SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การเลือกตัวอย่าง  วิชา  427-302 Social Sciences Research Methodology
การเลือกตัวอย่าง ขั้นตอนสำคัญตอนหนึ่งของงานวิจัย คือ การรวบรวมข้อมูลเพื่อหาคำตอบที่ผู้วิจัยต้องการทราบ เป้าหมายที่สำคัญของผู้วิจัยมุ่งรวบรวม คือ ประชากร แต่ในงานวิจัยส่วนใหญ่แล้วผู้วิจัยไม่สามารถที่จะรวบรวมข้อมูลจากประชากรได้ทั้งหมด เพราะมีข้อจำกัดด้านเวลา งบประมาณแรงงานที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล จึงจำเป็นต้องอาศัยหน่วยตัวอย่างเข้ามาใช้แทนในงานวิจัย ซึ่งในบทนี้จะเสนอเกี่ยวกับ ความหมายของการสุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มตัวอย่าง และลักษณะที่ดีของกลุ่มตัวอย่าง
Population Sample Unit of analysis;  ปรากฏการณ์ Level of analysis ;variable
ประชากร  หมายถึง  กลุ่มหน่วยทั้งหมดที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา ซึ่งอาจเป็นคน สัตว์ สถานที่ หน่วยงาน เอกสารต่างๆ ฯลฯ  ความหมายและความสำคัญของการเลือกหน่วยตัวอย่าง
ประชากรมี  2  ลักษณะ คือ         1.  ประชากรที่จำกัดจำนวน   คือ ประชากรที่สามารถนับจำนวนได้ครบทุกหน่วย เช่นประชากร ของนักเรียนชั้น ป . 6  ของโรงเรียนบ้านขามเรียง จำนวนป้ายโฆษณาในเขตมหาวิทยาลัยมหาสารคามในเดือน มกราคม ฯลฯ          2.  ประชากรที่ไม่จำกัดจำนวน   คือ   ประชากรที่ผู้วิจัยไม่สามารถนับจำนวนได้ครบถ้วน เช่น จำนวนสาหร่ายน้ำจืดในคลองสมถวิล ในเขตเทศบาลมหาสารคาม จำนวนปลาในคลองสมถวิล เป็นต้น
กลุ่มตัวอย่าง  (Sample)  หมายถึง  ส่วนหนึ่งของประชากรที่ผู้วิจัยเลือกขึ้นมาเพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลในการทำการวิจัย เนื่องจากประชากรที่ศึกษามีจำนวนมาก ผู้วิจัยไม่สามารถเก็บข้อมูลมาได้ทั้งหมด จึงจำเป็นต้องเลือกหน่วยตัวอย่างเพียงบางส่วนจากประชากรทั้งหมดมาทำการศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่จะมีคุณลักษณะและคุณสมบัติเช่นเดียวกับสมาชิกของประชากรทั้งหมด ข้อมูลที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างจึงเปรียบเสมือนกับประชากรทั้งหมด
เลือก  select สุ่ม  (sampling) sample
ความจำเป็นที่ต้องมีการสุ่มตัวอย่าง 1.  เมื่อต้องการทราบผลการวิจัยหรือสำรวจเร็ว   การรวบรวมข้อมูลจากทุกหน่วยของประชากรจะทำให้เสียเวลาในการรวบรวมและประมวลผลข้อมูลมาก ข้อมูลที่เก็บมาได้อาจล้าสมัยและไม่สามรถนำๆไปใช้ประโยชน์ได้ทันเวลา 2 .  เมื่อต้องการประหยัดค่าใช้จ่ายในการวิจัยหรือมีค่าใช้จ่ายในการวิจัยจำกัด
ข้อมูลอยู่ที่ใหน เก็บจากใคร ด้วยวิธีการอะไร ใช้เครื่องมืออะไร
ความจำเป็นที่ต้องมีการสุ่มตัวอย่าง 3.  เมื่อต้องการความถูกต้องของข้อมูลมากแต่มีกำลังคนที่มีประสิทธิภาพในการรวบรวมข้อมูลน้อย  เนื่องด้วยคุณภาพเป็นสิ่งที่สำคัญ และผู้วิจัยต้องพยายามทำให้การเก็บรวบรวมข้อมูลมีความน่าเชื่อถือ เพื่อให้ข้อมูลมีคุณภาพต่อไป 4.  เมื่อต้องการเก็บรวบรวมข้อมูลบางประเภทที่ไม่สามารถนำมาศึกษาหรือทดลองได้  เช่น ในการสำรวจสอบอายุการใช้งานของสินค้าต่างๆ หากนำเอา สินค้าทุกชิ้นมาตรวจสอบ สินค้าที่มาตรวจสอบไม่สามารถที่จะนำไปใช้ได้อีกต่อไป
แผนแบบการเลือกหน่วยตัวอย่างจำแนกได้กว้างๆ  2  วิธี คือ ,[object Object],[object Object]
1.  การเลือกตัวอย่างที่ไม่อาศัยความน่าจะเป็น การเลือกหน่วยตัวอย่างแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น เป็นการสุ่มโดยไม่คำนึงถึงโอกาสเท่าเทียมในการถูกเลือกของแต่ละหน่วยประชากร เป็นวิธีการเลือกตัวอย่างโดยยึดความสะดวก และความเหมาะสม การเลือกตัวอย่างแบบนี้เป็นเพราะผู้วิจัยไม่สามารถทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน หรือไม่สามารถประมาณขนาดประชากรได้ชัดเจนหรือไม่มีรายชื่อของหน่วย ซึ่งผลเสียของการสุ่มแบบนี้ ไม่ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนที่ดีของประชากรหมือนแบบอาศัยความน่าจะเป็น ซึ่งหากจำเป็นต้องเลือกตัวอย่างแบบนี้ วิธีแก้ คือพยายามสุ่มตัวอย่างให้ได้จำนวนมากที่สุดเท่าที่เวลา แรงงาน และงบประมาณที่กำหนดไว้จะทำได้  วิธีการเลือกตัวอย่างแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น   ที่นิยมใช้กันทั่วไปมีหลายวิธีดังนี้
1. 1  การเลือกตัวอย่างแบบบังเอิญ  (accidental sampling) การเลือกตัวอย่างแบบบังเอิญ เป็นการเลือกตัวอย่างที่ยึดความสะดวกสบายหรือความปลอดภัยของผู้วิจัยเป็นหลัก โดยเลือกตัวอย่างเท่าที่มีหรือตามที่ได้รับความร่วมมือ เช่น เก็บข้อมูลจากบุคคลตามป้ายรถเมล์ ในย่านชุมชนหรือจากผู้มารับบริการในหน่วยงานที่ตนทำอยู่ ข้อดี ี  ของการเลือกตัวอย่างแบบบังเอิญ คือ มีความสะดวกสบายในการรวบรวมข้อมูล ข้อเสีย  ข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างไม่อาจนำมาใช้เป็นข้อมูลทั่วไปทั้งหมด
