SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
1


      สรุ ปผลการศึกษาข้ อมูลวิชาการและการชี้แจงทาความเข้ าใจ/รับฟังความคิดเห็นกับผู้ทเี่ กียวข้ อง
                                                                                           ่
                            เรื่อง ประสิ ทธิผลและความคุ้มค่ าของยากลูโคซามีน


                                                                          คณะทางานวิชาการทางการแพทย์
                                      ภายใต้อนุกรรมการพัฒนามาตรฐานการรักษาพยาบาลและการจ่ายเงิน


ความเป็ นมา
        กลูโคซามีน (Glucosamine) ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็ นยาในประเทศไทยรวมทั้งสิ้ น 95 ตารับ พบว่า
มีการใช้อย่างกว้างขวางโดยเฉพาะในผูป่วยระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ผลิตภัณฑ์กลูโคซามีน
                                  ้
ที่ผผลิตมักกล่าวอ้างว่ามีประสิ ทธิ ผลในการรักษาข้อเสื่ อม คือ กลูโคซามีนซัลเฟตในรู ปของ crystalline form
    ู้
โดยมีขอบ่งใช้ที่ได้ข้ ึนทะเบียนยาว่า ใช้ในการรักษาโรคข้อเสื่ อมทุกชนิ ด บรรเทาอาการปวดของโรคข้อ
      ้
กระดูกเสื่ อมทุกชนิด ทั้งที่เป็ นแบบปฐมภูมิและทุติยภูมิ ในระยะเริ่ มแรกและเรื้ อรัง
        ข้อมูลจากการสารวจสถานการณ์การสั่งใช้ยาและมาตรการควบคุมกากับการใช้ยาของโรงพยาบาล
ขนาดใหญ่ที่เป็ นผูให้บริ การรายใหญ่ของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ จานวน 31 แห่ง ในช่วง
                  ้
10 เดือนแรกของปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 พบว่ามีการเบิกจ่ายค่ายากลูโคซามีน คิดเป็ นมูลค่าสู งถึง
440,812,277 ล้านบาท ซึ่ งส่ งผลทาให้เกิดคาถามว่ามีการใช้ยาดังกล่าวฟุ่ มเฟื อยและขาดความคุมค่าหรื อไม่
                                                                                         ้
ต่อมาจึงได้มีการศึกษาข้อมูลวิชาการเพิ่มเติมแล้วได้ขอสรุ ปเบื้องต้นว่า
                                                   ้                             ขณะนี้ยงไม่มีหลักฐานทาง
                                                                                        ั
วิทยาศาสตร์ ที่สนับสนุนว่ายากลูโคซามีนสามารถรักษาโรคข้อเสื่ อมได้อย่างมีประสิ ทธิ ผล
        คณะอนุกรรมการพัฒนามาตรฐานการรักษาพยาบาลและการจ่ายเงิน ภายใต้คณะกรรมการบริ หาร
ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ได้มีมติในการประชุม ครั้งที่ 2/2553 เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2553
เห็นชอบกับข้อเสนอมาตรการระยะสั้นเพื่อควบคุมค่าใช้จ่ายด้านยาของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาล
ข้าราชการ ที่จะกาหนดให้ยากลูโคซามีนทุกรู ปแบบ ทั้งชนิดผงบรรจุซองและชนิดแคปซูล เป็ นรายการยาที่
ห้ามเบิกจ่าย (Negative drug lists) จากระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ เนื่องจากไม่มีหลักฐานทาง
วิทยาศาสตร์ ที่เป็ นที่ยอมรับทัวไปว่าสามารถรักษาโรคข้อเสื่ อมได้อย่างมีประสิ ทธิ ผล
                               ่                                                           และให้แต่งตั้ง
คณะทางานวิชาการทางการแพทย์               ภายใต้อนุคณะกรรมการพัฒนามาตรฐานการรักษาพยาบาลและการ
จ่ายเงิน เพื่อให้ศึกษาข้อมูลวิชาการเพิ่มเติมและจัดกระบวนการรับฟังความคิดเห็นและชี้แจงทาความเข้าใจ
กับผูที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน
     ้                             ก่อนที่จะนาเสนอต่อคณะกรรมการบริ หารระบบสวัสดิการรักษาพยาบาล
2


ข้าราชการพิจารณาต่อไป (เอกสารคาสั่งแต่ งตั้งคณะทางานวิชาการทางการแพทย์ ฯ และรายงานการประชุ ม
ครั้ งที่ 1 วันที่ 23 กรกฎาคม 2553 ตามเอกสารหมายเลข 1.)


