SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 32
Baixar para ler offline
การเรียนในลักษณะใดก็ได้ ซึ่งใช้การถ่ายทอดเนื้อหาผ่านทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณ โทรทัศน์ หรือ สัญญาณดาวเทียม (Satellite) ก็ได้ ซึ่งเนื้อหาสารสนเทศอาจอยู่ในรูปแบบ การเรียนที่เราคุ้นเคยกันมาพอสมควร เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction) การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ อาจอยู่ในลักษณะที่ยังไม่ค่อย เป็นที่แพร่หลายนัก เช่น การเรียนจากวิดีทัศน์ ตามอัธยาศัย (Video On-Demand) เป็น ต้น 
e-Learning
e-Learning มีพัฒนาการมาจากการศึกษาทางไกลผ่านระบบไปรษณีย์ ในช่วง กลางศตวรรษที่ 18 ในทวีปยุโรปเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลได้เรียนแต่ประสบปัญหาใน การติดต่อเมื่อมีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการศึกษามากขึ้นในปี ค.ศ. 1960 จึงมีการพัฒนา แนวคิดของการใช้คอมพิวเตอร์และโสตทัศนวัสดุเป็นสื่อการเรียนการสอน เช่น เทปบันทึกภาพ เทปบันทึกเสียง ต่อมาเป็นการใช้ซีดี-รอมในปี ค.ศ. 1990 เป็นต้นมา เมื่อมีการใช้อินเทอร์เน็ต อย่างแพร่หลายผ่านโปรแกรมแสดงผล(Web browser) และโปรโตคอล TCP/IP จึงมี การพัฒนาการเรียนการสอนผ่าน World Wide Webในปี ค.ศ. 2000 เป็นต้นมาคาว่า e- Learning เริ่มแพร่หลายจากการที่บริษัท Cisco ได้เริ่มแนะนาเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ e- Learning มาใช้ในการฝึกอบรมโปรแกรม การอบรมพนักงานของบริษัท 
ความเป็นมา
ยุคของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้เป็น 4 ยุค 
1. ยุคคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและฝึกอบรม (Instructor-Led Training Era) เป็น ยุคเริ่มใช้คอมพิวเตอร์ในวงการศึกษาจนถึงปี ค.ศ. 1983
2. ยุคมัลติมีเดีย (Multimedia Era) ช่วงปี ค.ศ.1984-1993 เป็นยุคกาเนิดโปรแกรม วินโดว์ 3.1 การใช้ซีดีรอมบันทึกข้อมูล การใช้โปรแกรมการนาเสนอ Power Point การสร้าง บทเรียน เป็นต้น สามารถนาไปเรียนตามเวลาและสถานที่ที่สะดวก แต่มีข้อเสีย คือ ผู้เรียนขาด ปฏิสัมพันธ์กับผู้สอน 
3. ยุคเว็บเริ่มแรก (Web infancy) ช่วงปี ค.ศ.1994-1999 เริ่มมีการใช้เทคโนโลยีเว็บ บนอินเทอร์เน็ตและมีมัลติมีเดียบนเว็บ 
4. ยุคเว็บรุ่นใหม่ 
(Next Generation Web) 
ช่วงปี ค.ศ. 2000-2005 เป็นยุคที่เทคโนโลยีก้าวหน้ามาก .
e-Learning มีลักษณะเด่นและมีความสาคัญ 6 ประการ คือ 
1.สื่อประสม (Multimedia) ด้วยศักยภาพของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ผู้สอน สามารถออกแบบการเรียนรู้ โดยใช้สื่อมัลติมีเดีย ทั้งในรูปข้อความ ภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว (Animation) และภาพยนตร์ ทาให้การนาเสนอมีความน่าสนใจ และสื่อความหมายได้ดีกว่า การใช้สื่อเดียวโดดๆ 
2. ระบบเปิด (Open System) e-Learning ที่นาเสนอเนื้อหาผ่านระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถเชื่อมโยงกับแหล่งความรู้ แหล่งข้อมูลที่หลากหลายบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ต อาจารย์ผู้สอนสามารถออกแบบให้การค้นหาและเชื่อมโยงแหล่งความรู้เข้ามาที่ บทเรียน เพื่อชี้นาแหล่งความรู้เพิ่มเติม ทันสมัย ให้กับผู้เรียนได้เกิดประโยชน์ทั้งในด้านคุณภาพ การเรียนรู้ มีแหล่งความรู้ให้ผู้เรียนหลากหลาย และประสิทธิภาพ ผู้สอนประหยัดเวลาในการ เตรียม และข้อมูลทันสมัยเสมอ 
ความสาคัญ e-Learning
3. รองรับและเอื้อต่อปฏิสัมพันธ์ (Interaction) หลากหลายรูปแบบ ปฏิสัมพันธ์ใน การเรียนจะช่วยเสริมให้เกิดความเข้าใจในขั้นสูงขึ้น การจาแนกระดับความรู้ ความเข้าใจ (Cognitive Domain) 6 ขั้นตาม Benjamin S. Bloom2 โดย e-Learning จะ รองรับและเอื้อต่อปฏิสัมพันธ์ที่หลากหลาย เช่น ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับสื่อการเรียน (human-computer interaction) ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน หรือ ระหว่าง ผู้เรียนกันเอง (human-human interaction) 
4. รองรับการสื่อสารทั้งแบบประสานเวลา 
(Synchronous Communication) และแบบไม่ประสานเวลา (Asynchronous Communication) คือการสื่อสารที่มีการโต้ตอบกันได้ในเวลาเดียวกัน และการสื่อสารที่ผู้ที่ สื่อสารไม่ต้องนัดหมายกันเพื่อสื่อสาร ใช้วิธีการฝากสารไว้ในระบบและเมื่อคู่สื่อสารพร้อมก็จะมา ตอบสารนั้น เช่น ระบบกระดานสนทนา (web board)
5. รองรับการจัดการเรียนการสอนทั้งแบบอาจารย์เป็นผู้นาการสอน (Human driven) หรือแบบคอมพิวเตอร์เป็นผู้นาการสอน (Computer driven) เช่น การใช้บทเรียน เป็นสื่อเสริมการสอนของอาจารย์ในชั้นเรียน หรือรายวิชาที่พัฒนาเป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนทั้งรายวิชา เป็นต้น 
6. เก็บเหตุการณ์การเรียนการสอน (Keep Log) กิจกรรมการเรียนการสอนที่เกิดขึ้น เช่น คาถาม-คาตอบ ปฏิสัมพันธ์ รวมทั้งเหตุการณ์ทุกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจะถูกจัดเก็บและบันทึกไว้ใน ระบบคอมพิวเตอร์ สามารถนามาใช้เพื่อเป็นประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง เช่น ติดตามการเรียนของ ผู้เรียน ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างการเรียน (formative evaluation) ประเมินรวบยอด (summative evaluation)
1.ความยืดหยุ่นและความสะดวก (Flexibility and Convenience) 
ผู้เรียน E-Learning สามารถเข้าถึงเนื้อหาหลักสูตร ณ เวลาและสถานที่ใดก็ได้ ตามแต่ความสะดวก ซึ่งเป็นการขจัดข้อจากัดทางกายภาพที่เกิดจากการเรียนในห้องเรียนแบบเดิม การเรียนผ่านเว็บสามารถเรียนได้จากที่บ้าน ที่ทางาน หรือสถานศึกษาตามความสะดวกของผู้เรียน เป็นการลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางและค่าใช้จ่ายในการใช้ห้องเรียนด้วย 
2.เรียนได้ทันใจตามต้องการ (Just-time Learning) 
นักเรียนสามารถเรียนผ่านเว็บได้ทุกขณะที่ต้องการ การเรียนแบบ E-Learning จึง สามารถชักจูงใจและทาให้ผู้เรียนเรียนได้เป็นเวลานานโดยไม่เบื่อ ผู้เรียนสามารถค้นหาและเข้าถึง ความรู้ใหม่ๆ ได้ทันเวลาและความต้องการ เนื้อหาบนเว็บที่ถูกสร้างและปรับปรุงขึ้นใหม่ทุกขณะ ทา ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิตและนาไปใช้ได้อย่างทันเหตุการณ์ 
ข้อดี-ข้อเสียของ E-Learning
3.ผู้เรียนเป็นฝ่ายควบคุม (Learner Control) 
ในสภาพการเรียนการสอนผ่านเว็บ ผู้เรียนจะมีเสรีภาพในการค้นคว้าและเรียนรู้สิ่งที่ตน สนใจ ซึ่งบางครั้งอาจเป็นสิ่งที่อยู่นอกเหนือความคาดหวังของผู้สอน ผู้เรียนสามารถตัดสินใจเรื่อง จังหวะการเรียนและประเด็นสาคัญของเนื้อหาการเรียน จึงทาให้เส้นทางของการเรียนแบบ 
E-Learning ของนักเรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกันตามความต้องการของตน ถ้าผู้เรียนมีวินัย ในตนเอง มีเป้าหมายและความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมของเว็บ จึงจะทาให้ผู้เรียนควบคุมการ เรียนผ่านเว็บได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
4.รูปแบบมัลติมีเดีย (Multimedia Format) 
เวิลด์ ไวด์ เว็บ ช่วยให้การนาเสนอเนื้อหามีรูปแบบที่หลากหลาย รวมทั้งตัวอักษรเสียง วิดีทัศน์ และการติดต่อสื่อสาร ณ เวลาจริง คุณสมบัตินี้ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเลือกรูปแบบการ นาเสนอที่มีประสิทธิภาพต่อการเรียนของตนมากที่สุด และครูผู้สอนก็สามารถเลือกรูปแบบที่ เหมาะสมกับหลักสูตรมากที่สุดได้
5.แหล่งทรัพยากรข้อมูล (Information Resource) 
มีปัจจัย 2 ประการที่ทาให้เว็บเป็นแหล่งทรัพยากรทางข้อมูลที่สาคัญ ประการแรกคือทุก วันนี้มีข้อมูลที่หลากหลายจานวนมหาศาลอยู่บนเว็บ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลจากแหล่งการศึกษา ธุรกิจหรือ จากภาครัฐทั่วโลก ปัจจัยประการที่ 2 คือ รูปแบบ “hypertext” ของเวิลด์ ไวด์ เว็บ ที่ช่วยให้ผู้ใช้ สามารถคลิกเชื่อมไปสู่เว็บอื่นได้ ผู้เรียนจึงสามารถก้าวผ่านห้องเรียนออกไปสู่แหล่งข้อมูลภายนอกได้ ง่ายดาย โดยการเรียนผ่านเว็บนี่เอง 
6.ความทันสมัย (Currency) 
เนื้อหาที่ใช้ในการเรียนบนเว็บนั้นสามารถปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่ายเมื่อเปรียบเทียบกับ หนังสือเรียน จึงทาให้ครูสามารถนาเสนอข้อมูลที่ทันสมัยที่สุดเท่าที่มีอยู่ให้แก่ผู้เรียน 
7.ช่วยเผยแพร่ผลงาน (Publishing Capabilities) 
ผู้เรียนที่ส่งงานไว้บนเว็บ ถือว่าเป็นโอกาสที่จะเผยแพร่ผลงานของตนเองออกสู่สาธารณะ เว็บเป็นแหล่งประกาศผลงานที่ดีเลิศ เพราะคนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้โดยไม่มีข้อจากัดด้านเวลาและ สถานที่ และผู้เรียนก็มีโอกาสได้เห็นผลงานของผู้อื่นบนเว็บด้วยเช่นกัน 
8.เพิ่มทักษะทางเทคโนโลยี (Increase Technology Skills) 
การเรียนผ่านเว็บทาให้ผู้เรียนได้ใช้ทักษะและเพิ่มพูนความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ยิ่งขึ้นโดยลาดับ เพราะผู้เรียนจะได้รับประสบการณ์ใหม่ๆ และฝึกฝนทักษะได้จากเทคโนโลยีอันหลาย
1. ข้อเสียของรูปแบบมัลติมีเดีย (Format Weaknesses) 