1.2  การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง  (specified sampling) การเลือกตัวอย่างแบบจะจง เป็นการเลือกตัวอย่างโดยกำหนดคุณลักษณะของประชากรที่ต้องการศึกษาไว้ เมื่อพบหน่วยประชากรใดที่มีคุณลักษณะที่กำหนดไว้ก็นำมาเป็นกลุ่มตัวอย่างทันทีจนครบตามจำนวนต้องการ ตัวอย่าง สมมติว่าต้องการทราบความคิดเห็นของบุคคลที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษาเกี่ยวกับอัตราเงินประจำตำแหน่ง โดยกำหนดคุณสมบัติไว้ว่า เป็นผู้ดำรงตำแหน่ง ผศ .  รศ . และ ศ .  ในการสำรวจงานวิจัยก็จะสำรวจว่ามีใครบ้างที่มีตำแหน่งทางวิชาการดังกล่าว ก็เลือกมาเท่าจำนวนต้องการ โดยไม่คำนึงว่าจะมีคุณสมบัติอย่างอื่น
1.2  การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง  (specified sampling) ข้อดี  ในการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง หากมีการกำหนดคุณสมบัติของกลุ่มตัวอย่างให้ละเอียดและชัดเจนก็จะได้กลุ่มตัวอย่างได้ตรงความต้องการของผู้วิจัยมากที่สุด  ข้อเสีย  การเลือกตัวอย่างด้วยวิธีนี้อาจมีข้อผิดพลาดได้ เพราะผู้วิจัยอาจไม่มีความคุ้นเคยกับประชากรทั้งหมดพอที่จะเลือกตัวอย่างมาเป็นตัวแทนได้ บางครั้งอาจเกิดความลำเอียงหรืออคติในการเลือกได้ โดยเลือกตามความสะดวก
1.3   การเลือกตัวอย่างแบบกำหนดจำนวน  (Quota sampling) การเลือกตัวอย่างแบบกำหนดจำนวน ซึ่งบางคนก็นิยมเรียกว่าการสุ่มตัวอย่างแบบโควต้า ก็คือการเลือกตัวอย่างแบบบังเอิญ หรือแบบเจาะจงนั้นเอง แต่เนื่องจากประชากรที่ศึกษามีลักษณะหลายอย่างแตกต่างกันไป การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจงหรือแบบบังเอิญ อาจได้จำนวนตัวอย่างตามคุณลักษณะที่ต้องการรวบรวมไม่เพียงพอ เช่น ต้องการสุ่มตัวอย่างเพศชายและเพศหญิงในสัดส่วนที่เท่าๆกัน แต่การเลือกตัวอย่างแบบบังเอิญ หรือแบบเจาะจง อาจได้เพศใดเพศหนึ่งมากหรือน้อยเกินไปหรืออาจได้เพียงเพศใดเพศหนึ่งเพียงเพศเดียวก็ได้จึงจำเป็นต้องมีการกำหนดตามคุณลักษณะที่ต้องการ เช่น กำหนดจำนวนเพศชายต่อเพศหญิง หรือกำหนดระดับการศึกษา ปริญญาเอก ต่อ ปริญญาโท ต่อ ปริญญาตรี เป็นต้น
1.3   การเลือกตัวอย่างแบบกำหนดจำนวน  (Quota sampling) ข้อดี  การเลือกตัวอย่างแบบกำหนดจำนวนทำให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่มีคุณสมบัติตามต้องการในจำนวนที่เหมาะสม ข้อเสีย   ยุ่งยากในการเลือกตัวอย่างเพราะผู้วิจัยจะต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับคุณสมบัติของประชากรเป็นอย่างดีก่อนจึงจะมีการสุ่มตัวอย่างตามวิธีนี้
2.  การเลือกหน่วยตัวอย่าง แบบอาศัยความน่าจะเป็น เป็นการเลือกหน่วยตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของประชากร โดยยึดหลักว่าทุกหน่วยของประชากรมีโอกาสที่ได้รับการถูกเลือกมาเป็นหน่วยตัวอย่างเท่าๆกัน การเลือกตัวอย่างแบบนี้ ผู้วิจัยต้องรู้ขนาดของประชากรหรือสามารถประมาณขนาดของประชากรได้และมีรายชื่อของหน่วยตัวอย่างทั้งหมด การเลือกตัวอย่างแบบอาศัยความน่าจะเป็นที่นิยมใช้กันทั่วไปมีดังนี้
2 .1  การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย  (Simple Random Sampling) เป็นการเลือกหน่วยตัวอย่างทีละหน่วยแบบสุ่มจนครบตามขนาดตัวอย่างที่ต้องการ วิธีการสุ่มทีละหน่วยอาจจะทำได้ดังนี้ 1.  ใช้วิธีการจับฉลาก  วิธีการนี้มักใช้กับงานที่มีขนาดเล็ก กล่าวคือ มักใช้ในกรณีที่ประชากรมีขนาดไม่ใหญ่มากนัก การสุ่มเลือกตัวอย่างจะทำได้โดยให้หมายเลขแก่หน่วยตัวอย่างแต่ละหน่วยของประชากร ตั้งแต่หมายเลข  1  ถึง  N  พร้อมทั้งทำฉลากหมายเลข  1  ถึง  N  แล้วจึงทำการสุ่มหยิบฉลากออกมาทีละใบจนครบ  n  ใบ เท่ากับขนาดของตัวอย่างที่ต้องการ ถ้าได้ฉลากหมายเลขใด ก็แสดงว่าหน่วยตัวอย่างหมายเลขนั้นจะถูกเลือกมาเป็นตัวแทนของประชากร
2 .1  การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย  (Simple Random Sampling) 2.  ใช้ตารางเลขสุ่ม  วิธีการนี้เหมาะสำหรับงานขนาดใหญ่ ซึ่งประชากรประกอบด้วยหน่วยตัวอย่างเป็นจำนวนมาก การสุ่มเลือกตัวอย่างจะทำได้โดยให้หมายเลขแก่หน่วยตัวอย่างแต่ละหน่วยของประชากร ตั้งแต่หมายเลข  1  ถึง  N  เหมือนกัน แต่การสุ่มเลือกตัวอย่างแต่ละหน่วย จะใช้การสุ่มเลือกเลขสุ่มจากตารางเลขสุ่มขึ้นมาทีละตัวจนครบ  n  ตัว เท่ากับขนาดตัวอย่างที่ต้องการ หน่วยตัวอย่างใดที่มีหมายเลขตรงกับเลขสุ่มที่เลือกมาได้จากตารางเลขสุ่ม ก็จะเป็นหน่วยตัวอย่างที่ถูกเลือกเป็นตัวแทนของประชากร