วิธีดาเนินการ
        ในการนี้ เพื่อให้กระบวนการทางานของคณะทางานวิชาการทางการแพทย์ ภายใต้อนุ กรรมการฯ มี
                     ่
ความโปร่ งใสและวางอยูบนหลักฐานทางวิชาการที่มีความน่าเชื่อถือ          และมีการชี้แจงทาความเข้าใจกับ
องค์กรวิชาชีพและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน           ก่อนที่จะสรุ ปผลการดาเนินงานตามที่ได้รับ
มอบหมายต่อประธานคณะอนุกรรมการฯ เพื่อให้พิจารณานาเสนอต่อคณะกรรมการบริ หารระบบสวัสดิการ
รักษาพยาบาลข้าราชการต่อไปนั้น คณะทางานวิชาการทางการแพทย์ฯ จึงได้กาหนดกรอบวิธีการดาเนินการ
แบ่งเป็ น 2 ขั้นตอนหลัก คือ ขั้นตอนการศึกษาทบทวนข้อมูลวิชาการเพิ่มเติม และขั้นตอนการชี้ แจงทาความ
เข้าใจและรับฟังความคิดเห็นจากผูที่เกี่ยวข้อง โดยมีกระบวนการทางานและได้ขอสรุ ป ดังต่อไปนี้
                               ้                                       ้
        1) การศึกษาข้อมูลวิชาการเพิ่มเติม คณะทางานวิชาการทางการแพทย์ฯมอบหมายคณะทางานย่อย
โดยมี ผศ.ดร.พิสนธ์ จงตระกูล เป็ นนักวิชาการหลัก ให้ดาเนินการสื บค้นและรวบรวมเอกสารงานวิจย
                                                                                        ั
เกี่ยวกับประสิ ทธิ ผลและความคุมค่าของยากลูโคซามีนจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
                              ้
ทัวโลก และได้เอกสารงานวิจยดังกล่าว จานวนกว่า 126 บทความ หลังจากนั้นจึงพิจารณาคัดเลือกเฉพาะ
  ่                      ั
เอกสารงานวิจยที่มีคุณภาพ ซึ่งมีจานวนรวม 24 บทความ แล้วนาเอกสารงานวิจยที่ได้มาศึกษาทบทวนอย่าง
            ั                                                       ั
เป็ นระบบ โดยมีประเด็นคาถามหลักในการศึกษาทบทวน ดังนี้คือ
     กลูโคซามีนมีประสิ ทธิผลในการรักษาโรคข้อเสื่ อม บรรเทาอาการปวดและชะลอข้อเสื่ อมได้ตามที่
        ระบุในการขึ้นทะเบียนยาหรื อไม่
     กลูโคซามีนมีความคุมค่าในการใช้ในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลหรื อไม่
                        ้
     นโยบายของระบบประกันสุ ขภาพในต่างประเทศที่มีต่อกลูโคซามีนเป็ นอย่างไร
        และข้อสรุ ปที่ได้จากศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับประสิ ทธิ ผลและความคุมค่าของยากลูโคซามีน พบว่า
                                                                        ้
ข้อมูลที่ได้จากเอกสารงานวิจยที่มีคุณภาพให้ขอสรุ ปไปในทิศทางเดียวกันว่า กลูโคซามีนไม่มีประสิ ทธิ ผล
                           ั               ้
ในการรักษาข้อเสื่ อม หรื อมีประสิ ทธิ ผลแตกต่างจากยาหลอกอย่างไม่มีนยสาคัญทางสถิติ ขณะเดียวกัน
                                                                   ั
ระบบประกันสุ ขภาพของประเทศร่ ารวยหลายประเทศ ซึ่ งมีความสามารถในการจ่ายสู งกว่าประเทศไทยมาก
ต่างเห็นตรงกันว่าผลิตภัณฑ์น้ ีไม่มีความคุมค่ากับการเบิกจ่ายจากระบบประกันสุ ขภาพของรัฐ
                                         ้                                                  จึงไม่ได้
           ่
กาหนดให้อยูในชุ ดสิ ทธิ ประโยชน์ของระบบประกันสุ ขภาพของรัฐ (รายชื่ อเอกสารรายงานการวิจัย และ
3


ข้ อสรุ ปการศึกษาประสิ ทธิ ผลและความคุ้มค่ าของยากลูโคซามีนของคณะทางานวิชาการทางการแพทย์ ฯ
ตามเอกสารหมายเลข 2.)
        2) การชี้แจงทาความเข้าใจและรับฟังความคิดเห็นจากผูที่เกี่ยวข้อง คณะทางานวิชาการทาง
                                                         ้
การแพทย์          จึงได้ส่งข้อสรุ ปการศึกษาประสิ ทธิ ผลและความคุมค่าของยากลูโคซามีนไปให้ราชวิทยาลัย
                                                                ้
มูลนิธิ สมาคมและตัวแทนบริ ษทยาที่เกี่ยวข้องกับยากลูโคซามีน เพื่อขอให้หน่วยงานดังกล่าวพิจารณาและ
                           ั
ขอให้เสนอข้อมูลวิชาการด้านประสิ ทธิ ผลและความคุมค่า
                                               ้                กรณี ที่มีความเห็นขัดแย้งกับข้อสรุ ปของ
คณะทางานวิชาการทางการแพทย์ฯ เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2553 โดยกาหนดให้ส่งข้อมูลวิชาการดังกล่าวกลับ
ภายในวันที่ 27 กันยายน 2553 และปรากฎว่ามีหน่วยงานที่ส่งหนังสื อตอบกลับพร้อมเอกสารวิชาการภายใน
ระยะเวลาที่กาหนด จานวน 3 แห่ง คือ ราชวิทยาลัยแพทย์ออร์ โธปิ ดิกส์แห่งประเทศไทย ราชวิทยาลัยแพทย์
เวชศาสตร์ ฟ้ื นฟูแห่งประเทศไทย และสมาคมรู มาติสซัมแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ โดยมีสรุ ปผลการตอบรับ
                                                 ่
จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนี้