แม้ว่าเว็บจะสามารถนาเสนอมัลติมีเดียรูปแบบต่างๆ ได้มากมาย แต่รูปแบบของสื่อแต่ ละชนิดยังเป็นปัญหาอยู่บ้าง การนาเสนอด้วยตัวอักษรทาให้ผู้เรียนสามารถอ่านและพิมพ์ออกมาได้ ง่ายในรูปแบบของสื่อสิ่งพิมพ์ ในขณะที่วิดีโอบนเว็บเคลื่อนไหวช้ากว่าวีดีทัศน์หรือโทรทัศน์ ธรรมดา นอกจากนี้การติดต่อสื่อสาร ณ เวลาจริง (Real-time communication) ยังไม่ สามารถให้ความรู้สึกได้เหมือนของจริง และด้วยข้อจากัดเรื่อง bandwidth ทาให้การดาวน์ โหลดข้อมูลมัลติมีเดียกินเวลานานและน่าเบื่อหน่ายสาหรับผู้เรียน 
2. ปัญหาของเส้นทางการเข้าสู่เนื้อหา (Navigational Problems) 
แม้ Hypertext จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงออกไปสู่เนื้อหาภายนอกต่อไป ได้ก็ตาม แต่ถ้าการออกแบบบทเรียนไม่ดีพอแล้ว ผู้เรียนอาจหลงทางและหลงประเด็นได้ ทาให้การ เรียนมีปัญหาและไม่ได้ผลตามเป้าหมาย 
ข้อจากัดของ E-learning
3. การขาดการติดต่อระหว่างบุคคล (Lack of Human Contact) 
ในการเรียนผ่านเว็บ ครูจะไม่มีโอกาสได้เห็นว่าผู้เรียนเกิดความสงสันหรือไม่เข้าใจ และมีผู้เรียนบางคนก็มีความพึงพอใจกับความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนแบบดั้งเดิมมากกว่า อย่างไรก็ตามมีความพยายามแก้ไขปัญหา โดยการทดแทนความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลด้วยการใช้ E-mail หรือการจัดให้มี discussion forum เพื่อที่ผู้เรียนจะสามารถมีการติดต่อสื่อสารกับ บุคคลอื่นๆได้บ้าง 
4. แรงจูงใจ (Motivation) 
ผู้เรียนในชั้นเรียนที่มีการเรียนการสอนผ่านเว็บต้องแรงจูงใจส่วยตัวและมีการจัดระบบ การเรียน การขาดการวางแผนการเรียนจะทาให้ผู้เรียนไม่ประสบความสาเร็จกับการเรียน และอาจ สอบไม่ผ่านในหลักสูตรนั้นๆ ได้
5.เนื้อหาที่ไม่มีข้อยุติ (Open-Ended Content) 
เนื้อหาของการเรียนการสอนผ่านเว็บที่เสนอให้กับผู้เรียนนั้นบางครั้งผู้เรียนจะขอบเขต ของเนื้อหาสิ้นสุดที่ใด หากหัวข้อหรือหลักสูตรของการเรียนมีการเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้ง อาจเป็นเหตุ ให้ผู้เรียนเกิดความสับสนได้ 
จากการเปรียบเทียบทั้งข้อดีและข้อจากัดของการเรียนการสอนแบบ E-Learning ทา ให้เห็นได้ว่า การเรียนการสอนแบบ E-Learning อาจจะไม่เหมาะสมกับทุกสถานการณ์หรือ อาจจะไม่เหมาะสมกับผู้เรียนทุกคน ดังที่มีการศึกษายืนยันแล้วว่าคุณภาพของการสอนไม่ได้ขึ้นอยู่ กับสื่อที่ใช้ ดังนั้นการเรียนแบบ E-Learning จึงต้องอาศัยความตั้งใจของผู้เรียนที่จะต้องเรียน ให้สาเร็จ นอกจากนั้น ปัจจัยสาคัญที่จะสร้างประสิทธิภาพของการเรียนการสอนแบบ E- Learning ให้เกิดขึ้นได้ ก็คือ การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน การให้ผลย้อนกลับ โดยทันที รวมทั้งความยืดหยุ่นของเว็บที่ทาให้ผู้สอนสามารถประยุกต์เข้ากับการเรียนการสอนได้ หลายรูปแบบ เพื่อทาให้เกิดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อสร้างประสิทธิภาพในการเรียนการ สอนแบบ E-Learning นั่นเอง
ประเภท สัดส่วนเนื้อหาที่นาเสนอผ่านอินเทอร์เน็ต (สื่ออิเล็กทรอนิกส์) 
1. การเรียนการสอนแบบดั้งเดิม (Traditional) 0% 
2. การเรียนการสอนแบบใช้เว็บช่วย (Web-facilitated) 1-29% 
3. การเรียนการสอนแบบลูกผสม (Blended/Hybrid) 30-79% 
4. การเรียนการสอนแบบออนไลน์หรือ) e-Learning (Online/eLearning) 
ประเภทและรูปแบบ
1. สื่อเสริม (Supplementary) เป็นสื่อที่ใช้ประกอบในการเรียนการสอนปกติ ผู้เรียนเรียน แบบปกติ เป็นเพียงสื่อประกอบบทเรียนบ้าง เพื่อให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติม ที่ผู้เรียนอาจจะใช้หรือไม่ใช้ ก็ได้ หรือเป็นการที่ครูคัดลอกเนื้อหาจากแบบเรียนไปบรรจุไว้ในอินเตอร์เน็ต แล้วแนะนาให้ผู้เรียน ไปเปิดดู 
2. สื่อเพิ่มเติม (Complementary) เป็นสื่อที่ใช้ในการเรียนการสอนปกติ ผู้เรียนเรียนแบบ ปกติ แต่มีการกาหนดเนื้อหาให้ศึกษา สืบค้นจากสื่ออิเลคทรอนิกส์ หรือ Website เป็นบางเนื้อหา 
3. สื่อหลัก (Comprehensive Replacement) เป็นสื่อใช้ทดแทนการเรียนการสอน / การบรรยายในชั้นเรียน โดยที่เนื้อหาทั้งหมดมีความสมบูรณ์แบบในตัวเองครบกระบวนการเรียนรู้ หรือ เป็นเนื้อหาOnline โดยมีการออกแบบให้ใกล้เคียงกับครูผู้สอนมากที่สุด เพื่อใช้ทดแทนการ สอนของครูโดยตรง 
ประเภทของสื่อการเรียนรู้ E-learning
1. ชนิดสื่อสารทางเดียว (One-way Communication) คือการสื่อสารในลักษณะที่ผู้ให้ สารไม่เปิดโอกาสให้ผู้รับการสื่อสารได้เป็นฝ่ายให้สารและไม่สนใจต่อปฏิกิริยาตอบกลับของอีกฝ่าย หนึ่ง สื่อชนิดนี้ ได้แก่ สื่อชนิด e-Books ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ที่เน้นการให้ข้อมูล ถึงแม้จะให้ ผู้เรียนมีโอกาสสร้าง ปฏิสัมพันธ์กับสื่อแต่ก็เป็นไปเพื่อการเลือกศึกษาเนื้อหา ไม่ได้เป็นการโต้ตอบ กลับ 
2. ชนิดสื่อสารสองทาง (Two-way Communication) คือ การสื่อสารที่มีทั้งให้และรับ ข่าวสารระหว่างกัน โดยที่แต่ละฝ่ายเป็นทั้งผู้ส่งสารและผู้รับสาร มีการโต้ตอบ ให้ข้อมูลย้อนกลับไป มาสื่อชนิดนี้ได้แก่บทเรียน CAI ชนิดที่มีปฏิสัมพันธ์ หรือระบบจัดการบทเรียน (LMS) 
ชนิดของสื่อการเรียนรู้ 
E-learning
จาแนกตามระบบการเชื่อมโยงข้อมูล ได้ 2 ชนิด คือ 
1. ชนิด Stand Alone หมายถึงสื่อ E-learning แบบปิดที่สามารถแสดงผลได้บนเครื่อง คอมพิวเตอร์บุคคลเครื่องใด ๆ โดยที่ไม่ได้เชื่อมโยงกับเครื่องอื่น ๆ และเครื่องอื่น ๆ ไม่สามารถ เรียกดู ข้อมูลเนื้อหาได้ 
2. ชนิด Online หมายถึง สื่อ E-learning 
แบบเปิด ที่สามารถแสดงผลได้โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ 
ที่มีระบบใกล้เคียงกันโดยมีการเชื่อมโยงเป็นเครือข่าย 
ร่วมกัน ซึ่งอาจเป็นระบบเครือข่ายภายใน (LAN) 
หรือระบบอินเตอร์เน็ต ก็ได้
LMS เป็นระบบจัดการเรียนการสอน Online เป็นซอฟต์แวร์เพื่อการบริหารจัดการ เรียนการสอนผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ระบบดังกล่าวมักจะประกอบไปด้วยเครื่องมืออานวยความ สะดวกให้แก่ ผู้สอน ผู้เรียน และผู้ดูแลระบบ ผู้สอนสามารถนาเนื้อหาและสื่อการสอนขึ้นเว็บไซด์ รายวิชาตามที่ได้ขอให้ระบบจัดไว้ให้โดยสะดวก ผู้เรียนเข้าถึงเนื้อหา กิจกรรมต่าง ๆ ได้โดยผ่านเว็บ ผู้สอนและผู้เรียนติดต่อสื่อสารกันได้ผ่านทางเครื่องมือการสื่อสารที่ระบบจัดไว้ให้ นอกจากนั้นแล้ว ยังมีองค์ประกอบที่สาคัญคือการเก็บบันทึกข้อมูล กิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนไว้บนระบบ เพื่อ ผู้สอนสามารถนาไปวิเคราะห์เพื่อติดตามและ ประเมินผลการเรียนการสอนในรายวิชานั้นได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 
ระบบจัดการบทเรียน 
(Learning Management System: LMS)
ดังนั้น เราจะพบว่า ระบบจัดการบทเรียนจะทาหน้าที่เหมือนกับโรงเรียนแห่งหนึ่งที่ ประกอบไปด้วยระบบจัดการด้านต่าง ๆ ที่สาคัญอยู่ 3 ระบบ คือ 1. ระบบจัดการหลักสูตร เป็นส่วนของการจัดการเกี่ยวกับระบบการเรียนการสอน ซึ่งเป็น หน้าที่ของครูผู้สอน ที่จะเป็นผู้จัดทา ระบบจัดการหลักสูตรถือเป็นหัวใจสาคัญของ E-learning โดย ประกอบไปด้วยระบบย่อย ๆ 2 ระบบ คือ 1.1 ระบบจัดการบทเรียน เป็นระบบการจัดทาบทเรียนโดยการศึกษา วิเคราะห์เนื้อหาจาก หลักสูตรแล้ว กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ จัดทาสื่อ จัดหาแหล่งข้อมูล แหล่งเรียนรู้ที่สาคัญและจาเป็น รวมถึงการตกแต่งหน้า Web Pages ให้จูงใจในการเรียน 1.2 ระบบการวัดและประเมินการเรียนรู้ เป็นระบบการจัดทาแบบฝึกหัด แบบทดสอบ สาหรับผู้เรียน เพื่อฝึกทักษะ ความสามารถในการคิด รวมถึงเป็นการวัดความรู้ ความคิดผู้เรียนที่ได้ เรียนรู้จากบทเรียน เป็นการประเมินศักยภาพในการเรียนรู้ของผู้เรียน และผู้เรียนจะทราบผลการ ทดสอบทันทีหลังจากสอบเสร็จ หรืออาจมีการเฉลยคาตอบ หรือวิธีการอื่น ๆ แล้วแต่การออกแบบ ระบบของผู้สอน
2. ระบบส่งเสริมการเรียนรู้ เป็นระบบช่วยเหลือในการจัดทาบทเรียนของครูผู้สอน และ ช่วยในการเรียนรู้ของผู้เรียน ประกอบด้วยโปรแกรมจัดทาบทเรียน ที่ครูผู้สอนสามารถบรรจุข้อมูล เนื้อหา คาสั่งกิจกรรม และข้อมูลอื่น ๆ ลงในระบบได้โดยง่าย รวมถึงการใส่ภาพประกอบ ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ หรือไฟล์ข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งผู้เรียนก็สามารถสร้างเนื้อหาตามที่ครูผู้สอนกาหนด กิจกรรมไว้ได้ด้วยวิธีการเดียวกันกับครูผู้สอน นอกจากนี้ ระบบส่งเสริมการเรียนรู้ยังมีระบบการ ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนได้แก่ กระดานข่าว (Web board) กระดานสนทนา (Chat) จดหมายอิเลคทรอนิกส์ (e-mail) และ/หรือ การติดต่อผ่านกล้องวิดีโอ (Web cam) ในกรณีที่ใช้ เครือข่ายสัญญาณความเร็วสูง
3. ระบบจัดการข้อมูล เป็นระบบจัดการด้านฐานข้อมูล ซึ่งจะเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ของครูผู้สอน ข้อมูลของผู้เรียน สถิติต่าง ๆ เช่น สถิติการเข้ามาเรียน วันที่ เวลา ระยะเวลา ข้อมูล ส่วนตัว รหัสผ่าน สถิติการทาแบบฝึกหัด แบบทดสอบ คะแนนที่ได้ ฯลฯ
E-learning ต้องอาศัยการดาเนินการอย่างเป็นระบบ เนื่องจากมีความเกี่ยวข้องกันหลายฝ่าย จากแผนภูมิด้านบน จะพบว่า การจัดระบบ E-learning นั้น อย่างน้อยที่สุดควรประกอบไปด้วย ส่วนประกอบที่สาคัญ 7 ส่วน คือ 
1. กระบวนการเรียนรู้ ประกอบด้วย การวิเคราะห์หลักสูตร กาหนดผลการเรียนรู้หรือ จุดประสงค์ กาหนดเนื้อหา กาหนดกิจกรรม และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 