2 .1  การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย  (Simple Random Sampling) 3.  เลือกโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ   กำหนดหมายเลขให้กับทุกหน่วยในประชากร  ( 1  ถึง  N )  แล้วให้เครื่องคอมพิวเตอร์สุ่มเลือกตัวอย่างในช่วงหมายเลข  1  ถึง  N  มาให้โดยเป็นจำนวนเท่ากับขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการ
2.2   การสุ่มตัวอย่างแบบระบบ  (Systematic Sampling)
2.2   การสุ่มตัวอย่างแบบระบบ  (Systematic Sampling)   เป็นการเลือกตัวอย่างที่ใช้ระบบเป็นตัวตัดสินในการเลือกหน่วยตัวอย่าง โดยเฉพาะการเลือกหน่วยตัวอย่างแรกเท่านั้นแล้วกำหนดว่าหน่วยตัวอย่างที่เลือกต่อไปจะเว้นช่วงห่างกันเท่าไรในช่วงที่เท่าๆกัน  ( หรือ ทุกๆคนที่ ในช่วง  k  หน่วย )  ฉะนั้นการสุ่มแบบนี้จึงเหมาะที่จะใช้กับประชากรที่จำนวนแน่นอน และได้จัดเรียงลำดับไว้แล้วอาจมีหมายเลขประจำตัวครบทุกหน่วยประชากรแล้วอย่างมีระบบแล้ว เช่น รายชื่อนักเรียนตามบัญชีรายชื่อ ทะเบียนคนไข้ในโรงพยาบาล ฯลฯ
2.2   การสุ่มตัวอย่างแบบระบบ  (Systematic Sampling)   เกณฑ์ในการเลือกตัวอย่างคือ                             1.      ให้หมายเลขแก่แต่ละหน่วยในประชากร คือ  1  ถึง  N                            2.       เลือกหน่วยเริ่มต้น  ( หรือหน่วยแรกของตัวอย่าง )  โดยสุ่มจากหมายเลข  1  ถึง  N                            3.       เลือกหน่วยถัดไปที่ห่างจากหน่วยที่เพิ่งถูกเลือกเป็นช่วงเท่าๆกัน  (k  โดย  k = N / n  เมื่อ  N ) คือขนาดของประชากร และ  n  คือขนาดของกลุ่มตัวอย่าง )
2.3    การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ  (Stratified Sampling)
2.3    การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ  (Stratified Sampling) เป็นการเลือกตัวอย่างโดยจัดแบ่งประชากรที่ต้องการศึกษาเป็นกลุ่มย่อยตามลักษณะที่เด่นชัด โดยประชากรภายในกลุ่มย่อยเดียวกันต้องมีคุณสมบัติหรือลักษณะที่คล้ายกันมากที่สุด และประชากรในแต่ละกลุ่มย่อย  ( ต่างกลุ่มกัน )  มีลักษณะที่แตกต่างกันมากที่สุด จากนั้นจึงสุ่มตัวอย่างจากแต่ละกลุ่มย่อยตามจำนวนที่ต้องการ การจัดแบ่งประชากรเป็นกลุ่มย่อยอาจจัดแบ่งได้ตามตัวแปรที่ต้องการศึกษา เช่น เพศ อายุ รายได้ อาชีพ ระดับชั้น วิชาเอก เป็นต้น
2.3    การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ  (Stratified Sampling) รูปที่  3.1  แสดงรูปแบบการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูม ิ
2.3    การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ  (Stratified Sampling) ข้อดี  จะได้กลุ่มตัวอย่างที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามคุณสมบัติของประชากรทั้งหมดเป็นการลดความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการสุ่มตัวอย่างให้น้อยลง
2.4  การสุ่มตัวอย่างแบบสุ่มกลุ่ม  (Cluster Sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบสุ่มกลุ่มคือ การเลือกตัวอย่างที่หน่วยตัวอย่างมิใช่หน่วยที่ให้ข้อมูลโดยตรงเพียงระดับเดียว แต่เป็นหน่วยตัวอย่างที่ประกอบด้วยหน่วยที่ให้ข้อมูลหลายๆหน่วยรวมกันเป็นกลุ่ม และกลุ่มอาจมีได้หลายระดับ โดยหน่วยตัวอย่างระดับถัดลงไปจะเป็นหน่วยย่อยหรือกลุ่มย่อยของหยน่วยตัวอย่างระดับก่อนหน้า จำนวนระดับอาจมีหลายระดับได้ และจำนวนระดับที่มีการเลือกตัวอย่างจะเป็นตัวกำหนดชั้นของการเลือกตัวอย่างกลุ่ม
รูปที่  3.2  แสดงรูปแบบการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม 2.4  การสุ่มตัวอย่างแบบสุ่มกลุ่ม  (Cluster Sampling)
2.4  การสุ่มตัวอย่างแบบสุ่มกลุ่ม  (Cluster Sampling) ข้อดี  มีความสะดวกในการรวบรวมข้อมูลเพราะกลุ่มตัวอย่างไม่กระจายมากนัก
2.5  การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน  ( multi-stage cluster sampling) http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les3/les3_2.html การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เป็นการเลือกตัวอย่างหลายวิธีในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง เพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนที่ดีของประชากรที่ศึกษา การเลือกตัวอย่างจะใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างตั้งแต่  3  ขั้นตอนขึ้นไป ซึ่งอาจเป็นวิธีเดียวกัน หรือหลายวิธีก็ได้
2.5  การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน  ( multi-stage cluster sampling) http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les3/les3_2.html ข้อดี  เหมาะสำหรับงานวิจัยที่มีขนาดใหญ่ ที่ต้องการทราบผลวิจัยที่รวดเร็ว โดยใช้งบประมาณน้อย ข้อเสีย  คือความคลาดเคลื่อนจากการเลือกตัวอย่างมีมากกว่าการสุ่มแบบอื่น เพราะไม่ได้จากหน่วยประชากรทุกหน่วยอย่างอิสระ