                       หน่วยงาน                                           การตอบรับ
1.ราชวิทยาลัยแพทย์ออร์ โธปิ ดิกส์แห่งประเทศไทย         มีหนังสื อตอบกลับพร้อมเอกสารวิชาการ
2.ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ ฟ้ื นฟูแห่งประเทศไทย       มีหนังสื อตอบกลับพร้อมเอกสารวิชาการ
3.สมาคมรู มาติสซัมแห่งประเทศไทย
                 ่                                     มีหนังสื อตอบกลับพร้อมเอกสารวิชาการ
4.มูลนิธิโรคข้อ                                        มีหนังสื อตอบกลับ(ไม่มีเอกสารวิชาการแนบ)
5.มูลนิธิโรคกระดูกพรุ นแห่งประเทศไทย                   มีหนังสื อตอบกลับ (แจ้งว่าไม่มีความเห็นเรื่ องนี้)
6.ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่ งประเทศไทย                  ไม่มีหนังสื อตอบกลับ
7.เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา                ไม่มีหนังสื อตอบกลับ
8.สมาคมผูวจยและผลิตเภสัชภัณฑ์ (PReMA)
         ้ิั                                           ไม่มีหนังสื อตอบกลับ
9.สมาคมไทยอุตสาหกรรมผลิตยาแผนปัจจุบน(TPMA) ไม่มีหนังสื อตอบกลับ
                                   ั
และหน่วยงานที่ได้ตอบกลับมีความเห็นว่า ยากลูโคซามีนมีประสิ ทธิ ผลในการรักษาโรคข้อเสื่ อม
 (เอกสารสาเนาหนังสื อแจ้ งขอให้ เสนอข้ อมูลวิชาการด้ านประสิ ทธิ ผลและความคุ้มค่ าของยากลูโคซามีน
ของคณะทางานวิชาการทางการแพทย์ ฯ และสาเนาหนังสื อตอบกลับจากหน่ วยงานที่เกี่ยวข้ อง ตามเอกสาร
หมายเลข 3.)
4


        3) การพิจารณาประเด็นความคิดเห็นและเอกสารวิชาการของ 3 หน่วยงาน ที่มีหนังสื อตอบกลับ
มาพร้อมกับเอกสารวิชาการ ก่อนจะมีการพิจารณาประเด็นความเห็นของหน่วยงาน ทางคณะทางานย่อยได้
ทาการตรวจสอบและคัดกรองเอกสารวิชาการที่หน่วยงานเสนอมาว่า              หลักฐานวิชาการประกอบมีความ
น่าเชื่อถือ ตามคุณสมบัติที่กาหนดในหนังสื อที่แจ้งไปหรื อไม่ ซึ่ งคณะทางานวิชาการทางการแพทย์ฯ ได้แจ้ง
คุณสมบัติหลักฐานวิชาการที่มีความน่าเชื่ อถือและมีเอกสารประกอบ ดังต่อไปนี้
    (1) บทสรุ ปสาระสาคัญในประเด็นข้อขัดแย้งกับข้อสรุ ปการศึกษาของคณะทางานวิชาการทาง
        การแพทย์ฯ โดยขอให้ระบุเลขหน้าและหมายเลขบรรทัดที่มีขอมูลขัดแย้ง มีความยาวไม่เกิน 5
                                                           ้
        หน้ากระดาษ A4
    (2) หลักฐานวิชาการประกอบ (ฉบับสมบูรณ์) ซึ่งอ้างอิงในเอกสาร ข้อ (1) โดยขอให้มีการเรี ยงลาดับ
        ความสาคัญของเอกสารที่จดส่ ง โดยหลักฐานวิชาการประกอบจะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ คือ
                              ั
        a. Randomized control clinical trial หรื อ systematic review และ meta-analysis ของการวิจยทาง
                                                                                                ั
              คลินิกที่ตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์ท้ งในและต่างประเทศ
                                                    ั                     หรื อรายงานผลการวิจยฉบับ
                                                                                             ั
              เต็มที่สามารถตรวจสอบความถูกต้องของระเบียบวิธีวจยและข้อมูลเชิงลึกได้
                                                            ิั
        b. การประเมินความคุมค่า (health economics evaluation) ที่ตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์ท้ งใน
                           ้                                                                  ั
              และต่างประเทศ หรื อรายงานผลการวิจยฉบับเต็มที่สามารถตรวจสอบความถูกต้องของระเบียบ
                                               ั
              วิธีวจยและข้อมูลเชิงลึกได้
                   ิั
        c. ข้อกาหนด (National guideline) การใช้ยากลูโคซามีน โดยองค์กรที่เกี่ยวข้องกับระบบประกัน
              สุ ขภาพของรัฐที่ไม่แสวงหากาไร
        ซึ่ งคณะทางานย่อยเห็นว่าหลักฐานทางวิชาการอ้างอิงที่ส่งมาให้พิจารณาไม่มีน้ าหนักเพียงพอ และ
แนวทางเวชปฏิบติที่อางถึงก็ไม่ได้มาจากองค์กรของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลในระบบ
             ั ้
ประกันสุ ขภาพของประเทศนั้นๆ โดยตรง
(เอกสารสรุ ปสาระสาคัญของประเด็นความเห็นที่ขดแย้ งและรายการเอกสารวิชาการที่ หน่ วยงานแนบมา
                                           ั
ตามเอกสารแนบ หมายเลข 4.)