2. ระบบเครือข่าย ประกอบด้วยการวางระบบเครือข่ายภายใน (Intranet) และระบบเครือข่าย ภายนอก (Internet) ให้เชื่อมโยงทั่วถึงกัน 
3. สื่อการเรียนรู้ ประกอบด้วยสื่อการเรียนชนิดต่าง ๆ ดังที่กล่าวมาแล้ว 
การจัดการเรียนรู้ E-learning
4. การติดต่อสื่อสาร ประกอบด้วยวิธีการติดต่อสื่อสารแบบต่าง ๆ ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน 
5. บุคลากร ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ดูแลระบบ ผู้พัฒนาโปรแกรม ครูผู้สอน และช่างเทคนิค หรืออาจรวมถึงผู้เชี่ยวชาญในสาขาอื่น ๆ ร่วมด้วย 
6. ผู้เรียน จะต้องมีความพร้อมที่จะเรียนรู้ผ่านระบบเครือข่าย 
7. แหล่งเรียนรู้ ซึ่งครูผู้สอนจะต้องศึกษา จัดหา เตรียมไว้สาหรับผู้เรียนให้สามารถศึกษา สืบค้น ได้โดยสะดวก เหมาะสม และพอเพียง
การจัดการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายออนไลน์ มีขั้นตอนการดาเนินการ ดังต่อไปนี้ 
1. การออกแบบและจัดทาบทเรียน E-learning ถือเป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุด เรียกได้ว่า เป็น "หัวใจ" ของการเรียนการสอนเลยทีเดียว เพราะบทเรียนที่มีคุณภาพสูงจะสามารถพัฒนา ผู้เรียนให้เกิด การเรียนรู้ได้ดีเท่า ๆ กับหรือมากกว่าการเรียนการสอนในชั้นเรียน ขั้นตอนนี้มี วิธีการดาเนินการดังนี้ 
1.1 การออกแบบบทเรียน (Courseware) เริ่มจากการศึกษา วิเคราะห์หลักสูตรที่ใช้อยู่ ในปัจจุบัน ศึกษาสภาพความพร้อมของผู้เรียน เวลาที่ใช้ในการเรียน โอกาสในการเรียนของ ผู้เรียน จากนั้น จากนั้น 
วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง คัดเลือกเนื้อหา กาหนดเนื้อหาออกเป็นหน่วยการ เรียน กาหนด จุดประสงค์การเรียนรู้แต่ละหน่วย ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละหน่วย สื่อการ เรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ที่สาคัญและจาเป็น กาหนดวิธีการวัดและประเมินกิจกรรมของแต่ละ หน่วยการเรียน 
กระบวนการจัดการเรียนการสอน E-learning แบบออนไลน์
1.2 การจัดทาบทเรียน โดยการกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยให้สอดคล้อง กับจุดประสงค์การเรียนรู้ และเนื้อหาที่กาหนดไว้ จัดทาสื่อการสอนในรูปแบบต่างๆ ที่เหมาะสมต่อ การเรียนรู้และน่าสนใจ จัดสร้างเครื่องมือในการวัดและประเมินผลกิจกรรมหรือผลงานที่กาหนดใน บทเรียน กาหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผลให้ชัดเจน เหมาะสม สอดคล้องกับเนื้อหาและ กิจกรรม การใช้ข้อความ รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ใด ๆ ในบทเรียน ต้องคานึงถึงความถูกต้อง สมบูรณ์ ละเอียดชัดเจนในตัวเอง เนื่องจาก E-learning ถือเป็นการจัดการเรียนการสอนทางไกลที่ ผู้เรียนและผู้สอนอาจไม่มีโอกาสพบปะกัน ดังนั้น การจัดทาบทเรียนจึงต้องคานึงถึงคุณภาพให้มาก 
1.3 การบรรจุบทเรียนลงในระบบ หลังจากที่จัดทาบทเรียนเสร็จเรียบร้อยครบถ้วนแล้ว ก็ บรรจุบทเรียนลงในระบบ หรือครูผู้สอนอาจจัดทาบทเรียนลงในตัวระบบเลยก็ได้ ซึ่งทางระบบ ส่งเสริมการเรียนรู้ได้จัดเตรียมไว้ให้พร้อมแล้ว หากมีรูปแบบข้อมูลทางอิเลคทรอนิกส์แบบอื่น ประกอบในบทเรียนด้วย จะต้องมีการ Upload file ดังกล่าวเข้าไปด้วย ซึ่งจะทาให้ตัวบทเรียนมีความ น่าสนใจมากขึ้น หลังจากที่ได้บรรจุบทเรียนเข้าในระบบแล้วควรมีการทดสอบการใช้งานของ บทเรียน โดยการทดลองเข้าดูเนื้อหาหลายๆ ครั้งเพื่อให้เกิดความมั่นใจมากขึ้นว่าบทเรียนมีความ สมบูรณ์พร้อมแล้ว
2. การจัดการเรียนรู้ เป็นขั้นตอนของการนาบทเรียนไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ 
2.1 การนาเสนอบทเรียน เป็นการนาเสนอข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเรียน หรือเรียกว่า เป็นส่วนแนะนาบทเรียน โดยนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับ คาอธิบายรายวิชา ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชา จุดประสงค์ของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ วิธีการเรียน เงื่อนไขการเรียน การนัดหมาย การส่ง งาน ช่วงเวลาที่มีการทดสอบ ฯลฯ เพื่อให้ผู้เรียนได้รู้จักและเข้าใจถึงวิธีการใช้บทเรียน ทาให้การเข้า ใช้บทเรียนมีประสิทธิ-ภาพในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนมากขึ้น จากนั้นให้ผู้เรียนสมัครเข้าเรียน 
2.2 การรับสมัครและอนุมัติสิทธิ์ผู้เรียน หลังจากที่ผู้เรียนสมัครเข้าเรียน และเลือก รายวิชาที่ต้องการเรียนแล้ว ครูผู้สอนจะทาการอนุมัติสิทธิ์ในการเรียนของผู้เรียนที่อยู่ในเงื่อนไขที่ ครูผู้สอนกาหนด 
2.3 การติดต่อสื่อสาร ติดตามการเรียน ในระหว่างเรียนครูผู้สอนอาจนัดหมายเวลาพบปะ เพื่อให้ผู้เรียนได้ปรึกษาปัญหา พบปะ พูดคุย แสดงความคิดเห็นต่อการเรียน
3. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นส่วนสาคัญอีกส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการ เรียนรู้ ซึ่งหลังจากที่ผู้เรียนเรียนรู้แล้วต้องมีการประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนเพื่อนาผลมาพิจารณา ว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือไม่ มากน้อยอย่างไร การวัดผลการเรียนรู้สามารถกระทาได้ ดังนี้ 
3.1 การจัดทาแบบทดสอบ โดยการทาแบบทดสอบออนไลน์ ที่ครูผู้สอนจัดทาไว้ใน ระบบ ซึ่งมีวิธีการให้ครูผู้สอนสามารถจัดทาได้ในหลาย ๆ รูปแบบ ขึ้นอยู่กับลักษณะของเนื้อหา ความรู้ที่ต้องการวัด การทดสอบอาจทาซ้าได้หลาย ๆ ครั้ง หรือให้ทาเพียงครั้งเดียวก็ได้ และเมื่อทา แบบทดสอบเสร็จสิ้น ทางระบบจะทาการประเมินผลการสอบให้ผู้เรียนทราบทันที หรืออาจปรับ ระบบให้ผู้เรียนทราบในภายหลังก็ได้ 
3.2 การประเมินผลการเรียนรู้ เป็นการประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านความรู้ ความคิด ด้านทักษะ ด้านเจตคติ โดยพิจารณาจากข้อมูลที่รวบรวมไว้ ทั้งจากผลงานที่ ผู้เรียนจัดทาและส่งให้ประเมินตามที่ผู้สอนกาหนด การทาแบบฝึกหัด แบบทดสอบ รวมถึงการ พิจารณาการเข้าเรียน การส่งงาน ความรับผิดชอบ การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนหรือผู้เรียนคนอื่น ๆ หรือคุณลักษณะอื่น ๆ ตามที่ได้กาหนดไว้ในบทเรียน ครูผู้สอนจะต้องรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เหล่านี้ เพื่อทาการประเมินการเรียนรู้เป็น รายบุคคล
3.3 การอนุมัติผลการเรียน หลังจากประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนเรียบร้อยแล้ว ก็แจ้งผล การประเมินการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทราบตามระดับ หรือเกณฑ์คุณภาพที่กาหนด ผู้เรียนที่ไม่ผ่านการ ประเมินอาจมีการซ่อมเสริมในบางเนื้อหา ผลการเรียนสามารถแจ้งไปยังผู้เรียนทราบได้โดยตรงเป็น ลายลักษณ์อักษรทางไปรษณีย์ เพื่อเป็นหลักฐานให้ผู้เรียนเก็บรวบรวมไว้ใช้ในการประเมินอย่างอื่น ๆ ต่อไป 
การอนุมัติผลการเรียน จะกระทาในกรณีที่มีการจัดการเรียนการสอนตลอดทั้งรายวิชา สาหรับรายวิชาที่มีการเรียนการสอนออนไลน์เป็นบางบทเรียน หรือบางเนื้อหา ก็อาจรวบรวมผลการ เรียนรู้ที่ได้รวมกับผลการเรียนการสอนปกติก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับนโยบายและเงื่อนไขการจัดการเรียนรู้ E-learning ของสถานศึกษาแต่ละแห่ง
4. การรวบรวมข้อมูลเพื่อการประเมิน ปรับปรุง และพัฒนาบทเรียน เป็นส่วนของการ พัฒนาบทเรียนออนไลน์แบบครบวงจร บทเรียนที่มีการออกแบบ จัดทา และนาไปใช้แล้ว ควรที่จะ ได้นาผลการใช้และเก็บรวบรวมข้อมูลการใช้จากผู้เรียนมาวิเคราะห์เพื่อแก้ไข ปรับปรุง พัฒนา บทเรียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป ข้อมูลที่เป็นผลการเรียนรู้ของผู้เรียนจะนามาประเมิน ประสิทธิผลของบทเรียน ส่วนในด้านประสิทธิภาพ อาจใช้แบบสอบถามจากผู้เรียนหรือสุ่มตัวอย่าง สัมภาษณ์ผู้เรียนก็ได้ นอกจากครูผู้สอน และผู้เรียนแล้วบุคลากรที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ก็สามารถให้ข้อมูล เพื่อประเมินถึงประสิทธิภาพของบทเรียนได้ เช่นกัน บุคลากรอื่น ๆ ที่ควรเก็บข้อมูลมาศึกษาร่วม ด้วยได้แก่ ผู้ดูแลระบบ ผู้พัฒนาโปรแกรม และ ผู้ปกครองนักเรียน เป็นต้น
ปัจจุบันมีบทเรียน E-learning อยู่จานวนมากที่ครูผู้สอน หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งของรัฐ และเอกชน พัฒนาขึ้นก่อนอื่นต้องเข้าใจว่า "ไม่มีบทเรียนใดที่ดีที่สุด ไม่มีบทเรียนใดที่ใช้สอนได้ทุกอย่าง ทุกเรื่อง ทุกที่ ทุกครั้ง ไม่มีบทเรียนใดที่ตอบสนองการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ทุกคน บทเรียนที่ดีที่สุด คือ บทเรียนที่สามารถพัฒนาผู้เรียนได้ตรงตามจุดมุ่งหมายที่กาหนด" ดังนั้น การสร้างบทเรียนจึงต้องยึด เอาจุดมุ่งหมาย (Goals) หรือ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (Outcomes) หรือ จุดประสงค์การเรียนรู้ (Objectives) เป็นหลัก การประเมินประสิทธิภาพของบทเรียน E-learning 
การประเมินประสิทธิภาพของบทเรียน E-learning
สมาชิก 
นางสาวกนกวรรณ แย้มวิเศษ รหัส 551116050 
นางสาวภาวินี กันธง รหัส 551116055 
นางสาวอตินาถ แก่นเมือง รหัส 551116059 
นางสาวนฤมล สารอินมูล รหัส 551116079 
นางสาวพรพรรณ เผ่าดี รหัส 551116067 
นางสาวณัฐสุดา สิทธิ รหัส 551116068 
นางสาวรัตนาภรณ์ แช่มจู รหัส 551116069 
นางสาววรรณิศา อยู่อินทร์ รหัส 551116080 
นางสาวพรวิมล เหล็กศรีสืบ รหัส 551116089 
นางสาวอริสรา จันต๊ะภา รหัส 531144019