More Related Content

What's hot

๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรRitthinarongron School
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3Thanawut Rattanadon
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเลโครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเลThipwaree Tobangpa
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยNU
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ ThunkableKhunakon Thanatee
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่Somporn Amornwech
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน FBangon Suyana
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติพัน พัน
 

What's hot (20)

๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเลโครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
Chapt3
Chapt3Chapt3
Chapt3
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 

Viewers also liked

5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง
5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง
5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่างNitinop Tongwassanasong
 
Statistics sampling
Statistics samplingStatistics sampling
Statistics samplingSomchith Sps
 
Use of Biostatics in Dentistry /certified fixed orthodontic courses by Indian...
Use of Biostatics in Dentistry /certified fixed orthodontic courses by Indian...Use of Biostatics in Dentistry /certified fixed orthodontic courses by Indian...
Use of Biostatics in Dentistry /certified fixed orthodontic courses by Indian...Indian dental academy
 
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนphysical04
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละfern1707
 

Viewers also liked (8)

5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง
5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง
5 ประชากร,กลุ่มตัวอย่าง
 
ทำวิจัยไปทำไม
ทำวิจัยไปทำไมทำวิจัยไปทำไม
ทำวิจัยไปทำไม
 
Statistics sampling
Statistics samplingStatistics sampling
Statistics sampling
 
sampling methods...
sampling methods...sampling methods...
sampling methods...
 
Use of Biostatics in Dentistry /certified fixed orthodontic courses by Indian...
Use of Biostatics in Dentistry /certified fixed orthodontic courses by Indian...Use of Biostatics in Dentistry /certified fixed orthodontic courses by Indian...
Use of Biostatics in Dentistry /certified fixed orthodontic courses by Indian...
 
