SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 14
Baixar para ler offline
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้   154




Evaluating media for instruction
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้   155




การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้    156




การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้                                              บทที่ 10
โครงร่างเนื้อหาของบท                                                      คาสาคัญ
     1. การประเมินสื่อการสอน                                 E1/E2
                                                             ค่าดัชนีประสิทธิผล
     2. การประเมินสื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
                                                             การประเมินเพื่อ
วัตถุประสงค์การเรียนรู้                                       ปรับปรุง
    1. อธิบายหลักในการประเมินสื่อการสอน สื่อการเรียนรู้และ  การประเมินผลลัพธ์
        สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ได้
                                                             การประเมินด้านผลผลิต
    2. เปรียบเทียบความแตกต่างของแนวคิดการประเมินสื่อการ
        สอน สื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ได้   การประเมินด้านบริบท
    3. สามารถประเมินสื่อการเรียนรูได้้                       การประเมินด้านความ
                                                              คิดเห็นผู้ใช้
กิจกรรมการเรียนรู้
                                                             การประเมินด้าน
    1. ผู้สอนให้มโนทัศน์เชิงทฤษฎี หลักการ เรื่อง การประเมิน   ความสามารถทาง
        คุณภาพสื่อการเรียนรู้                                 ปัญญา
    2. นักศึกษาแบ่งเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 3 คน ศึกษา
        สถานการณ์ปัญหา วิเคราะห์ทาความเข้าใจค้นหาคาตอบ  การประเมินด้าน
        จากเอกสารประกอบการสอนและแหล่งเรียนรู้บนเครือข่าย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
        และร่วมกันสรุปคาตอบ
    3. นักศึกษาเลือกสื่อการเรียนรู้และทาการประเมินสื่อตาม
        หลักการ
    4. นักศึกษานาเสนอผลงาน ร่วมกันสรุปองค์ความรู้และ
        แลกเปลียนความคิดเห็น โดยผู้สอนตั้งประเด็น และอธิบาย
                  ่
        เพิ่มเติม




สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
            ท่านเป็นศึกษานิเทศก์ซึ่งรับผิดชอบหน้าที่ในการพัฒนาครูเกี่ยวกับ การออกแบบและผลิต
สื่อวันหนึ่งมีครูสองคนมาปรึกษาว่าจะมีวิธีการที่ทาให้รู้ว่าสื่อที่สร้างขึ้นมานั้นมีคุณภาพได้อย่างไร ซึ่ง
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้    157



มีรายละเอียดดังนี้
         ครูสายใจเป็นครูสังคมศึกษาได้พัฒนาชุดการสอน
         ครูสมหญิงเป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ได้พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
         ครูมาโนชเป็นสอนวิชาภาษาได้พัฒนาชุดสร้างความรู้
         ครูประพาสเป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อใช้ใน
การเรียนของตนเอง
ภารกิจ
           1. เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของสื่อของครูแต่ละคนพร้อม
ทั้งให้เหตุผล
           2. อธิบายข้อจากัดของการประเมินสื่อการสอน
           3. เปรียบเทียบความแตกต่างของแนวคิดการประเมินสื่อการสอน สื่อการเรียนรู้และ
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้




                                                                      การประเมินสื่อการเรียนรู้และ
   การประเมินสื่อการสอน
                                                                       สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้




                                            สาระสาคัญ
                                            ในบทที่ 10


             ปัจจุบันสื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนมีหลายรูปแบบที่นักออกแบบได้พัฒนาขึ้น ซึ่ง
อาศั ย พื้ น ฐานทฤษฎี ใ นการออกแบบที่ แ ตกต่ า งกั น ไป โดยขึ้ น อยู่ กั บ เป้ า ประสงค์ ข องการเพิ่ ม
ศักยภาพของการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน ดังที่ได้กล่าวมาแล้วในบทที่ 2, 3 และ 4 ที่ได้แสดงให้เห็นถึง
กระบวนทัศน์ที่เปลี่ยนไปของสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งสามารถสรุป ลักษณะของสื่อได้สอง
แนวคิ ดคื อ สื่ อการสอนและสื่ อการเรี ย นรู้ สื่ อการสอนเน้ นที่ การถ่า ยทอดบนพื้ นฐานของกลุ่ ม
พฤติกรรมนิยมที่มุ่งเน้นการออกแบบเพื่อจดจาความรู้ ส่วนสื่อการเรียนรู้มุ่งเน้นที่ให้ผู้เรียนได้สร้าง
การเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งการออกแบบก็จะเตรียมสิ่งต่างๆไว้สนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียนใน
การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว อันเป็นที่มาของคาว่า สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ดังนั้น
เมื่อพื้นฐานแนวคิดและการออกแบบที่แตกต่างกันของสื่อ วิธีการประเมินสื่อจึงมีความแตกต่างกัน
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้      158