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
Bunsasi
 
06490318 M Learning (Mobile Learning)
06490318 M Learning (Mobile Learning)06490318 M Learning (Mobile Learning)
06490318 M Learning (Mobile Learning)
pterophyta
 
Mooc infographics-gamification-infographics
Mooc infographics-gamification-infographicsMooc infographics-gamification-infographics
Mooc infographics-gamification-infographics
iyabest
 
Moo cs
Moo csMoo cs
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet education
codexstudio
 
Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for education
Changnoi Etc
 

Mais procurados (15)

Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่งM-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
M-learning เอ็มเลิร์นนิ่ง
 
06490318 M Learning (Mobile Learning)
06490318 M Learning (Mobile Learning)06490318 M Learning (Mobile Learning)
06490318 M Learning (Mobile Learning)
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
 
Mooc infographics-gamification-infographics
Mooc infographics-gamification-infographicsMooc infographics-gamification-infographics
Mooc infographics-gamification-infographics
 
Moo cs
Moo csMoo cs
Moo cs
 
241203 chapter05
241203 chapter05241203 chapter05
241203 chapter05
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
E leanning
E leanningE leanning
E leanning
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet education
 
Ch5 e-learning
Ch5 e-learningCh5 e-learning
Ch5 e-learning
 
Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for education
 
OER & MOOC @ NSTDA
OER & MOOC @ NSTDAOER & MOOC @ NSTDA
OER & MOOC @ NSTDA
 
E-learning
E-learningE-learning
E-learning
 

Destaque

การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
guest082d95
 
E learning คือ
E learning คือE learning คือ
E learning คือ
Sudkamon Play
 
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
Sudkamon Play
 

Destaque (7)

การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
 
E learning
E learningE learning
E learning
 
Elearning
ElearningElearning
Elearning
 
E learning คือ
E learning คือE learning คือ
E learning คือ
 
Electronic learning
Electronic learningElectronic learning
Electronic learning
 
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
 

Semelhante a เทคโนโลยรสารสนเทศ อ.ภิญญาพัช

ประโยชน์ของ E learning
ประโยชน์ของ E learningประโยชน์ของ E learning
ประโยชน์ของ E learning
Sudkamon Play
 