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
 
biostatistics
biostatisticsbiostatistics
biostatistics
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
 

Similar to Research10 sample selection

Population
PopulationPopulation
Populationkungfoy
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์GolFy Faint Smile
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นothanatoso
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงานขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงานPennapa Boopphacharoensok
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองดา ดาลี่
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองดา ดาลี่
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
Week 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementWeek 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementSani Satjachaliao
 
PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptx
PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptxPAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptx
PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptxorioman1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพอภิเทพ ทองเจือ
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณtanongsak
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลUltraman Taro
 

Similar to Research10 sample selection (20)

Population
PopulationPopulation
Population
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้น
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงานขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงาน
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
Week 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementWeek 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurement
 
PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptx
PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptxPAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptx
PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptx
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
 
ติวข้อสอบ Is จากอาจารย์กลุ่ม3
ติวข้อสอบ Is จากอาจารย์กลุ่ม3ติวข้อสอบ Is จากอาจารย์กลุ่ม3
ติวข้อสอบ Is จากอาจารย์กลุ่ม3
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
maisooree
maisooreemaisooree
maisooree
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
Cognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
Cognitive tools - 201704 - Cognitive WeaponCognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
Cognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
 

More from Sani Satjachaliao

สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)Sani Satjachaliao
 
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssสัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssSani Satjachaliao
 
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10Sani Satjachaliao
 
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11Sani Satjachaliao
 
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14Sani Satjachaliao
 
427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysisSani Satjachaliao
 
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysisSani Satjachaliao
 
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาสัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาSani Satjachaliao
 
Research11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkResearch11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkSani Satjachaliao
 
Research9 writing research_report
Research9 writing research_reportResearch9 writing research_report
Research9 writing research_reportSani Satjachaliao
 
Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553Sani Satjachaliao
 
Research6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methodsResearch6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methodsSani Satjachaliao
 

More from Sani Satjachaliao (20)

สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
 
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssสัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
 
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
 
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
 
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
 
427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis
 
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
 
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาสัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
 
Week 9 research_design
Week 9 research_designWeek 9 research_design
Week 9 research_design
 
Week 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_frameworkWeek 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_framework
 
Week 7 conceptual_framework
Week 7 conceptual_frameworkWeek 7 conceptual_framework
Week 7 conceptual_framework
 
Week 6 hypothesis
Week 6 hypothesisWeek 6 hypothesis
Week 6 hypothesis
 
Week 4 variable
Week 4 variableWeek 4 variable
Week 4 variable
 
Research11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkResearch11 conceptual framework
Research11 conceptual framework
 
Research9 writing research_report
Research9 writing research_reportResearch9 writing research_report
Research9 writing research_report
 
Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553
 
Research6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methodsResearch6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methods
 