ข้ อพิจารณา
        คณะทางานวิชาการทางการแพทย์ฯ           ได้พิจารณาประเด็นความเห็นที่ขดแย้งและเอกสารวิชาการที่
                                                                           ั
หน่วยงานแนบมาทั้งหมดแล้ว          และหลังจากได้ทาการศึกษาทบทวนข้อมูลวิชาการและรับฟังความคิดเห็น
จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแล้ว มีขอสรุ ปผลการพิจารณา ดังนี้
                                ้
5


           (1) มีหลักฐานทางวิชาการที่มีคุณภาพน่าเชื่ อถือจานวนมากเพียงพอที่จะสนับสนุนข้อสรุ ปว่า
กลูโคซามีนไม่มีประสิ ทธิ ผลในการรักษาโรคข้อเสื่ อม บรรเทาอาการปวดและชะลอข้อเสื่ อมได้ตามที่ระบุ
ในการขึ้นทะเบียนยา และไม่มีความคุมค่ากับการเบิกจ่ายจากระบบประกันสุ ขภาพของรัฐและไม่สมควรที่
                                 ้
     ่
จะอยูในชุดสิ ทธิประโยชน์ของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการซึ่งเป็ นของรัฐ
           (2) ประเด็นข้อโต้แย้งและข้อมูลวิชาการที่หน่วยงานส่ งมาให้คณะทางานวิชาการทางการแพทย์
พิจารณานั้น มีจานวนน้อย ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ตามเกณฑ์ที่กาหนด และไม่มีน้ าหนักเพียงพอทางวิชาการที่
จะหักล้างและมีผลทาให้เปลี่ยนแปลงข้อสรุ ปการศึกษาประสิ ทธิ ผลและความคุมค่าของยากลูโคซามีนของ
                                                                     ้
คณะทางานวิชาการทางการแพทย์ฯ ได้


ข้ อเสนอ
           คณะทางานวิชาการทางการแพทย์ฯ จึงเห็นสมควรเสนอให้ยากลูโคซามีนทุกรู ปแบบ ทั้งชนิดผง
บรรจุซองและชนิดแคปซูล              เป็ นรายการยาที่หามเบิกจ่ายจากระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ
                                                    ้
เนื่องจากมีหลักฐานทางวิชาการที่มีคุณภาพน่าเชื่อถือและมีน้ าหนักเพียงพอที่สนับสนุ นข้อสรุ ปของ
คณะทางานวิชาการทางการแพทย์ฯว่า ยากลูโคซามีนไม่มีประสิ ทธิ ผลและความคุมค่าในการรักษาโรคข้อ
                                                                     ้
เสื่ อมได้ตามข้อบ่งใช้ที่ระบุไว้ในการขึ้นทะเบียนยา                       ่
                                                      จึงไม่สมควรที่จะอยูในชุดสิ ทธิ ประโยชน์ของระบบ
สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ซึ่ งใช้จ่ายจากเงินงบประมาณของรัฐ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์Tanchanok Pps
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547dentyomaraj
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างSuradet Sriangkoon
 
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยา
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยาปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยา
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยาUtai Sukviwatsirikul
 
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาamy69
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาDMS Library
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
อาชีพเภสัชกร
อาชีพเภสัชกร  อาชีพเภสัชกร
อาชีพเภสัชกร ikanok
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ Utai Sukviwatsirikul
 
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Vorawut Wongumpornpinit
 
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกเภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกpitsanu duangkartok
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552tanong2516
 
National policy and guidelines for human research 2015
National policy and guidelines for human research 2015National policy and guidelines for human research 2015
National policy and guidelines for human research 2015Vorawut Wongumpornpinit
 
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Vorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...Vorawut Wongumpornpinit
 

Mais procurados (20)

นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์นักเทคนิคการแพทย์
นักเทคนิคการแพทย์
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
33 37
33 3733 37
33 37
 
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยา
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยาปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยา
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการเข้าร่วมพัฒนา “ร้านยาคุณภาพ” ของร้านยา
 
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
อาชีพเภสัชกร
อาชีพเภสัชกร  อาชีพเภสัชกร
อาชีพเภสัชกร
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
 
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
 
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกเภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
 
Rational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital ManualRational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital Manual
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
 
National policy and guidelines for human research 2015
National policy and guidelines for human research 2015National policy and guidelines for human research 2015
National policy and guidelines for human research 2015
 
K kn การประชุมmt_nhso
K kn การประชุมmt_nhsoK kn การประชุมmt_nhso
K kn การประชุมmt_nhso
 
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
 
Best Practice in Communication
Best Practice in CommunicationBest Practice in Communication
Best Practice in Communication
 