ประโยชน์ของการเรียนผ่านบทเรียนออนไลน์
ประโยชน์ของการเรียนผ่านบทเรียนออนไลน์ประโยชน์ของการเรียนผ่านบทเรียนออนไลน์
ประโยชน์ของการเรียนผ่านบทเรียนออนไลน์
Akkarachat Chaisena
 
Ch5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textCh5 e-learning-text
Ch5 e-learning-text
Changnoi Etc
 
ห้องเรียนเสมือนจริง
ห้องเรียนเสมือนจริงห้องเรียนเสมือนจริง
ห้องเรียนเสมือนจริง
Sirirat Faiubon
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
Mookmunee Mook
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
phoom_man
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
phoom_man
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
phoom_man
 

Semelhante a เทคโนโลยรสารสนเทศ อ.ภิญญาพัช (20)

ประโยชน์ของ E learning
ประโยชน์ของ E learningประโยชน์ของ E learning
ประโยชน์ของ E learning
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
 
ประโยชน์ของการเรียนผ่านบทเรียนออนไลน์
ประโยชน์ของการเรียนผ่านบทเรียนออนไลน์ประโยชน์ของการเรียนผ่านบทเรียนออนไลน์
ประโยชน์ของการเรียนผ่านบทเรียนออนไลน์
 
Ch5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textCh5 e-learning-text
Ch5 e-learning-text
 
Chap1
Chap1Chap1
Chap1
 
Chap1
Chap1Chap1
Chap1
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
07
0707
07
 
07
0707
07
 
07
0707
07
 
Pp social
Pp socialPp social
Pp social
 
ห้องเรียนเสมือนจริง
ห้องเรียนเสมือนจริงห้องเรียนเสมือนจริง
ห้องเรียนเสมือนจริง
 
07
0707
07
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
Synchronous and asynchronous (1)
Synchronous and asynchronous (1)Synchronous and asynchronous (1)
Synchronous and asynchronous (1)
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 