Research4
Research4Research4
Research4
 
Research3
Research3Research3
Research3
 
Research2
Research2Research2
Research2
 

Research10 sample selection

  • 2. การเลือกตัวอย่าง ขั้นตอนสำคัญตอนหนึ่งของงานวิจัย คือ การรวบรวมข้อมูลเพื่อหาคำตอบที่ผู้วิจัยต้องการทราบ เป้าหมายที่สำคัญของผู้วิจัยมุ่งรวบรวม คือ ประชากร แต่ในงานวิจัยส่วนใหญ่แล้วผู้วิจัยไม่สามารถที่จะรวบรวมข้อมูลจากประชากรได้ทั้งหมด เพราะมีข้อจำกัดด้านเวลา งบประมาณแรงงานที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล จึงจำเป็นต้องอาศัยหน่วยตัวอย่างเข้ามาใช้แทนในงานวิจัย ซึ่งในบทนี้จะเสนอเกี่ยวกับ ความหมายของการสุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มตัวอย่าง และลักษณะที่ดีของกลุ่มตัวอย่าง
  • 3. Population Sample Unit of analysis; ปรากฏการณ์ Level of analysis ;variable
  • 4. ประชากร หมายถึง กลุ่มหน่วยทั้งหมดที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา ซึ่งอาจเป็นคน สัตว์ สถานที่ หน่วยงาน เอกสารต่างๆ ฯลฯ ความหมายและความสำคัญของการเลือกหน่วยตัวอย่าง
  • 5. ประชากรมี 2 ลักษณะ คือ        1. ประชากรที่จำกัดจำนวน คือ ประชากรที่สามารถนับจำนวนได้ครบทุกหน่วย เช่นประชากร ของนักเรียนชั้น ป . 6 ของโรงเรียนบ้านขามเรียง จำนวนป้ายโฆษณาในเขตมหาวิทยาลัยมหาสารคามในเดือน มกราคม ฯลฯ         2. ประชากรที่ไม่จำกัดจำนวน คือ ประชากรที่ผู้วิจัยไม่สามารถนับจำนวนได้ครบถ้วน เช่น จำนวนสาหร่ายน้ำจืดในคลองสมถวิล ในเขตเทศบาลมหาสารคาม จำนวนปลาในคลองสมถวิล เป็นต้น
  • 6. กลุ่มตัวอย่าง (Sample) หมายถึง ส่วนหนึ่งของประชากรที่ผู้วิจัยเลือกขึ้นมาเพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลในการทำการวิจัย เนื่องจากประชากรที่ศึกษามีจำนวนมาก ผู้วิจัยไม่สามารถเก็บข้อมูลมาได้ทั้งหมด จึงจำเป็นต้องเลือกหน่วยตัวอย่างเพียงบางส่วนจากประชากรทั้งหมดมาทำการศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่จะมีคุณลักษณะและคุณสมบัติเช่นเดียวกับสมาชิกของประชากรทั้งหมด ข้อมูลที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างจึงเปรียบเสมือนกับประชากรทั้งหมด
  • 7. เลือก select สุ่ม (sampling) sample
  • 8. ความจำเป็นที่ต้องมีการสุ่มตัวอย่าง 1. เมื่อต้องการทราบผลการวิจัยหรือสำรวจเร็ว การรวบรวมข้อมูลจากทุกหน่วยของประชากรจะทำให้เสียเวลาในการรวบรวมและประมวลผลข้อมูลมาก ข้อมูลที่เก็บมาได้อาจล้าสมัยและไม่สามรถนำๆไปใช้ประโยชน์ได้ทันเวลา 2 . เมื่อต้องการประหยัดค่าใช้จ่ายในการวิจัยหรือมีค่าใช้จ่ายในการวิจัยจำกัด
  • 10. ความจำเป็นที่ต้องมีการสุ่มตัวอย่าง 3. เมื่อต้องการความถูกต้องของข้อมูลมากแต่มีกำลังคนที่มีประสิทธิภาพในการรวบรวมข้อมูลน้อย เนื่องด้วยคุณภาพเป็นสิ่งที่สำคัญ และผู้วิจัยต้องพยายามทำให้การเก็บรวบรวมข้อมูลมีความน่าเชื่อถือ เพื่อให้ข้อมูลมีคุณภาพต่อไป 4. เมื่อต้องการเก็บรวบรวมข้อมูลบางประเภทที่ไม่สามารถนำมาศึกษาหรือทดลองได้ เช่น ในการสำรวจสอบอายุการใช้งานของสินค้าต่างๆ หากนำเอา สินค้าทุกชิ้นมาตรวจสอบ สินค้าที่มาตรวจสอบไม่สามารถที่จะนำไปใช้ได้อีกต่อไป
  • 11.
  • 12. 1. การเลือกตัวอย่างที่ไม่อาศัยความน่าจะเป็น การเลือกหน่วยตัวอย่างแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น เป็นการสุ่มโดยไม่คำนึงถึงโอกาสเท่าเทียมในการถูกเลือกของแต่ละหน่วยประชากร เป็นวิธีการเลือกตัวอย่างโดยยึดความสะดวก และความเหมาะสม การเลือกตัวอย่างแบบนี้เป็นเพราะผู้วิจัยไม่สามารถทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน หรือไม่สามารถประมาณขนาดประชากรได้ชัดเจนหรือไม่มีรายชื่อของหน่วย ซึ่งผลเสียของการสุ่มแบบนี้ ไม่ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนที่ดีของประชากรหมือนแบบอาศัยความน่าจะเป็น ซึ่งหากจำเป็นต้องเลือกตัวอย่างแบบนี้ วิธีแก้ คือพยายามสุ่มตัวอย่างให้ได้จำนวนมากที่สุดเท่าที่เวลา แรงงาน และงบประมาณที่กำหนดไว้จะทำได้ วิธีการเลือกตัวอย่างแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น ที่นิยมใช้กันทั่วไปมีหลายวิธีดังนี้
  • 13. 1. 1  การเลือกตัวอย่างแบบบังเอิญ (accidental sampling) การเลือกตัวอย่างแบบบังเอิญ เป็นการเลือกตัวอย่างที่ยึดความสะดวกสบายหรือความปลอดภัยของผู้วิจัยเป็นหลัก โดยเลือกตัวอย่างเท่าที่มีหรือตามที่ได้รับความร่วมมือ เช่น เก็บข้อมูลจากบุคคลตามป้ายรถเมล์ ในย่านชุมชนหรือจากผู้มารับบริการในหน่วยงานที่ตนทำอยู่ ข้อดี ี ของการเลือกตัวอย่างแบบบังเอิญ คือ มีความสะดวกสบายในการรวบรวมข้อมูล ข้อเสีย ข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างไม่อาจนำมาใช้เป็นข้อมูลทั่วไปทั้งหมด
  • 14. 1.2  การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (specified sampling) การเลือกตัวอย่างแบบจะจง เป็นการเลือกตัวอย่างโดยกำหนดคุณลักษณะของประชากรที่ต้องการศึกษาไว้ เมื่อพบหน่วยประชากรใดที่มีคุณลักษณะที่กำหนดไว้ก็นำมาเป็นกลุ่มตัวอย่างทันทีจนครบตามจำนวนต้องการ ตัวอย่าง สมมติว่าต้องการทราบความคิดเห็นของบุคคลที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษาเกี่ยวกับอัตราเงินประจำตำแหน่ง โดยกำหนดคุณสมบัติไว้ว่า เป็นผู้ดำรงตำแหน่ง ผศ . รศ . และ ศ . ในการสำรวจงานวิจัยก็จะสำรวจว่ามีใครบ้างที่มีตำแหน่งทางวิชาการดังกล่าว ก็เลือกมาเท่าจำนวนต้องการ โดยไม่คำนึงว่าจะมีคุณสมบัติอย่างอื่น