ด้วย ในบทนี้จะได้นาเสนอวิธีการประเมินคุณภาพของสื่อในสองลักษณะคือ การประเมินสื่อการ
สอน และการประเมินสื่อการเรียนรู้ ดังรายละเอียดที่จะได้นาเสนอต่อไปนี้

การประเมินสื่อการสอน

          จากนิยามของสื่อการสอนที่เป็นเพียงตัวกลางที่ถ่ายทอดเนื้อหาหรือความรู้ มีอิทธิพล
ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้ที่อยู่บนพื้นฐานที่ว่าความรูเ้ ป็นสิงที่หยุดนิ่ง ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้น
                                                                        ่
หากใครสามารถรับหรือจดจาความรู้ได้มากที่สุดก็ถือว่าผู้นั้นเป็นผู้ที่เรียนรู้ได้ดีที่สุดและนั่นคือ
เป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ของครู แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ดังกล่าวจะสอดคล้องกับแนวคิด
กลุ่ ม พฤติ ก รรมนิ ย ม ซึ่ ง เชื่ อ ว่ า การเรี ย นรู้ คื อ การเปลี่ ย นแปลงพฤติ ก รรม ซึ่ ง เป็ น ผลมาจาก
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง ซึ่งการเรียนรู้นั้นจะคงทนหากได้รับการเสริมแรง
การฝึกหัด การทาซ้าๆ เป็นต้น บทบาทของผู้เรียนจึงเป็นผู้ที่รอรับความรู้ที่จะได้รับการถ่ายทอด
โดยตรงจากครู แนวคิ ดดั งกล่า วน ามาซึ่งการพั ฒนาเป็น สื่อการสอน ได้ แก่ บทเรี ยนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ชุดการสอน เป็นต้น
          แนวคิดการทดสอบประสิทธิภาพสื่อการสอนที่นิยมใช้ในปัจจุบันมี 2 แนวปฏิบัติคือ (1)
ประเมินโดยอาศัยเกณฑ์ และ (2) ประเมินโดยการเปรียบเทียบค่าทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
(ค่าดัชนีประสิทธิผล: EI) ดังรายละเอียดที่จะนาเสนอต่อไปนี้
การประเมินโดยอาศัยเกณฑ์
          แนวคิดการประเมินโดยอาศัยเกณฑ์จะมีการกาหนดค่าตัวเลขขึ้นมาเพื่อเป็นสิงที่จะระบุถึง        ่
ประสิทธิภาพของสื่อ ในปัจจุบันการกาหนดเกณฑ์นิยมปฏิบัติใน 2 แนวทาง คือ (1) ยึดเกณฑ์
มาตรฐาน 90/90 ของเปรื่อง กุมุท และ (2) ยึด E1/E2 ของชัยยงค์ พรหมวงศ์ (มนตรี แย้มกสิกร,
2550)
          (1) เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 เป็นวิธีการที่ได้รับการพัฒนามาเพื่อประเมินประสิทธิภาพ
ของบทเรียนโปรแกรม มีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้แบบรอบรู้ (Mastery learning) นิยามของเกณฑ์
มาตรฐาน 90/90 นั้นได้อธิบายไว้ว่า
          90 ตัวแรกเป็นคะแนนของทั้งกลุ่ม ซึ่งหมายถึงนักเรียนทุกคน เมื่อสอนครั้งหลังเสร็จให้
คะแนนเสร็จ นาคะแนนมาหาค่าร้อยละให้หมดทุกคะแนน แล้วหาค่าร้อยละเฉลี่ยของทั้งกลุ่ม ถ้ า
บทเรียนโปรแกรมถึงเกณฑ์ค่าร้อยละเฉลี่ยของกลุ่มจะต้องเป็น 90 หรือสูงกว่า (เปรื่อง กุมุท, 2519)
          90 ตัวที่สองแทนคุณสมบัติที่ว่า ร้อยละ 90 ของนักเรียนทั้งหมด ได้รับผลสัมฤทธิ์ตามมุ่ง
หมายแต่ละข้อ และทุกข้อของบทเรียนโปรแกรม