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
 

Semelhante a 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised

หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfpraphan khunti
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Wila Khongcheema
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1taem
 
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลอนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลUtai Sukviwatsirikul
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)tanong2516
 
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)kamolwantnok
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Utai Sukviwatsirikul
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 

Semelhante a 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised (20)

หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลอนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
 
Simenar Project
Simenar ProjectSimenar Project
Simenar Project
 
Piyapan
PiyapanPiyapan
Piyapan
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 

Mais de Nithimar Or

Ponetong hospital3
Ponetong hospital3Ponetong hospital3
Ponetong hospital3Nithimar Or
 
Ponetong hospital2
Ponetong hospital2Ponetong hospital2
Ponetong hospital2Nithimar Or
 
Ponetong hospital1
Ponetong hospital1Ponetong hospital1
Ponetong hospital1Nithimar Or
 
Salapoom hospital
Salapoom hospitalSalapoom hospital
Salapoom hospitalNithimar Or
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health PonetongNithimar Or
 
Special dentistry
Special dentistrySpecial dentistry
Special dentistryNithimar Or
 
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copyการฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ CopyNithimar Or
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55Nithimar Or
 
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงานรายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงานNithimar Or
 

Mais de Nithimar Or (20)

Ummoua1
Ummoua1Ummoua1
Ummoua1
 
Ummoua2
Ummoua2Ummoua2
Ummoua2
 
Ummoua3
Ummoua3Ummoua3
Ummoua3
 
Ll101
Ll101Ll101
Ll101
 
Ummoa101
Ummoa101Ummoa101
Ummoa101
 
Ponetong hospital3
Ponetong hospital3Ponetong hospital3
Ponetong hospital3
 
Ponetong hospital2
Ponetong hospital2Ponetong hospital2
Ponetong hospital2
 
Ponetong hospital1
Ponetong hospital1Ponetong hospital1
Ponetong hospital1
 
Salapoom hospital
Salapoom hospitalSalapoom hospital
Salapoom hospital
 
Pochai
PochaiPochai
Pochai
 
Il payathai
Il payathaiIl payathai
Il payathai
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health Ponetong
 
Special dentistry
Special dentistrySpecial dentistry
Special dentistry
 
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copyการฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55
 
Oha@chiangmai54
Oha@chiangmai54Oha@chiangmai54
Oha@chiangmai54
 
Cross sectional
Cross sectionalCross sectional
Cross sectional
 
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงานรายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
 