  • 15. 1.2  การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (specified sampling) ข้อดี ในการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง หากมีการกำหนดคุณสมบัติของกลุ่มตัวอย่างให้ละเอียดและชัดเจนก็จะได้กลุ่มตัวอย่างได้ตรงความต้องการของผู้วิจัยมากที่สุด ข้อเสีย การเลือกตัวอย่างด้วยวิธีนี้อาจมีข้อผิดพลาดได้ เพราะผู้วิจัยอาจไม่มีความคุ้นเคยกับประชากรทั้งหมดพอที่จะเลือกตัวอย่างมาเป็นตัวแทนได้ บางครั้งอาจเกิดความลำเอียงหรืออคติในการเลือกได้ โดยเลือกตามความสะดวก
  • 16. 1.3   การเลือกตัวอย่างแบบกำหนดจำนวน (Quota sampling) การเลือกตัวอย่างแบบกำหนดจำนวน ซึ่งบางคนก็นิยมเรียกว่าการสุ่มตัวอย่างแบบโควต้า ก็คือการเลือกตัวอย่างแบบบังเอิญ หรือแบบเจาะจงนั้นเอง แต่เนื่องจากประชากรที่ศึกษามีลักษณะหลายอย่างแตกต่างกันไป การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจงหรือแบบบังเอิญ อาจได้จำนวนตัวอย่างตามคุณลักษณะที่ต้องการรวบรวมไม่เพียงพอ เช่น ต้องการสุ่มตัวอย่างเพศชายและเพศหญิงในสัดส่วนที่เท่าๆกัน แต่การเลือกตัวอย่างแบบบังเอิญ หรือแบบเจาะจง อาจได้เพศใดเพศหนึ่งมากหรือน้อยเกินไปหรืออาจได้เพียงเพศใดเพศหนึ่งเพียงเพศเดียวก็ได้จึงจำเป็นต้องมีการกำหนดตามคุณลักษณะที่ต้องการ เช่น กำหนดจำนวนเพศชายต่อเพศหญิง หรือกำหนดระดับการศึกษา ปริญญาเอก ต่อ ปริญญาโท ต่อ ปริญญาตรี เป็นต้น
  • 17. 1.3   การเลือกตัวอย่างแบบกำหนดจำนวน (Quota sampling) ข้อดี การเลือกตัวอย่างแบบกำหนดจำนวนทำให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่มีคุณสมบัติตามต้องการในจำนวนที่เหมาะสม ข้อเสีย ยุ่งยากในการเลือกตัวอย่างเพราะผู้วิจัยจะต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับคุณสมบัติของประชากรเป็นอย่างดีก่อนจึงจะมีการสุ่มตัวอย่างตามวิธีนี้
  • 18. 2. การเลือกหน่วยตัวอย่าง แบบอาศัยความน่าจะเป็น เป็นการเลือกหน่วยตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของประชากร โดยยึดหลักว่าทุกหน่วยของประชากรมีโอกาสที่ได้รับการถูกเลือกมาเป็นหน่วยตัวอย่างเท่าๆกัน การเลือกตัวอย่างแบบนี้ ผู้วิจัยต้องรู้ขนาดของประชากรหรือสามารถประมาณขนาดของประชากรได้และมีรายชื่อของหน่วยตัวอย่างทั้งหมด การเลือกตัวอย่างแบบอาศัยความน่าจะเป็นที่นิยมใช้กันทั่วไปมีดังนี้
  • 19. 2 .1  การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) เป็นการเลือกหน่วยตัวอย่างทีละหน่วยแบบสุ่มจนครบตามขนาดตัวอย่างที่ต้องการ วิธีการสุ่มทีละหน่วยอาจจะทำได้ดังนี้ 1. ใช้วิธีการจับฉลาก วิธีการนี้มักใช้กับงานที่มีขนาดเล็ก กล่าวคือ มักใช้ในกรณีที่ประชากรมีขนาดไม่ใหญ่มากนัก การสุ่มเลือกตัวอย่างจะทำได้โดยให้หมายเลขแก่หน่วยตัวอย่างแต่ละหน่วยของประชากร ตั้งแต่หมายเลข 1 ถึง N พร้อมทั้งทำฉลากหมายเลข 1 ถึง N แล้วจึงทำการสุ่มหยิบฉลากออกมาทีละใบจนครบ n ใบ เท่ากับขนาดของตัวอย่างที่ต้องการ ถ้าได้ฉลากหมายเลขใด ก็แสดงว่าหน่วยตัวอย่างหมายเลขนั้นจะถูกเลือกมาเป็นตัวแทนของประชากร
  • 20. 2 .1  การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) 2. ใช้ตารางเลขสุ่ม วิธีการนี้เหมาะสำหรับงานขนาดใหญ่ ซึ่งประชากรประกอบด้วยหน่วยตัวอย่างเป็นจำนวนมาก การสุ่มเลือกตัวอย่างจะทำได้โดยให้หมายเลขแก่หน่วยตัวอย่างแต่ละหน่วยของประชากร ตั้งแต่หมายเลข 1 ถึง N เหมือนกัน แต่การสุ่มเลือกตัวอย่างแต่ละหน่วย จะใช้การสุ่มเลือกเลขสุ่มจากตารางเลขสุ่มขึ้นมาทีละตัวจนครบ n ตัว เท่ากับขนาดตัวอย่างที่ต้องการ หน่วยตัวอย่างใดที่มีหมายเลขตรงกับเลขสุ่มที่เลือกมาได้จากตารางเลขสุ่ม ก็จะเป็นหน่วยตัวอย่างที่ถูกเลือกเป็นตัวแทนของประชากร
  • 21. 2 .1  การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) 3. เลือกโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ กำหนดหมายเลขให้กับทุกหน่วยในประชากร ( 1 ถึง N ) แล้วให้เครื่องคอมพิวเตอร์สุ่มเลือกตัวอย่างในช่วงหมายเลข 1 ถึง N มาให้โดยเป็นจำนวนเท่ากับขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการ
  • 23. 2.2  การสุ่มตัวอย่างแบบระบบ (Systematic Sampling) เป็นการเลือกตัวอย่างที่ใช้ระบบเป็นตัวตัดสินในการเลือกหน่วยตัวอย่าง โดยเฉพาะการเลือกหน่วยตัวอย่างแรกเท่านั้นแล้วกำหนดว่าหน่วยตัวอย่างที่เลือกต่อไปจะเว้นช่วงห่างกันเท่าไรในช่วงที่เท่าๆกัน ( หรือ ทุกๆคนที่ ในช่วง k หน่วย ) ฉะนั้นการสุ่มแบบนี้จึงเหมาะที่จะใช้กับประชากรที่จำนวนแน่นอน และได้จัดเรียงลำดับไว้แล้วอาจมีหมายเลขประจำตัวครบทุกหน่วยประชากรแล้วอย่างมีระบบแล้ว เช่น รายชื่อนักเรียนตามบัญชีรายชื่อ ทะเบียนคนไข้ในโรงพยาบาล ฯลฯ
  • 24. 2.2  การสุ่มตัวอย่างแบบระบบ (Systematic Sampling) เกณฑ์ในการเลือกตัวอย่างคือ                             1.      ให้หมายเลขแก่แต่ละหน่วยในประชากร คือ 1 ถึง N                            2.      เลือกหน่วยเริ่มต้น ( หรือหน่วยแรกของตัวอย่าง ) โดยสุ่มจากหมายเลข 1 ถึง N                            3.      เลือกหน่วยถัดไปที่ห่างจากหน่วยที่เพิ่งถูกเลือกเป็นช่วงเท่าๆกัน (k โดย k = N / n เมื่อ N ) คือขนาดของประชากร และ n คือขนาดของกลุ่มตัวอย่าง )