วิธีการคานวณค่าประสิทธิภาพสื่อ
      1. สร้างตารางบันทึกผลการสอบหลังเรียน โดยนาผลการทดสอบหลังเรียนของผู้เรียนมา
         บันทึกค่าคะแนนไปในแต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนดไว้
      2. ตรวจผลการสอบของผู้เรียนแต่ละคน ดาเนินการตรวจผลการสอบว่าผู้เรียนแต่ละคนได้
         คะแนนจากการสอบหลังเรียนกี่คะแนน
      3. พิจารณาผลการสอบว่าผ่านเกณฑ์ตามที่กาหนดไว้ในวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมเท่าใด
         ดาเนินการพิจารณาผู้เรียนเป็นรายบุคคลว่ามีวัตถุประสงค์ใดบ้างที่ผ่านและไม่ผ่านเกณฑ์
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้    159


     4. คานวณประสิทธิภาพโดยใช้สูตรคานวณดังนี้
         90 ตัวแรก ={(∑X /N) X 100)}/R
         90 ตัวแรก หมายถึง จานวนร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน
                  ∑X หมายถึง คะแนนรวมของผลการทดสอบที่ผู้เรียนแต่ละคน ทาได้ถูกต้อง
         จากการทดสอบหลังเรียน
                  N หมายถึ ง จ านวนผู้ เ รี ย นทั้ ง หมดที่ ใ ช้ เ ป็ น กลุ่ ม ตั ว อย่ า งในการค านวณ
         ประสิทธิภาพครั้งนี้
                  R หมายถึง จานวนคะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน
         90 ตัวหลัง = (Y x 100)/ N
         90 ตัวหลัง หมายถึง จานวนร้อยละของผู้เรียนที่สามารถทาแบบทดสอบผ่านทุก
วัตถุประสงค์
         Y หมายถึง จานวนผู้เรียนที่สามารถทาแบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์
         N หมายถึง จานวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคานวณประสิทธิภาพครั้งนี้

            (2) การทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 เป็นแนวคิดการประเมินที่
เกิดขึ้นเพื่อประเมินประสิทธิภาพของชุดการสอนและสื่อการสอนประเภทต่างๆ ยกเว้น บทเรียน
โปรแกรม ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของกลุ่มพฤติกรรมนิยมที่ต้องการประเมินผลพฤติกรรมของผู้เรียนใน
2 ประเภท คือ พฤติกรรมต่อเนื่อง (กระบวนการ) และพฤติกรรมสุดท้าย (ผลลัพธ์) โดยกาหนดค่า
ประสิทธิภาพเป็น E1 (ประสิทธิภาพของกระบวนการ) E2 (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์) นิยาม
ประสิทธิภาพ E1/E2
            E1 หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่เกิดจากการทากิจกรรมระหว่างเรียนจากชุดการ
สอนหรือสื่ออื่นๆ ของผู้เรียน (ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้)
            E2 หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่เกิดจากการทาแบบทดสอบหลังการเรียนของ
ผู้เรียน (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้)
การคานวณโดยใช้สูตร



          E1 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้
          ∑X หมายถึง ผลรวมของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทุกคน (N คน)
          N หมายถึง จานวนผู้เรียนที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอนครั้งนี้
          A หมายถึง คะแนนเต็มของกิจกรรมระหว่างเรียน



          E2 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้
          ∑F หมายถึง ผลรวมของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทุกคน (N คน)
          N หมายถึง จานวนผู้เรียนที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอนครั้งนี้
          B หมายถึง คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้   160


