (ต่อ) ่ • ป้ องกันและลดความขัดแย ้งทีอาจจะเกิดขึนกับผู ้บริโภคเกียวกับ ่ ้ ่ ิ สนค ้าและการบริการ • การประหยัด อันเป็ นผลมาจาก – ้ ิ การเพิมผลผลิต และการใชทรัพยากรอย่างมีประสทธิภาพ ่ – ้ ้ ลดการใชพลังงาน และการใชน้ า – ี การลดลงของของเสย (waste) – ้ ิ การใชประโยชน์จากสนค ้าพลอยได ้ (by-products) – ้ การมีวตถุดบทีเพียงพอต่อการใชงาน ั ิ ่ ่ • ชวยสนับสนุน ้ – การดารงอยูขององค์กรในระยะยาว โดยใชทรัพยากรธรรมชาติและรักษา ่ ิ่ สงแวดล ้อมอย่างยั่งยืน ่ ่ ั – สภาพแวดล ้อมทีน่าอยูในสงคม
  • 44. ื่ เอ็นจีโอและสอมีบทบาทสาคัญมาก ี ซเอสอาร์ “แท ้” มักเกิดหลังโดนต่อต ้าน • Nike – มาตรฐานแรงงาน • ิ่ Exxon Mobil –ทาลายสงแวดล ้อม • Kathy Lee Gifford – แรงงานเด็ก • Philip Morris – ความรับผิดจาก ิ สนค ้าไม่ปลอดภัย (product liability) ิ • Shell Oil – สทธิมนุษยชน • Addidas และยีห ้อกีฬาอืนๆ – ่ ่ ปั ญหานักกีฬาโด๊ปยาในโอลิมปิ ก 2004 44
  • 46. ื่ ต ้องสอ “ผู ้บริโภคสร ้างการเปลียนแปลงได ้” ่ “You vote every time you spend money” - Bono
  • 47. ื่ ั ต ้องสอประเด็นอย่างชดเจนและ “สนุก” 47
  • 48. 48
  • 50. ่ ุ สูยค “เศรษฐกิจแห่งคุณค่า”? “ In the 19th century, we were making money with money. In the 21st century, I believe and hope that we will use values to create value.” - Oliver Le Grand , Chairman of the Board of Cortal (a subsidiary of BNP Paribas) “[There is] No Place To Hide for the Irresponsible Business” - Financial Times headline, 29 September 2003 50
  • 51. “You never change things by fighting the existing reality. To change something, build a new model that makes the existing model obsolete.” - R. Buckminster Fuller - “คุณไม่มวันเปลียนอะไรก็ตามด ้วยการต่อกรกับ ี ่ ความจริงทีเป็ นอยู่ ่ ถ ้าคุณอยากเปลียนอะไรก็ตาม จงไปสร ้างโมเดลใหม่ ่ ทีทาให ้โมเดลเดิมล ้าสมัย” ่ - อาร์. บัคมินสเตอร์ ฟุลเลอร์ - 51