เทคโนโลยรสารสนเทศ อ.ภิญญาพัช

  • 1.
  • 2. การเรียนในลักษณะใดก็ได้ ซึ่งใช้การถ่ายทอดเนื้อหาผ่านทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณ โทรทัศน์ หรือ สัญญาณดาวเทียม (Satellite) ก็ได้ ซึ่งเนื้อหาสารสนเทศอาจอยู่ในรูปแบบ การเรียนที่เราคุ้นเคยกันมาพอสมควร เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction) การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ อาจอยู่ในลักษณะที่ยังไม่ค่อย เป็นที่แพร่หลายนัก เช่น การเรียนจากวิดีทัศน์ ตามอัธยาศัย (Video On-Demand) เป็น ต้น e-Learning
  • 3. e-Learning มีพัฒนาการมาจากการศึกษาทางไกลผ่านระบบไปรษณีย์ ในช่วง กลางศตวรรษที่ 18 ในทวีปยุโรปเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลได้เรียนแต่ประสบปัญหาใน การติดต่อเมื่อมีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการศึกษามากขึ้นในปี ค.ศ. 1960 จึงมีการพัฒนา แนวคิดของการใช้คอมพิวเตอร์และโสตทัศนวัสดุเป็นสื่อการเรียนการสอน เช่น เทปบันทึกภาพ เทปบันทึกเสียง ต่อมาเป็นการใช้ซีดี-รอมในปี ค.ศ. 1990 เป็นต้นมา เมื่อมีการใช้อินเทอร์เน็ต อย่างแพร่หลายผ่านโปรแกรมแสดงผล(Web browser) และโปรโตคอล TCP/IP จึงมี การพัฒนาการเรียนการสอนผ่าน World Wide Webในปี ค.ศ. 2000 เป็นต้นมาคาว่า e- Learning เริ่มแพร่หลายจากการที่บริษัท Cisco ได้เริ่มแนะนาเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ e- Learning มาใช้ในการฝึกอบรมโปรแกรม การอบรมพนักงานของบริษัท ความเป็นมา
  • 4. ยุคของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้เป็น 4 ยุค 1. ยุคคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและฝึกอบรม (Instructor-Led Training Era) เป็น ยุคเริ่มใช้คอมพิวเตอร์ในวงการศึกษาจนถึงปี ค.ศ. 1983
  • 5. 2. ยุคมัลติมีเดีย (Multimedia Era) ช่วงปี ค.ศ.1984-1993 เป็นยุคกาเนิดโปรแกรม วินโดว์ 3.1 การใช้ซีดีรอมบันทึกข้อมูล การใช้โปรแกรมการนาเสนอ Power Point การสร้าง บทเรียน เป็นต้น สามารถนาไปเรียนตามเวลาและสถานที่ที่สะดวก แต่มีข้อเสีย คือ ผู้เรียนขาด ปฏิสัมพันธ์กับผู้สอน 3. ยุคเว็บเริ่มแรก (Web infancy) ช่วงปี ค.ศ.1994-1999 เริ่มมีการใช้เทคโนโลยีเว็บ บนอินเทอร์เน็ตและมีมัลติมีเดียบนเว็บ 4. ยุคเว็บรุ่นใหม่ (Next Generation Web) ช่วงปี ค.ศ. 2000-2005 เป็นยุคที่เทคโนโลยีก้าวหน้ามาก .
  • 6. e-Learning มีลักษณะเด่นและมีความสาคัญ 6 ประการ คือ 1.สื่อประสม (Multimedia) ด้วยศักยภาพของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ผู้สอน สามารถออกแบบการเรียนรู้ โดยใช้สื่อมัลติมีเดีย ทั้งในรูปข้อความ ภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว (Animation) และภาพยนตร์ ทาให้การนาเสนอมีความน่าสนใจ และสื่อความหมายได้ดีกว่า การใช้สื่อเดียวโดดๆ 2. ระบบเปิด (Open System) e-Learning ที่นาเสนอเนื้อหาผ่านระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถเชื่อมโยงกับแหล่งความรู้ แหล่งข้อมูลที่หลากหลายบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ต อาจารย์ผู้สอนสามารถออกแบบให้การค้นหาและเชื่อมโยงแหล่งความรู้เข้ามาที่ บทเรียน เพื่อชี้นาแหล่งความรู้เพิ่มเติม ทันสมัย ให้กับผู้เรียนได้เกิดประโยชน์ทั้งในด้านคุณภาพ การเรียนรู้ มีแหล่งความรู้ให้ผู้เรียนหลากหลาย และประสิทธิภาพ ผู้สอนประหยัดเวลาในการ เตรียม และข้อมูลทันสมัยเสมอ ความสาคัญ e-Learning
  • 7. 3. รองรับและเอื้อต่อปฏิสัมพันธ์ (Interaction) หลากหลายรูปแบบ ปฏิสัมพันธ์ใน การเรียนจะช่วยเสริมให้เกิดความเข้าใจในขั้นสูงขึ้น การจาแนกระดับความรู้ ความเข้าใจ (Cognitive Domain) 6 ขั้นตาม Benjamin S. Bloom2 โดย e-Learning จะ รองรับและเอื้อต่อปฏิสัมพันธ์ที่หลากหลาย เช่น ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับสื่อการเรียน (human-computer interaction) ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน หรือ ระหว่าง ผู้เรียนกันเอง (human-human interaction) 4. รองรับการสื่อสารทั้งแบบประสานเวลา (Synchronous Communication) และแบบไม่ประสานเวลา (Asynchronous Communication) คือการสื่อสารที่มีการโต้ตอบกันได้ในเวลาเดียวกัน และการสื่อสารที่ผู้ที่ สื่อสารไม่ต้องนัดหมายกันเพื่อสื่อสาร ใช้วิธีการฝากสารไว้ในระบบและเมื่อคู่สื่อสารพร้อมก็จะมา ตอบสารนั้น เช่น ระบบกระดานสนทนา (web board)
  • 8. 5. รองรับการจัดการเรียนการสอนทั้งแบบอาจารย์เป็นผู้นาการสอน (Human driven) หรือแบบคอมพิวเตอร์เป็นผู้นาการสอน (Computer driven) เช่น การใช้บทเรียน เป็นสื่อเสริมการสอนของอาจารย์ในชั้นเรียน หรือรายวิชาที่พัฒนาเป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนทั้งรายวิชา เป็นต้น 6. เก็บเหตุการณ์การเรียนการสอน (Keep Log) กิจกรรมการเรียนการสอนที่เกิดขึ้น เช่น คาถาม-คาตอบ ปฏิสัมพันธ์ รวมทั้งเหตุการณ์ทุกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจะถูกจัดเก็บและบันทึกไว้ใน ระบบคอมพิวเตอร์ สามารถนามาใช้เพื่อเป็นประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง เช่น ติดตามการเรียนของ ผู้เรียน ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างการเรียน (formative evaluation) ประเมินรวบยอด (summative evaluation)
  • 9. 1.ความยืดหยุ่นและความสะดวก (Flexibility and Convenience) ผู้เรียน E-Learning สามารถเข้าถึงเนื้อหาหลักสูตร ณ เวลาและสถานที่ใดก็ได้ ตามแต่ความสะดวก ซึ่งเป็นการขจัดข้อจากัดทางกายภาพที่เกิดจากการเรียนในห้องเรียนแบบเดิม การเรียนผ่านเว็บสามารถเรียนได้จากที่บ้าน ที่ทางาน หรือสถานศึกษาตามความสะดวกของผู้เรียน เป็นการลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางและค่าใช้จ่ายในการใช้ห้องเรียนด้วย 2.เรียนได้ทันใจตามต้องการ (Just-time Learning) นักเรียนสามารถเรียนผ่านเว็บได้ทุกขณะที่ต้องการ การเรียนแบบ E-Learning จึง สามารถชักจูงใจและทาให้ผู้เรียนเรียนได้เป็นเวลานานโดยไม่เบื่อ ผู้เรียนสามารถค้นหาและเข้าถึง ความรู้ใหม่ๆ ได้ทันเวลาและความต้องการ เนื้อหาบนเว็บที่ถูกสร้างและปรับปรุงขึ้นใหม่ทุกขณะ ทา ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิตและนาไปใช้ได้อย่างทันเหตุการณ์ ข้อดี-ข้อเสียของ E-Learning
  • 10. 3.ผู้เรียนเป็นฝ่ายควบคุม (Learner Control) ในสภาพการเรียนการสอนผ่านเว็บ ผู้เรียนจะมีเสรีภาพในการค้นคว้าและเรียนรู้สิ่งที่ตน สนใจ ซึ่งบางครั้งอาจเป็นสิ่งที่อยู่นอกเหนือความคาดหวังของผู้สอน ผู้เรียนสามารถตัดสินใจเรื่อง จังหวะการเรียนและประเด็นสาคัญของเนื้อหาการเรียน จึงทาให้เส้นทางของการเรียนแบบ E-Learning ของนักเรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกันตามความต้องการของตน ถ้าผู้เรียนมีวินัย ในตนเอง มีเป้าหมายและความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมของเว็บ จึงจะทาให้ผู้เรียนควบคุมการ เรียนผ่านเว็บได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.รูปแบบมัลติมีเดีย (Multimedia Format) เวิลด์ ไวด์ เว็บ ช่วยให้การนาเสนอเนื้อหามีรูปแบบที่หลากหลาย รวมทั้งตัวอักษรเสียง วิดีทัศน์ และการติดต่อสื่อสาร ณ เวลาจริง คุณสมบัตินี้ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเลือกรูปแบบการ นาเสนอที่มีประสิทธิภาพต่อการเรียนของตนมากที่สุด และครูผู้สอนก็สามารถเลือกรูปแบบที่ เหมาะสมกับหลักสูตรมากที่สุดได้
  • 11. 5.แหล่งทรัพยากรข้อมูล (Information Resource) มีปัจจัย 2 ประการที่ทาให้เว็บเป็นแหล่งทรัพยากรทางข้อมูลที่สาคัญ ประการแรกคือทุก วันนี้มีข้อมูลที่หลากหลายจานวนมหาศาลอยู่บนเว็บ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลจากแหล่งการศึกษา ธุรกิจหรือ จากภาครัฐทั่วโลก ปัจจัยประการที่ 2 คือ รูปแบบ “hypertext” ของเวิลด์ ไวด์ เว็บ ที่ช่วยให้ผู้ใช้ สามารถคลิกเชื่อมไปสู่เว็บอื่นได้ ผู้เรียนจึงสามารถก้าวผ่านห้องเรียนออกไปสู่แหล่งข้อมูลภายนอกได้ ง่ายดาย โดยการเรียนผ่านเว็บนี่เอง 6.ความทันสมัย (Currency) เนื้อหาที่ใช้ในการเรียนบนเว็บนั้นสามารถปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่ายเมื่อเปรียบเทียบกับ หนังสือเรียน จึงทาให้ครูสามารถนาเสนอข้อมูลที่ทันสมัยที่สุดเท่าที่มีอยู่ให้แก่ผู้เรียน 7.ช่วยเผยแพร่ผลงาน (Publishing Capabilities) ผู้เรียนที่ส่งงานไว้บนเว็บ ถือว่าเป็นโอกาสที่จะเผยแพร่ผลงานของตนเองออกสู่สาธารณะ เว็บเป็นแหล่งประกาศผลงานที่ดีเลิศ เพราะคนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้โดยไม่มีข้อจากัดด้านเวลาและ สถานที่ และผู้เรียนก็มีโอกาสได้เห็นผลงานของผู้อื่นบนเว็บด้วยเช่นกัน 8.เพิ่มทักษะทางเทคโนโลยี (Increase Technology Skills) การเรียนผ่านเว็บทาให้ผู้เรียนได้ใช้ทักษะและเพิ่มพูนความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ยิ่งขึ้นโดยลาดับ เพราะผู้เรียนจะได้รับประสบการณ์ใหม่ๆ และฝึกฝนทักษะได้จากเทคโนโลยีอันหลาย