การประเมินโดยค่าดัชนีประสิทธิผล
         การวิเคราะห์ค่าดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness index: E.I.) เป็นอีกวิธีที่ใช้ในการ
ประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอน ซึ่งนิยมใช้วิธีของ Goodman, Fletcher and Schneider
(1980) โดยดัชนีประสิทธิผลที่ใช้ได้ควรมีค่า 0.50 ขึ้นไป
สูตรการหาค่าดัชนีประสิทธิผล
         จะเขียนในรูปของร้อยละ ซึ่งผลการคานวณจะได้เท่ากับผลการคานวณจากคะแนนดิบ

ดัชนีประสิทธิผล = ร้อยละของผลรวมของคะแนน – ร้อยละของผลรวมของคะแนนก่อนเรียน
                               100 – ร้อยละของผลรวมของคะแนนก่อนเรียน
                  E.I. = P2% - P1%
                          100 – P1%
เมื่อ P1% แทน ร้อยละของผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียน
       P2% แทน ร้อยละผลรวมของคะแนนทดสอบหลังเรียน

ตัวอย่างการคานวณค่าดัชนีประสิทธิผล
     คนที่                          ผลการทดสอบ (100 คะแนน)
                      คะแนนทดสอบก่อนเรียน            คะแนนทดสอบหลังเรียน
        1                        73                         80
        2                        74                         83
        3                        75                         88
        4                        72                         82
        5                        85                         90
        6                        70                         78
        7                        80                         93
        8                        76                         86
        9                        75                         84
       10                        73                         89
       11                        76                         85
       12                        79                         83
   รวม (∑x)                     908                        1021
    ร้อยละ                    75.67                        85.08

         นาผลร้อยละของผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน มาวิเคราะห์หาค่า
ดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness Index: E.I.)
         E.I. = 85.08 – 75.67
                 100 – 75.67
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้   161


วิเคราะห์ค่าดัชนีประสิทธิผลของความก้าวหน้าทางพัฒนาการเรียนรู้เท่ากับ 0.38 หรือคิดเป็นร้อย
ละ 38.0 แสดงว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้าทางพัฒนาการการเรียนรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 38
            วิธีการประเมินประสิทธิภาพของสื่อ การทั้ง 2 วิธีการดังกล่าวข้างต้นนั้นมีขั้นตอนการหา
ประสิทธิภาพเริ่มตั้งแต่ การทดลองแบบกลุ่มต่อหนึ่ง (One to one testing) แล้วนาสื่อมาทดลอง
กับกลุ่มเล็ก (Small group testing) และท้ายสุดทาการทดลองภาคสนาม (Field testing) และ
อาจใช้วิธีการหาค่าประสิทธิภาพกระบวนการ (E1)/ผลลัพธ์ (E2) หรืออาจใช้วิธีการหาค่าดัชนี
ประสิทธิผล (Effectiveness index หรือ E.I.) ค่าประสิทธิภาพดังกล่าว ล้วนแต่เป็นค่าที่ได้จากการ
ทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ซึ่งจะได้เป็นเพียงเฉพาะค่าคะแนนที่เป็นตัวเลขเชิงปริมาณเท่านั้น
            ซึ่งหากเราพิจารณาความสอดคล้องกับ กระบวนทัศน์และลักษณะการออกแบบสื่อใน
ปัจจุบันที่เป็นสื่อการเรียนรู้ หรือ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ที่มุ่งเน้นการปรับปรุงและพัฒนาให้
ผลผลิตที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ดังนั้น การประเมินที่นามาใช้ ควรมีลักษณะที่สอดคล้อง คือ การ
ประเมินเพื่อปรับปรุง และการประเมินผลลัพธ์ ด้วยเหตุนี้การประเมินเพียงเฉพาะมิติด้านผลสัมฤทธิ์
ซึ่งใช้ข้อมูลเชิงปริมาณที่เป็นค่าคะแนน หรือตัวเลข อย่างเดียว อาจให้รายละเอียดไม่เพียงพอที่จะ
นามาสู่การปรับปรุงในกระบวนการพัฒนา ซึ่งสุมาลี ชัยเจริญ (2545) ได้เสนอวิธีการประเมิน
ประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ดังรายละเอียดที่จะได้นาเสนอต่อไปนี้