Plan11
Plan11Plan11
Plan11
 
Plan1 11
Plan1 11Plan1 11
Plan1 11
 

4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised

  • 1. 1 สรุ ปผลการศึกษาข้ อมูลวิชาการและการชี้แจงทาความเข้ าใจ/รับฟังความคิดเห็นกับผู้ทเี่ กียวข้ อง ่ เรื่อง ประสิ ทธิผลและความคุ้มค่ าของยากลูโคซามีน คณะทางานวิชาการทางการแพทย์ ภายใต้อนุกรรมการพัฒนามาตรฐานการรักษาพยาบาลและการจ่ายเงิน ความเป็ นมา กลูโคซามีน (Glucosamine) ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็ นยาในประเทศไทยรวมทั้งสิ้ น 95 ตารับ พบว่า มีการใช้อย่างกว้างขวางโดยเฉพาะในผูป่วยระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ผลิตภัณฑ์กลูโคซามีน ้ ที่ผผลิตมักกล่าวอ้างว่ามีประสิ ทธิ ผลในการรักษาข้อเสื่ อม คือ กลูโคซามีนซัลเฟตในรู ปของ crystalline form ู้ โดยมีขอบ่งใช้ที่ได้ข้ ึนทะเบียนยาว่า ใช้ในการรักษาโรคข้อเสื่ อมทุกชนิ ด บรรเทาอาการปวดของโรคข้อ ้ กระดูกเสื่ อมทุกชนิด ทั้งที่เป็ นแบบปฐมภูมิและทุติยภูมิ ในระยะเริ่ มแรกและเรื้ อรัง ข้อมูลจากการสารวจสถานการณ์การสั่งใช้ยาและมาตรการควบคุมกากับการใช้ยาของโรงพยาบาล ขนาดใหญ่ที่เป็ นผูให้บริ การรายใหญ่ของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ จานวน 31 แห่ง ในช่วง ้ 10 เดือนแรกของปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 พบว่ามีการเบิกจ่ายค่ายากลูโคซามีน คิดเป็ นมูลค่าสู งถึง 440,812,277 ล้านบาท ซึ่ งส่ งผลทาให้เกิดคาถามว่ามีการใช้ยาดังกล่าวฟุ่ มเฟื อยและขาดความคุมค่าหรื อไม่ ้ ต่อมาจึงได้มีการศึกษาข้อมูลวิชาการเพิ่มเติมแล้วได้ขอสรุ ปเบื้องต้นว่า ้ ขณะนี้ยงไม่มีหลักฐานทาง ั วิทยาศาสตร์ ที่สนับสนุนว่ายากลูโคซามีนสามารถรักษาโรคข้อเสื่ อมได้อย่างมีประสิ ทธิ ผล คณะอนุกรรมการพัฒนามาตรฐานการรักษาพยาบาลและการจ่ายเงิน ภายใต้คณะกรรมการบริ หาร ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ได้มีมติในการประชุม ครั้งที่ 2/2553 เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2553 เห็นชอบกับข้อเสนอมาตรการระยะสั้นเพื่อควบคุมค่าใช้จ่ายด้านยาของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาล ข้าราชการ ที่จะกาหนดให้ยากลูโคซามีนทุกรู ปแบบ ทั้งชนิดผงบรรจุซองและชนิดแคปซูล เป็ นรายการยาที่ ห้ามเบิกจ่าย (Negative drug lists) จากระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ เนื่องจากไม่มีหลักฐานทาง วิทยาศาสตร์ ที่เป็ นที่ยอมรับทัวไปว่าสามารถรักษาโรคข้อเสื่ อมได้อย่างมีประสิ ทธิ ผล ่ และให้แต่งตั้ง คณะทางานวิชาการทางการแพทย์ ภายใต้อนุคณะกรรมการพัฒนามาตรฐานการรักษาพยาบาลและการ จ่ายเงิน เพื่อให้ศึกษาข้อมูลวิชาการเพิ่มเติมและจัดกระบวนการรับฟังความคิดเห็นและชี้แจงทาความเข้าใจ กับผูที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ้ ก่อนที่จะนาเสนอต่อคณะกรรมการบริ หารระบบสวัสดิการรักษาพยาบาล
  • 2. 2 ข้าราชการพิจารณาต่อไป (เอกสารคาสั่งแต่ งตั้งคณะทางานวิชาการทางการแพทย์ ฯ และรายงานการประชุ ม ครั้ งที่ 1 วันที่ 23 กรกฎาคม 2553 ตามเอกสารหมายเลข 1.) วิธีดาเนินการ ในการนี้ เพื่อให้กระบวนการทางานของคณะทางานวิชาการทางการแพทย์ ภายใต้อนุ กรรมการฯ มี ่ ความโปร่ งใสและวางอยูบนหลักฐานทางวิชาการที่มีความน่าเชื่อถือ และมีการชี้แจงทาความเข้าใจกับ องค์กรวิชาชีพและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ก่อนที่จะสรุ ปผลการดาเนินงานตามที่ได้รับ มอบหมายต่อประธานคณะอนุกรรมการฯ เพื่อให้พิจารณานาเสนอต่อคณะกรรมการบริ หารระบบสวัสดิการ รักษาพยาบาลข้าราชการต่อไปนั้น คณะทางานวิชาการทางการแพทย์ฯ จึงได้กาหนดกรอบวิธีการดาเนินการ แบ่งเป็ น 2 ขั้นตอนหลัก คือ ขั้นตอนการศึกษาทบทวนข้อมูลวิชาการเพิ่มเติม และขั้นตอนการชี้ แจงทาความ เข้าใจและรับฟังความคิดเห็นจากผูที่เกี่ยวข้อง โดยมีกระบวนการทางานและได้ขอสรุ ป ดังต่อไปนี้ ้ ้ 1) การศึกษาข้อมูลวิชาการเพิ่มเติม คณะทางานวิชาการทางการแพทย์ฯมอบหมายคณะทางานย่อย โดยมี ผศ.