  • 12. 1. ข้อเสียของรูปแบบมัลติมีเดีย (Format Weaknesses) แม้ว่าเว็บจะสามารถนาเสนอมัลติมีเดียรูปแบบต่างๆ ได้มากมาย แต่รูปแบบของสื่อแต่ ละชนิดยังเป็นปัญหาอยู่บ้าง การนาเสนอด้วยตัวอักษรทาให้ผู้เรียนสามารถอ่านและพิมพ์ออกมาได้ ง่ายในรูปแบบของสื่อสิ่งพิมพ์ ในขณะที่วิดีโอบนเว็บเคลื่อนไหวช้ากว่าวีดีทัศน์หรือโทรทัศน์ ธรรมดา นอกจากนี้การติดต่อสื่อสาร ณ เวลาจริง (Real-time communication) ยังไม่ สามารถให้ความรู้สึกได้เหมือนของจริง และด้วยข้อจากัดเรื่อง bandwidth ทาให้การดาวน์ โหลดข้อมูลมัลติมีเดียกินเวลานานและน่าเบื่อหน่ายสาหรับผู้เรียน 2. ปัญหาของเส้นทางการเข้าสู่เนื้อหา (Navigational Problems) แม้ Hypertext จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงออกไปสู่เนื้อหาภายนอกต่อไป ได้ก็ตาม แต่ถ้าการออกแบบบทเรียนไม่ดีพอแล้ว ผู้เรียนอาจหลงทางและหลงประเด็นได้ ทาให้การ เรียนมีปัญหาและไม่ได้ผลตามเป้าหมาย ข้อจากัดของ E-learning
  • 13. 3. การขาดการติดต่อระหว่างบุคคล (Lack of Human Contact) ในการเรียนผ่านเว็บ ครูจะไม่มีโอกาสได้เห็นว่าผู้เรียนเกิดความสงสันหรือไม่เข้าใจ และมีผู้เรียนบางคนก็มีความพึงพอใจกับความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนแบบดั้งเดิมมากกว่า อย่างไรก็ตามมีความพยายามแก้ไขปัญหา โดยการทดแทนความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลด้วยการใช้ E-mail หรือการจัดให้มี discussion forum เพื่อที่ผู้เรียนจะสามารถมีการติดต่อสื่อสารกับ บุคคลอื่นๆได้บ้าง 4. แรงจูงใจ (Motivation) ผู้เรียนในชั้นเรียนที่มีการเรียนการสอนผ่านเว็บต้องแรงจูงใจส่วยตัวและมีการจัดระบบ การเรียน การขาดการวางแผนการเรียนจะทาให้ผู้เรียนไม่ประสบความสาเร็จกับการเรียน และอาจ สอบไม่ผ่านในหลักสูตรนั้นๆ ได้
  • 14. 5.เนื้อหาที่ไม่มีข้อยุติ (Open-Ended Content) เนื้อหาของการเรียนการสอนผ่านเว็บที่เสนอให้กับผู้เรียนนั้นบางครั้งผู้เรียนจะขอบเขต ของเนื้อหาสิ้นสุดที่ใด หากหัวข้อหรือหลักสูตรของการเรียนมีการเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้ง อาจเป็นเหตุ ให้ผู้เรียนเกิดความสับสนได้ จากการเปรียบเทียบทั้งข้อดีและข้อจากัดของการเรียนการสอนแบบ E-Learning ทา ให้เห็นได้ว่า การเรียนการสอนแบบ E-Learning อาจจะไม่เหมาะสมกับทุกสถานการณ์หรือ อาจจะไม่เหมาะสมกับผู้เรียนทุกคน ดังที่มีการศึกษายืนยันแล้วว่าคุณภาพของการสอนไม่ได้ขึ้นอยู่ กับสื่อที่ใช้ ดังนั้นการเรียนแบบ E-Learning จึงต้องอาศัยความตั้งใจของผู้เรียนที่จะต้องเรียน ให้สาเร็จ นอกจากนั้น ปัจจัยสาคัญที่จะสร้างประสิทธิภาพของการเรียนการสอนแบบ E- Learning ให้เกิดขึ้นได้ ก็คือ การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน การให้ผลย้อนกลับ โดยทันที รวมทั้งความยืดหยุ่นของเว็บที่ทาให้ผู้สอนสามารถประยุกต์เข้ากับการเรียนการสอนได้ หลายรูปแบบ เพื่อทาให้เกิดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อสร้างประสิทธิภาพในการเรียนการ สอนแบบ E-Learning นั่นเอง
  • 15. ประเภท สัดส่วนเนื้อหาที่นาเสนอผ่านอินเทอร์เน็ต (สื่ออิเล็กทรอนิกส์) 1. การเรียนการสอนแบบดั้งเดิม (Traditional) 0% 2. การเรียนการสอนแบบใช้เว็บช่วย (Web-facilitated) 1-29% 3. การเรียนการสอนแบบลูกผสม (Blended/Hybrid) 30-79% 4. การเรียนการสอนแบบออนไลน์หรือ) e-Learning (Online/eLearning) ประเภทและรูปแบบ
  • 16. 1. สื่อเสริม (Supplementary) เป็นสื่อที่ใช้ประกอบในการเรียนการสอนปกติ ผู้เรียนเรียน แบบปกติ เป็นเพียงสื่อประกอบบทเรียนบ้าง เพื่อให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติม ที่ผู้เรียนอาจจะใช้หรือไม่ใช้ ก็ได้ หรือเป็นการที่ครูคัดลอกเนื้อหาจากแบบเรียนไปบรรจุไว้ในอินเตอร์เน็ต แล้วแนะนาให้ผู้เรียน ไปเปิดดู 2. สื่อเพิ่มเติม (Complementary) เป็นสื่อที่ใช้ในการเรียนการสอนปกติ ผู้เรียนเรียนแบบ ปกติ แต่มีการกาหนดเนื้อหาให้ศึกษา สืบค้นจากสื่ออิเลคทรอนิกส์ หรือ Website เป็นบางเนื้อหา 3. สื่อหลัก (Comprehensive Replacement) เป็นสื่อใช้ทดแทนการเรียนการสอน / การบรรยายในชั้นเรียน โดยที่เนื้อหาทั้งหมดมีความสมบูรณ์แบบในตัวเองครบกระบวนการเรียนรู้ หรือ เป็นเนื้อหาOnline โดยมีการออกแบบให้ใกล้เคียงกับครูผู้สอนมากที่สุด เพื่อใช้ทดแทนการ สอนของครูโดยตรง ประเภทของสื่อการเรียนรู้ E-learning
  • 17. 1. ชนิดสื่อสารทางเดียว (One-way Communication) คือการสื่อสารในลักษณะที่ผู้ให้ สารไม่เปิดโอกาสให้ผู้รับการสื่อสารได้เป็นฝ่ายให้สารและไม่สนใจต่อปฏิกิริยาตอบกลับของอีกฝ่าย หนึ่ง สื่อชนิดนี้ ได้แก่ สื่อชนิด e-Books ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ที่เน้นการให้ข้อมูล ถึงแม้จะให้ ผู้เรียนมีโอกาสสร้าง ปฏิสัมพันธ์กับสื่อแต่ก็เป็นไปเพื่อการเลือกศึกษาเนื้อหา ไม่ได้เป็นการโต้ตอบ กลับ 2. ชนิดสื่อสารสองทาง (Two-way Communication) คือ การสื่อสารที่มีทั้งให้และรับ ข่าวสารระหว่างกัน โดยที่แต่ละฝ่ายเป็นทั้งผู้ส่งสารและผู้รับสาร มีการโต้ตอบ ให้ข้อมูลย้อนกลับไป มาสื่อชนิดนี้ได้แก่บทเรียน CAI ชนิดที่มีปฏิสัมพันธ์ หรือระบบจัดการบทเรียน (LMS) ชนิดของสื่อการเรียนรู้ E-learning
  • 18. จาแนกตามระบบการเชื่อมโยงข้อมูล ได้ 2 ชนิด คือ 1. ชนิด Stand Alone หมายถึงสื่อ E-learning แบบปิดที่สามารถแสดงผลได้บนเครื่อง คอมพิวเตอร์บุคคลเครื่องใด ๆ โดยที่ไม่ได้เชื่อมโยงกับเครื่องอื่น ๆ และเครื่องอื่น ๆ ไม่สามารถ เรียกดู ข้อมูลเนื้อหาได้ 2. ชนิด Online หมายถึง สื่อ E-learning แบบเปิด ที่สามารถแสดงผลได้โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีระบบใกล้เคียงกันโดยมีการเชื่อมโยงเป็นเครือข่าย ร่วมกัน ซึ่งอาจเป็นระบบเครือข่ายภายใน (LAN) หรือระบบอินเตอร์เน็ต ก็ได้
  • 19. LMS เป็นระบบจัดการเรียนการสอน Online เป็นซอฟต์แวร์เพื่อการบริหารจัดการ เรียนการสอนผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ระบบดังกล่าวมักจะประกอบไปด้วยเครื่องมืออานวยความ สะดวกให้แก่ ผู้สอน ผู้เรียน และผู้ดูแลระบบ ผู้สอนสามารถนาเนื้อหาและสื่อการสอนขึ้นเว็บไซด์ รายวิชาตามที่ได้ขอให้ระบบจัดไว้ให้โดยสะดวก ผู้เรียนเข้าถึงเนื้อหา กิจกรรมต่าง ๆ ได้โดยผ่านเว็บ ผู้สอนและผู้เรียนติดต่อสื่อสารกันได้ผ่านทางเครื่องมือการสื่อสารที่ระบบจัดไว้ให้ นอกจากนั้นแล้ว ยังมีองค์ประกอบที่สาคัญคือการเก็บบันทึกข้อมูล กิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนไว้บนระบบ เพื่อ ผู้สอนสามารถนาไปวิเคราะห์เพื่อติดตามและ ประเมินผลการเรียนการสอนในรายวิชานั้นได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบจัดการบทเรียน (Learning Management System: LMS)
  • 20. ดังนั้น เราจะพบว่า ระบบจัดการบทเรียนจะทาหน้าที่เหมือนกับโรงเรียนแห่งหนึ่งที่ ประกอบไปด้วยระบบจัดการด้านต่าง ๆ ที่สาคัญอยู่ 3 ระบบ คือ 1. ระบบจัดการหลักสูตร เป็นส่วนของการจัดการเกี่ยวกับระบบการเรียนการสอน ซึ่งเป็น หน้าที่ของครูผู้สอน ที่จะเป็นผู้จัดทา ระบบจัดการหลักสูตรถือเป็นหัวใจสาคัญของ E-learning โดย ประกอบไปด้วยระบบย่อย ๆ 2 ระบบ คือ 1.1 ระบบจัดการบทเรียน เป็นระบบการจัดทาบทเรียนโดยการศึกษา วิเคราะห์เนื้อหาจาก หลักสูตรแล้ว กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ จัดทาสื่อ จัดหาแหล่งข้อมูล แหล่งเรียนรู้ที่สาคัญและจาเป็น รวมถึงการตกแต่งหน้า Web Pages ให้จูงใจในการเรียน 1.2 ระบบการวัดและประเมินการเรียนรู้ เป็นระบบการจัดทาแบบฝึกหัด แบบทดสอบ สาหรับผู้เรียน เพื่อฝึกทักษะ ความสามารถในการคิด รวมถึงเป็นการวัดความรู้ ความคิดผู้เรียนที่ได้ เรียนรู้จากบทเรียน เป็นการประเมินศักยภาพในการเรียนรู้ของผู้เรียน และผู้เรียนจะทราบผลการ ทดสอบทันทีหลังจากสอบเสร็จ หรืออาจมีการเฉลยคาตอบ หรือวิธีการอื่น ๆ แล้วแต่การออกแบบ ระบบของผู้สอน
  • 21. 2. ระบบส่งเสริมการเรียนรู้ เป็นระบบช่วยเหลือในการจัดทาบทเรียนของครูผู้สอน และ ช่วยในการเรียนรู้ของผู้เรียน ประกอบด้วยโปรแกรมจัดทาบทเรียน ที่ครูผู้สอนสามารถบรรจุข้อมูล เนื้อหา คาสั่งกิจกรรม และข้อมูลอื่น ๆ ลงในระบบได้โดยง่าย รวมถึงการใส่ภาพประกอบ ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ หรือไฟล์ข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งผู้เรียนก็สามารถสร้างเนื้อหาตามที่ครูผู้สอนกาหนด กิจกรรมไว้ได้ด้วยวิธีการเดียวกันกับครูผู้สอน นอกจากนี้ ระบบส่งเสริมการเรียนรู้ยังมีระบบการ ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนได้แก่ กระดานข่าว (Web board) กระดานสนทนา (Chat) จดหมายอิเลคทรอนิกส์ (e-mail) และ/หรือ การติดต่อผ่านกล้องวิดีโอ (Web cam) ในกรณีที่ใช้ เครือข่ายสัญญาณความเร็วสูง
  • 22. 3. ระบบจัดการข้อมูล เป็นระบบจัดการด้านฐานข้อมูล ซึ่งจะเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ของครูผู้สอน ข้อมูลของผู้เรียน สถิติต่าง ๆ เช่น สถิติการเข้ามาเรียน วันที่ เวลา ระยะเวลา ข้อมูล ส่วนตัว รหัสผ่าน สถิติการทาแบบฝึกหัด แบบทดสอบ คะแนนที่ได้ ฯลฯ
  • 23. E-learning ต้องอาศัยการดาเนินการอย่างเป็นระบบ เนื่องจากมีความเกี่ยวข้องกันหลายฝ่าย จากแผนภูมิด้านบน จะพบว่า การจัดระบบ E-learning นั้น อย่างน้อยที่สุดควรประกอบไปด้วย ส่วนประกอบที่สาคัญ 7 ส่วน คือ 1. กระบวนการเรียนรู้ ประกอบด้วย การวิเคราะห์หลักสูตร กาหนดผลการเรียนรู้หรือ จุดประสงค์ กาหนดเนื้อหา กาหนดกิจกรรม และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 2. ระบบเครือข่าย ประกอบด้วยการวางระบบเครือข่ายภายใน (Intranet) และระบบเครือข่าย ภายนอก (Internet) ให้เชื่อมโยงทั่วถึงกัน 3. สื่อการเรียนรู้ ประกอบด้วยสื่อการเรียนชนิดต่าง ๆ ดังที่กล่าวมาแล้ว การจัดการเรียนรู้ E-learning