  • 26. 2.3    การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Sampling) เป็นการเลือกตัวอย่างโดยจัดแบ่งประชากรที่ต้องการศึกษาเป็นกลุ่มย่อยตามลักษณะที่เด่นชัด โดยประชากรภายในกลุ่มย่อยเดียวกันต้องมีคุณสมบัติหรือลักษณะที่คล้ายกันมากที่สุด และประชากรในแต่ละกลุ่มย่อย ( ต่างกลุ่มกัน ) มีลักษณะที่แตกต่างกันมากที่สุด จากนั้นจึงสุ่มตัวอย่างจากแต่ละกลุ่มย่อยตามจำนวนที่ต้องการ การจัดแบ่งประชากรเป็นกลุ่มย่อยอาจจัดแบ่งได้ตามตัวแปรที่ต้องการศึกษา เช่น เพศ อายุ รายได้ อาชีพ ระดับชั้น วิชาเอก เป็นต้น
  • 27. 2.3    การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Sampling) รูปที่ 3.1 แสดงรูปแบบการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูม ิ
  • 28. 2.3    การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Sampling) ข้อดี จะได้กลุ่มตัวอย่างที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามคุณสมบัติของประชากรทั้งหมดเป็นการลดความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการสุ่มตัวอย่างให้น้อยลง
  • 29. 2.4 การสุ่มตัวอย่างแบบสุ่มกลุ่ม (Cluster Sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบสุ่มกลุ่มคือ การเลือกตัวอย่างที่หน่วยตัวอย่างมิใช่หน่วยที่ให้ข้อมูลโดยตรงเพียงระดับเดียว แต่เป็นหน่วยตัวอย่างที่ประกอบด้วยหน่วยที่ให้ข้อมูลหลายๆหน่วยรวมกันเป็นกลุ่ม และกลุ่มอาจมีได้หลายระดับ โดยหน่วยตัวอย่างระดับถัดลงไปจะเป็นหน่วยย่อยหรือกลุ่มย่อยของหยน่วยตัวอย่างระดับก่อนหน้า จำนวนระดับอาจมีหลายระดับได้ และจำนวนระดับที่มีการเลือกตัวอย่างจะเป็นตัวกำหนดชั้นของการเลือกตัวอย่างกลุ่ม
  • 30. รูปที่ 3.2 แสดงรูปแบบการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม 2.4 การสุ่มตัวอย่างแบบสุ่มกลุ่ม (Cluster Sampling)
  • 31. 2.4 การสุ่มตัวอย่างแบบสุ่มกลุ่ม (Cluster Sampling) ข้อดี มีความสะดวกในการรวบรวมข้อมูลเพราะกลุ่มตัวอย่างไม่กระจายมากนัก
  • 32. 2.5 การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ( multi-stage cluster sampling) http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les3/les3_2.html การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เป็นการเลือกตัวอย่างหลายวิธีในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง เพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนที่ดีของประชากรที่ศึกษา การเลือกตัวอย่างจะใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างตั้งแต่ 3 ขั้นตอนขึ้นไป ซึ่งอาจเป็นวิธีเดียวกัน หรือหลายวิธีก็ได้
  • 33. 2.5 การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ( multi-stage cluster sampling) http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les3/les3_2.html ข้อดี เหมาะสำหรับงานวิจัยที่มีขนาดใหญ่ ที่ต้องการทราบผลวิจัยที่รวดเร็ว โดยใช้งบประมาณน้อย ข้อเสีย คือความคลาดเคลื่อนจากการเลือกตัวอย่างมีมากกว่าการสุ่มแบบอื่น เพราะไม่ได้จากหน่วยประชากรทุกหน่วยอย่างอิสระ

Editor's Notes

  1. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  2. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  3. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  4. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  5. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  6. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  7. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  8. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  9. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  10. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  11. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  12. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  13. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  14. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  15. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  16. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  17. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  18. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  19. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  20. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  21. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  22. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  23. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  24. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  25. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  26. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  27. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  28. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html
  29. http://www.science.msu.ac.th/thai/math/std_subject/analysis/les4/les4_2.html