ดร.พิสนธ์ จงตระกูล เป็ นนักวิชาการหลัก ให้ดาเนินการสื บค้นและรวบรวมเอกสารงานวิจย ั เกี่ยวกับประสิ ทธิ ผลและความคุมค่าของยากลูโคซามีนจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ้ ทัวโลก และได้เอกสารงานวิจยดังกล่าว จานวนกว่า 126 บทความ หลังจากนั้นจึงพิจารณาคัดเลือกเฉพาะ ่ ั เอกสารงานวิจยที่มีคุณภาพ ซึ่งมีจานวนรวม 24 บทความ แล้วนาเอกสารงานวิจยที่ได้มาศึกษาทบทวนอย่าง ั ั เป็ นระบบ โดยมีประเด็นคาถามหลักในการศึกษาทบทวน ดังนี้คือ  กลูโคซามีนมีประสิ ทธิผลในการรักษาโรคข้อเสื่ อม บรรเทาอาการปวดและชะลอข้อเสื่ อมได้ตามที่ ระบุในการขึ้นทะเบียนยาหรื อไม่  กลูโคซามีนมีความคุมค่าในการใช้ในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลหรื อไม่ ้  นโยบายของระบบประกันสุ ขภาพในต่างประเทศที่มีต่อกลูโคซามีนเป็ นอย่างไร และข้อสรุ ปที่ได้จากศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับประสิ ทธิ ผลและความคุมค่าของยากลูโคซามีน พบว่า ้ ข้อมูลที่ได้จากเอกสารงานวิจยที่มีคุณภาพให้ขอสรุ ปไปในทิศทางเดียวกันว่า กลูโคซามีนไม่มีประสิ ทธิ ผล ั ้ ในการรักษาข้อเสื่ อม หรื อมีประสิ ทธิ ผลแตกต่างจากยาหลอกอย่างไม่มีนยสาคัญทางสถิติ ขณะเดียวกัน ั ระบบประกันสุ ขภาพของประเทศร่ ารวยหลายประเทศ ซึ่ งมีความสามารถในการจ่ายสู งกว่าประเทศไทยมาก ต่างเห็นตรงกันว่าผลิตภัณฑ์น้ ีไม่มีความคุมค่ากับการเบิกจ่ายจากระบบประกันสุ ขภาพของรัฐ ้ จึงไม่ได้ ่ กาหนดให้อยูในชุ ดสิ ทธิ ประโยชน์ของระบบประกันสุ ขภาพของรัฐ (รายชื่ อเอกสารรายงานการวิจัย และ
  • 3. 3 ข้ อสรุ ปการศึกษาประสิ ทธิ ผลและความคุ้มค่ าของยากลูโคซามีนของคณะทางานวิชาการทางการแพทย์ ฯ ตามเอกสารหมายเลข 2.) 2) การชี้แจงทาความเข้าใจและรับฟังความคิดเห็นจากผูที่เกี่ยวข้อง คณะทางานวิชาการทาง ้ การแพทย์ จึงได้ส่งข้อสรุ ปการศึกษาประสิ ทธิ ผลและความคุมค่าของยากลูโคซามีนไปให้ราชวิทยาลัย ้ มูลนิธิ สมาคมและตัวแทนบริ ษทยาที่เกี่ยวข้องกับยากลูโคซามีน เพื่อขอให้หน่วยงานดังกล่าวพิจารณาและ ั ขอให้เสนอข้อมูลวิชาการด้านประสิ ทธิ ผลและความคุมค่า ้ กรณี ที่มีความเห็นขัดแย้งกับข้อสรุ ปของ คณะทางานวิชาการทางการแพทย์ฯ เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2553 โดยกาหนดให้ส่งข้อมูลวิชาการดังกล่าวกลับ ภายในวันที่ 27 กันยายน 2553 และปรากฎว่ามีหน่วยงานที่ส่งหนังสื อตอบกลับพร้อมเอกสารวิชาการภายใน ระยะเวลาที่กาหนด จานวน 3 แห่ง คือ ราชวิทยาลัยแพทย์ออร์ โธปิ ดิกส์แห่งประเทศไทย ราชวิทยาลัยแพทย์ เวชศาสตร์ ฟ้ื นฟูแห่งประเทศไทย และสมาคมรู มาติสซัมแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ โดยมีสรุ ปผลการตอบรับ ่ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ หน่วยงาน การตอบรับ 1.ราชวิทยาลัยแพทย์ออร์ โธปิ ดิกส์แห่งประเทศไทย มีหนังสื อตอบกลับพร้อมเอกสารวิชาการ 2.ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ ฟ้ื นฟูแห่งประเทศไทย มีหนังสื อตอบกลับพร้อมเอกสารวิชาการ 3.สมาคมรู มาติสซัมแห่งประเทศไทย ่ มีหนังสื อตอบกลับพร้อมเอกสารวิชาการ 4.มูลนิธิโรคข้อ มีหนังสื อตอบกลับ(ไม่มีเอกสารวิชาการแนบ) 5.มูลนิธิโรคกระดูกพรุ นแห่งประเทศไทย มีหนังสื อตอบกลับ (แจ้งว่าไม่มีความเห็นเรื่ องนี้) 6.ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่ งประเทศไทย ไม่มีหนังสื อตอบกลับ 7.เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ไม่มีหนังสื อตอบกลับ 8.สมาคมผูวจยและผลิตเภสัชภัณฑ์ (PReMA) ้ิั ไม่มีหนังสื อตอบกลับ 9.สมาคมไทยอุตสาหกรรมผลิตยาแผนปัจจุบน(TPMA) ไม่มีหนังสื อตอบกลับ ั และหน่วยงานที่ได้ตอบกลับมีความเห็นว่า ยากลูโคซามีนมีประสิ ทธิ ผลในการรักษาโรคข้อเสื่ อม (เอกสารสาเนาหนังสื อแจ้ งขอให้ เสนอข้ อมูลวิชาการด้ านประสิ ทธิ ผลและความคุ้มค่ าของยากลูโคซามีน ของคณะทางานวิชาการทางการแพทย์ ฯ และสาเนาหนังสื อตอบกลับจากหน่ วยงานที่เกี่ยวข้ อง ตามเอกสาร หมายเลข 3.)