  • 24. 4. การติดต่อสื่อสาร ประกอบด้วยวิธีการติดต่อสื่อสารแบบต่าง ๆ ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน 5. บุคลากร ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ดูแลระบบ ผู้พัฒนาโปรแกรม ครูผู้สอน และช่างเทคนิค หรืออาจรวมถึงผู้เชี่ยวชาญในสาขาอื่น ๆ ร่วมด้วย 6. ผู้เรียน จะต้องมีความพร้อมที่จะเรียนรู้ผ่านระบบเครือข่าย 7. แหล่งเรียนรู้ ซึ่งครูผู้สอนจะต้องศึกษา จัดหา เตรียมไว้สาหรับผู้เรียนให้สามารถศึกษา สืบค้น ได้โดยสะดวก เหมาะสม และพอเพียง
  • 25. การจัดการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายออนไลน์ มีขั้นตอนการดาเนินการ ดังต่อไปนี้ 1. การออกแบบและจัดทาบทเรียน E-learning ถือเป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุด เรียกได้ว่า เป็น "หัวใจ" ของการเรียนการสอนเลยทีเดียว เพราะบทเรียนที่มีคุณภาพสูงจะสามารถพัฒนา ผู้เรียนให้เกิด การเรียนรู้ได้ดีเท่า ๆ กับหรือมากกว่าการเรียนการสอนในชั้นเรียน ขั้นตอนนี้มี วิธีการดาเนินการดังนี้ 1.1 การออกแบบบทเรียน (Courseware) เริ่มจากการศึกษา วิเคราะห์หลักสูตรที่ใช้อยู่ ในปัจจุบัน ศึกษาสภาพความพร้อมของผู้เรียน เวลาที่ใช้ในการเรียน โอกาสในการเรียนของ ผู้เรียน จากนั้น จากนั้น วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง คัดเลือกเนื้อหา กาหนดเนื้อหาออกเป็นหน่วยการ เรียน กาหนด จุดประสงค์การเรียนรู้แต่ละหน่วย ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละหน่วย สื่อการ เรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ที่สาคัญและจาเป็น กาหนดวิธีการวัดและประเมินกิจกรรมของแต่ละ หน่วยการเรียน กระบวนการจัดการเรียนการสอน E-learning แบบออนไลน์
  • 26. 1.2 การจัดทาบทเรียน โดยการกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยให้สอดคล้อง กับจุดประสงค์การเรียนรู้ และเนื้อหาที่กาหนดไว้ จัดทาสื่อการสอนในรูปแบบต่างๆ ที่เหมาะสมต่อ การเรียนรู้และน่าสนใจ จัดสร้างเครื่องมือในการวัดและประเมินผลกิจกรรมหรือผลงานที่กาหนดใน บทเรียน กาหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผลให้ชัดเจน เหมาะสม สอดคล้องกับเนื้อหาและ กิจกรรม การใช้ข้อความ รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ใด ๆ ในบทเรียน ต้องคานึงถึงความถูกต้อง สมบูรณ์ ละเอียดชัดเจนในตัวเอง เนื่องจาก E-learning ถือเป็นการจัดการเรียนการสอนทางไกลที่ ผู้เรียนและผู้สอนอาจไม่มีโอกาสพบปะกัน ดังนั้น การจัดทาบทเรียนจึงต้องคานึงถึงคุณภาพให้มาก 1.3 การบรรจุบทเรียนลงในระบบ หลังจากที่จัดทาบทเรียนเสร็จเรียบร้อยครบถ้วนแล้ว ก็ บรรจุบทเรียนลงในระบบ หรือครูผู้สอนอาจจัดทาบทเรียนลงในตัวระบบเลยก็ได้ ซึ่งทางระบบ ส่งเสริมการเรียนรู้ได้จัดเตรียมไว้ให้พร้อมแล้ว หากมีรูปแบบข้อมูลทางอิเลคทรอนิกส์แบบอื่น ประกอบในบทเรียนด้วย จะต้องมีการ Upload file ดังกล่าวเข้าไปด้วย ซึ่งจะทาให้ตัวบทเรียนมีความ น่าสนใจมากขึ้น หลังจากที่ได้บรรจุบทเรียนเข้าในระบบแล้วควรมีการทดสอบการใช้งานของ บทเรียน โดยการทดลองเข้าดูเนื้อหาหลายๆ ครั้งเพื่อให้เกิดความมั่นใจมากขึ้นว่าบทเรียนมีความ สมบูรณ์พร้อมแล้ว
  • 27. 2. การจัดการเรียนรู้ เป็นขั้นตอนของการนาบทเรียนไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ 2.1 การนาเสนอบทเรียน เป็นการนาเสนอข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบทเรียน หรือเรียกว่า เป็นส่วนแนะนาบทเรียน โดยนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับ คาอธิบายรายวิชา ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชา จุดประสงค์ของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ วิธีการเรียน เงื่อนไขการเรียน การนัดหมาย การส่ง งาน ช่วงเวลาที่มีการทดสอบ ฯลฯ เพื่อให้ผู้เรียนได้รู้จักและเข้าใจถึงวิธีการใช้บทเรียน ทาให้การเข้า ใช้บทเรียนมีประสิทธิ-ภาพในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนมากขึ้น จากนั้นให้ผู้เรียนสมัครเข้าเรียน 2.2 การรับสมัครและอนุมัติสิทธิ์ผู้เรียน หลังจากที่ผู้เรียนสมัครเข้าเรียน และเลือก รายวิชาที่ต้องการเรียนแล้ว ครูผู้สอนจะทาการอนุมัติสิทธิ์ในการเรียนของผู้เรียนที่อยู่ในเงื่อนไขที่ ครูผู้สอนกาหนด 2.3 การติดต่อสื่อสาร ติดตามการเรียน ในระหว่างเรียนครูผู้สอนอาจนัดหมายเวลาพบปะ เพื่อให้ผู้เรียนได้ปรึกษาปัญหา พบปะ พูดคุย แสดงความคิดเห็นต่อการเรียน
  • 28. 3. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นส่วนสาคัญอีกส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการ เรียนรู้ ซึ่งหลังจากที่ผู้เรียนเรียนรู้แล้วต้องมีการประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนเพื่อนาผลมาพิจารณา ว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือไม่ มากน้อยอย่างไร การวัดผลการเรียนรู้สามารถกระทาได้ ดังนี้ 3.1 การจัดทาแบบทดสอบ โดยการทาแบบทดสอบออนไลน์ ที่ครูผู้สอนจัดทาไว้ใน ระบบ ซึ่งมีวิธีการให้ครูผู้สอนสามารถจัดทาได้ในหลาย ๆ รูปแบบ ขึ้นอยู่กับลักษณะของเนื้อหา ความรู้ที่ต้องการวัด การทดสอบอาจทาซ้าได้หลาย ๆ ครั้ง หรือให้ทาเพียงครั้งเดียวก็ได้ และเมื่อทา แบบทดสอบเสร็จสิ้น ทางระบบจะทาการประเมินผลการสอบให้ผู้เรียนทราบทันที หรืออาจปรับ ระบบให้ผู้เรียนทราบในภายหลังก็ได้ 3.2 การประเมินผลการเรียนรู้ เป็นการประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านความรู้ ความคิด ด้านทักษะ ด้านเจตคติ โดยพิจารณาจากข้อมูลที่รวบรวมไว้ ทั้งจากผลงานที่ ผู้เรียนจัดทาและส่งให้ประเมินตามที่ผู้สอนกาหนด การทาแบบฝึกหัด แบบทดสอบ รวมถึงการ พิจารณาการเข้าเรียน การส่งงาน ความรับผิดชอบ การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนหรือผู้เรียนคนอื่น ๆ หรือคุณลักษณะอื่น ๆ ตามที่ได้กาหนดไว้ในบทเรียน ครูผู้สอนจะต้องรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เหล่านี้ เพื่อทาการประเมินการเรียนรู้เป็น รายบุคคล
  • 29. 3.3 การอนุมัติผลการเรียน หลังจากประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนเรียบร้อยแล้ว ก็แจ้งผล การประเมินการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทราบตามระดับ หรือเกณฑ์คุณภาพที่กาหนด ผู้เรียนที่ไม่ผ่านการ ประเมินอาจมีการซ่อมเสริมในบางเนื้อหา ผลการเรียนสามารถแจ้งไปยังผู้เรียนทราบได้โดยตรงเป็น ลายลักษณ์อักษรทางไปรษณีย์ เพื่อเป็นหลักฐานให้ผู้เรียนเก็บรวบรวมไว้ใช้ในการประเมินอย่างอื่น ๆ ต่อไป การอนุมัติผลการเรียน จะกระทาในกรณีที่มีการจัดการเรียนการสอนตลอดทั้งรายวิชา สาหรับรายวิชาที่มีการเรียนการสอนออนไลน์เป็นบางบทเรียน หรือบางเนื้อหา ก็อาจรวบรวมผลการ เรียนรู้ที่ได้รวมกับผลการเรียนการสอนปกติก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับนโยบายและเงื่อนไขการจัดการเรียนรู้ E-learning ของสถานศึกษาแต่ละแห่ง
  • 30. 4. การรวบรวมข้อมูลเพื่อการประเมิน ปรับปรุง และพัฒนาบทเรียน เป็นส่วนของการ พัฒนาบทเรียนออนไลน์แบบครบวงจร บทเรียนที่มีการออกแบบ จัดทา และนาไปใช้แล้ว ควรที่จะ ได้นาผลการใช้และเก็บรวบรวมข้อมูลการใช้จากผู้เรียนมาวิเคราะห์เพื่อแก้ไข ปรับปรุง พัฒนา บทเรียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป ข้อมูลที่เป็นผลการเรียนรู้ของผู้เรียนจะนามาประเมิน ประสิทธิผลของบทเรียน ส่วนในด้านประสิทธิภาพ อาจใช้แบบสอบถามจากผู้เรียนหรือสุ่มตัวอย่าง สัมภาษณ์ผู้เรียนก็ได้ นอกจากครูผู้สอน และผู้เรียนแล้วบุคลากรที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ก็สามารถให้ข้อมูล เพื่อประเมินถึงประสิทธิภาพของบทเรียนได้ เช่นกัน บุคลากรอื่น ๆ ที่ควรเก็บข้อมูลมาศึกษาร่วม ด้วยได้แก่ ผู้ดูแลระบบ ผู้พัฒนาโปรแกรม และ ผู้ปกครองนักเรียน เป็นต้น
  • 31. ปัจจุบันมีบทเรียน E-learning อยู่จานวนมากที่ครูผู้สอน หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งของรัฐ และเอกชน พัฒนาขึ้นก่อนอื่นต้องเข้าใจว่า "ไม่มีบทเรียนใดที่ดีที่สุด ไม่มีบทเรียนใดที่ใช้สอนได้ทุกอย่าง ทุกเรื่อง ทุกที่ ทุกครั้ง ไม่มีบทเรียนใดที่ตอบสนองการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ทุกคน บทเรียนที่ดีที่สุด คือ บทเรียนที่สามารถพัฒนาผู้เรียนได้ตรงตามจุดมุ่งหมายที่กาหนด" ดังนั้น การสร้างบทเรียนจึงต้องยึด เอาจุดมุ่งหมาย (Goals) หรือ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (Outcomes) หรือ จุดประสงค์การเรียนรู้ (Objectives) เป็นหลัก การประเมินประสิทธิภาพของบทเรียน E-learning การประเมินประสิทธิภาพของบทเรียน E-learning
  • 32. สมาชิก นางสาวกนกวรรณ แย้มวิเศษ รหัส 551116050 นางสาวภาวินี กันธง รหัส 551116055 นางสาวอตินาถ แก่นเมือง รหัส 551116059 นางสาวนฤมล สารอินมูล รหัส 551116079 นางสาวพรพรรณ เผ่าดี รหัส 551116067 นางสาวณัฐสุดา สิทธิ รหัส 551116068 นางสาวรัตนาภรณ์ แช่มจู รหัส 551116069 นางสาววรรณิศา อยู่อินทร์ รหัส 551116080 นางสาวพรวิมล เหล็กศรีสืบ รหัส 551116089 นางสาวอริสรา จันต๊ะภา รหัส 531144019