การประเมินสื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้

           สุมาลี ชัยเจริญ (2551) ได้อธิบายว่า ภายหลังกระบวนทัศน์การประเมินที่เปลี่ยนแปลง
จากสื่อเพื่อการถ่ายทอดมาสู่สื่อหรือเทคโนโลยีทางปัญญา (Cognitive technology) ที่มุ่งเน้นการ
ส่งเสริมกระบวนการรู้คิดหรือกระบวนการทางพุทธิปัญญา(Cognitive process) และแนวโน้มใน
ปัจจุบันทฤษฎีในกลุ่มพุ ทธิปัญญานิยมและกลุ่มคอนสตรัคติวิ สต์ที่นิยามการเรียนรู้คือการสร้าง
ความรู้ของผู้เรียน ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผู้เรียน การประเมินที่อาศัยข้อมูล
เชิงปริมาณที่เป็นค่าคะแนนหรือตัวเลขอาจไม่เพียงพอที่จะนามาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนา
ประสิทธิภาพการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในกระบวนการรู้คิดภายในสมอง ตลอดจนระบบสัญลักษณ์ของสื่อ
ที่พิจารณาคุณลักษณ์ของสื่อในลักษณะที่เป็นภาพ เสียง ที่ส่งผลต่อการประมวลสารสนเทศใน
กระบวนการรู้คิดของผู้เรียน ควรเพิ่มเติมข้อมูลเชิงคุณ ภาพ จะช่วยให้สามารถนามาปรับปรุง สื่อ
นวัตกรรมการเรียนรู้ หรือสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้มีคุณภาพหรือประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
ซึ่งจะน าเสนอหลั ก การที่ ส าคั ญ ที่ ควรพิ จ ารณา ประกอบด้ ว ย (1) การประเมิ นด้ า นผลผลิ ต
(2) การประเมินบริบทการใช้ (3) การประเมินด้านความสามารถทางสติปัญญา (4) การประเมิน
ด้านความคิดเห็น (5) การประเมินผลสัมฤทธิ์ ซึ่งจะได้อธิบายบนพื้นฐานการวิจัยซึ่งผู้เขียนได้ศึกษา
ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้ (สุมาลี ชัยเจริญ, 2550)
การประเมินด้านผลผลิต
            ประเมินผลผลิต เป็น ประเมินคุณภาพของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ โดยการตรวจสอบ
คุณภาพด้านต่างๆโดยผู้เชี่ ยวชาญ ด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านเนื้อหา ด้านการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้ ด้านสื่อ และด้านประเมินผล ซึ่งมีรายละเอียดและหลักการที่สาคัญในแต่ละด้านดังนี้
           (1) ด้านเนื้อหา
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้   162