  • 4. 4 3) การพิจารณาประเด็นความคิดเห็นและเอกสารวิชาการของ 3 หน่วยงาน ที่มีหนังสื อตอบกลับ มาพร้อมกับเอกสารวิชาการ ก่อนจะมีการพิจารณาประเด็นความเห็นของหน่วยงาน ทางคณะทางานย่อยได้ ทาการตรวจสอบและคัดกรองเอกสารวิชาการที่หน่วยงานเสนอมาว่า หลักฐานวิชาการประกอบมีความ น่าเชื่อถือ ตามคุณสมบัติที่กาหนดในหนังสื อที่แจ้งไปหรื อไม่ ซึ่ งคณะทางานวิชาการทางการแพทย์ฯ ได้แจ้ง คุณสมบัติหลักฐานวิชาการที่มีความน่าเชื่ อถือและมีเอกสารประกอบ ดังต่อไปนี้ (1) บทสรุ ปสาระสาคัญในประเด็นข้อขัดแย้งกับข้อสรุ ปการศึกษาของคณะทางานวิชาการทาง การแพทย์ฯ โดยขอให้ระบุเลขหน้าและหมายเลขบรรทัดที่มีขอมูลขัดแย้ง มีความยาวไม่เกิน 5 ้ หน้ากระดาษ A4 (2) หลักฐานวิชาการประกอบ (ฉบับสมบูรณ์) ซึ่งอ้างอิงในเอกสาร ข้อ (1) โดยขอให้มีการเรี ยงลาดับ ความสาคัญของเอกสารที่จดส่ ง โดยหลักฐานวิชาการประกอบจะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ คือ ั a. Randomized control clinical trial หรื อ systematic review และ meta-analysis ของการวิจยทาง ั คลินิกที่ตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์ท้ งในและต่างประเทศ ั หรื อรายงานผลการวิจยฉบับ ั เต็มที่สามารถตรวจสอบความถูกต้องของระเบียบวิธีวจยและข้อมูลเชิงลึกได้ ิั b. การประเมินความคุมค่า (health economics evaluation) ที่ตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์ท้ งใน ้ ั และต่างประเทศ หรื อรายงานผลการวิจยฉบับเต็มที่สามารถตรวจสอบความถูกต้องของระเบียบ ั วิธีวจยและข้อมูลเชิงลึกได้ ิั c. ข้อกาหนด (National guideline) การใช้ยากลูโคซามีน โดยองค์กรที่เกี่ยวข้องกับระบบประกัน สุ ขภาพของรัฐที่ไม่แสวงหากาไร ซึ่ งคณะทางานย่อยเห็นว่าหลักฐานทางวิชาการอ้างอิงที่ส่งมาให้พิจารณาไม่มีน้ าหนักเพียงพอ และ แนวทางเวชปฏิบติที่อางถึงก็ไม่ได้มาจากองค์กรของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลในระบบ ั ้ ประกันสุ ขภาพของประเทศนั้นๆ โดยตรง (เอกสารสรุ ปสาระสาคัญของประเด็นความเห็นที่ขดแย้ งและรายการเอกสารวิชาการที่ หน่ วยงานแนบมา ั ตามเอกสารแนบ หมายเลข 4.) ข้ อพิจารณา คณะทางานวิชาการทางการแพทย์ฯ ได้พิจารณาประเด็นความเห็นที่ขดแย้งและเอกสารวิชาการที่ ั หน่วยงานแนบมาทั้งหมดแล้ว และหลังจากได้ทาการศึกษาทบทวนข้อมูลวิชาการและรับฟังความคิดเห็น จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแล้ว มีขอสรุ ปผลการพิจารณา ดังนี้ ้
  • 5. 5 (1) มีหลักฐานทางวิชาการที่มีคุณภาพน่าเชื่ อถือจานวนมากเพียงพอที่จะสนับสนุนข้อสรุ ปว่า กลูโคซามีนไม่มีประสิ ทธิ ผลในการรักษาโรคข้อเสื่ อม บรรเทาอาการปวดและชะลอข้อเสื่ อมได้ตามที่ระบุ ในการขึ้นทะเบียนยา และไม่มีความคุมค่ากับการเบิกจ่ายจากระบบประกันสุ ขภาพของรัฐและไม่สมควรที่ ้ ่ จะอยูในชุดสิ ทธิประโยชน์ของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการซึ่งเป็ นของรัฐ (2) ประเด็นข้อโต้แย้งและข้อมูลวิชาการที่หน่วยงานส่ งมาให้คณะทางานวิชาการทางการแพทย์ พิจารณานั้น มีจานวนน้อย ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ตามเกณฑ์ที่กาหนด และไม่มีน้ าหนักเพียงพอทางวิชาการที่ จะหักล้างและมีผลทาให้เปลี่ยนแปลงข้อสรุ ปการศึกษาประสิ ทธิ ผลและความคุมค่าของยากลูโคซามีนของ ้ คณะทางานวิชาการทางการแพทย์ฯ ได้ ข้ อเสนอ คณะทางานวิชาการทางการแพทย์ฯ จึงเห็นสมควรเสนอให้ยากลูโคซามีนทุกรู ปแบบ ทั้งชนิดผง บรรจุซองและชนิดแคปซูล เป็ นรายการยาที่หามเบิกจ่ายจากระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ้ เนื่องจากมีหลักฐานทางวิชาการที่มีคุณภาพน่าเชื่อถือและมีน้ าหนักเพียงพอที่สนับสนุ นข้อสรุ ปของ คณะทางานวิชาการทางการแพทย์ฯว่า ยากลูโคซามีนไม่มีประสิ ทธิ ผลและความคุมค่าในการรักษาโรคข้อ ้ เสื่ อมได้ตามข้อบ่งใช้ที่ระบุไว้ในการขึ้นทะเบียนยา ่ จึงไม่สมควรที่จะอยูในชุดสิ ทธิ ประโยชน์ของระบบ สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ซึ่ งใช้จ่ายจากเงินงบประมาณของรัฐ