            เป็นการตรวจสอบเนื้อหา โดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา จะทาการตรวจสอบเนื้อหาในด้าน
ต่างๆ ผู้เชี่ยวชาญอาจเป็นครูผู้สอน หรือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ หรือมีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับ
เนื้อหาเรื่องที่จะประเมิน หลักการสาคัญที่นามาเป็นพื้นฐานในการพิจารณาเนื้อหาที่นามาใช้ในการ
เรียนรู้ (Khan, Badrul H,1997; Hannafin and Other,1999) ดังรายละเอียดต่อไปนี้
             ความถูกต้อง
             ความน่าสนใจ
             ความเหมาะสมกับสาระในสาขาวิชา
             มีความทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน
             เนื้อหา มีความครอบคลุมเรื่องที่จะศึกษา มีความชัดเจน และเอื้อต่อการศึกษา
ค้นคว้าหาความรู้ หรือการสร้างความรู้ของผู้เรียน
             ภาษาที่ใช้สามารถสื่อได้ตรงกับความคิดรวบยอด(Concept)ในการเรียนรู้ หรือความ
กะทัดรัด เป็นลาดับขั้นและง่ายต่อการทาความเข้าใจ
             ความเหมาะสมกับวิธีการหรือหลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้
             รูป แบบการน าเสนอเนื้ อหา การนาเสนอเนื้ อหามี รูป แบบการนาเสนอที่ น่า สนใจ
ประมวลสารสนเทศได้ง่าย และช่วยให้เกิดการเรียนรู้ได้ดี
             ความสอดคล้องของเนือหาภาพประกอบ และช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี
                                        ้
            (2) ด้านสื่อ
            ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อ จะทาการตรวจสอบเกี่ยวกับคุณภาพการออกแบบสื่อ คุณลักษณะ
ของสื่อชนิดต่างๆ ซึ่งจะแตกต่างกันไป เช่น สื่อบนเครือข่าย มัลติมีเดีย สื่อสิ่งพิมพ์ ในที่นี้ผู้เขียน
นาเสนอตัวอย่างหลักการพื้นฐานที่ใช้ในการพิจารณาสื่อบนเครือข่ายของ Khan, B.H, Vega R.
(1997), Hannafin (1999) และ ชุดสร้างความรู้ ดังมีรายละเอียด ต่อไปนี้
            2.1 สื่อบนเครือข่าย
                    2.1.1 การออกแบบเครื่องนาทาง (Navigator) ช่วยในการค้นหาหาสารสนเทศ
                    2.1.2 การออกแบบเครื่องนาทางมีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกันและมีความคงที่
                    2.1.3 สัญลักษณ์ที่เป็นไอคอน (Icon) สามารถสื่อความหมายเกี่ยวกับแหล่งสารสนเทศ
ต่างๆ
                    2.1.4 การเชื่อมโยง (Link) ช่วยให้สามารถเข้าถึงสารสนเทศต่างๆ
                    2.1.5 ประสิทธิภาพของ รูปแบบการสนทนา (post) ผ่านเครือข่าย (web)
                    2.1.6 การออกแบบองค์ประกอบทางศิลปะ (architecture) บนเครือข่ายมีความ
เหมาะสม สะดุดตา น่าสนใจ
                    2.1.7 ภาพและขนาดของตัวอักษรที่ใช้มีความสอดคล้องกับเนื้อหาและส่งเสริมการ
เรียนรู้
            2.2 ชุดสร้างความรู้
                    มีหลักการสาคัญที่นามาเป็นพื้นฐานในการพิจารณาคุณลักษณะของสื่อดังนี้
                    2.2.1 การนาเสนอเนื้อหาที่ดึงดูดความใส่ใจของผู้เรียน ได้แก่ การใช้ตัวหนังสือที่มี
การเน้นด้วยสี การนาเสนอด้วยภาพนิ่ง
                    2.2.2 การออกแบบองค์ประกอบทางศิลปะ มีความเหมาะสม สะดุดตา น่าสนใจ
                    2.2.3 ภาพประกอบมีความสอดคล้องกับเนื้อหาและส่งเสริมการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้   163


ขนาดของตัวอักษรที่ใช้มีความสอดคล้องกับเนื้อหา
               2.2.4 การใช้ขนาดตัวอักษรเหมาะกับผู้เรียน มีจุดดึงดูดความสนใจและอ่านง่าย
               2.2.5 ภาพกราฟิกที่ใช้ประกอบ มีความเหมาะสม สอดคล้องกับเนื้อหา และทาให้
สามารถเรียนรู้ได้ดีและง่ายมากยิ่งขึ้น
               2.2.6 การใช้สีมีความเหมาะสม กลมกลืน ดึงดูดความสนใจ
          (3) การออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
          ในการออกแบบตามแนวคอนสตรั ค ติ วิ ส ต์ ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการออกแบบ จะท าการ
ตรวจสอบการออกแบบการสอนที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ซึ่งนาหลักการสาคัญของ
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา ของ Piajet และ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคมของ Vygotsky
มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ หรือเรียกว่า การนาทฤษฎีสู่การปฏิบัติ ที่อยู่ในลักษณะองค์ประกอบ
ที่สาคัญ ได้แก่ สถานการณ์ปัญหา ธนาคารความรู้ ฐานการช่วยเหลือ การร่วมมือกันแก้ปัญหา ดัง
รายละเอียด ต่อไปนี้ (สุมาลี ชัยเจริญ, 2551)
          3.1 การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้โดยการปฏิบัติจริง
          3.2 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนควบคุมการเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง (Learner control)
          3.3 สถานการณ์ปัญหากระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเสาะแสวงหาความรู้ หรื อ
ค้นหา ค้นพบคาตอบด้วยตนเอง
          3.4 ระดับภาระกิจการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถในการคิดขั้นสูง
          3.5 ภาระกิจการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ ไตร่ตรองประเด็นปัญหาที่
ต้องการค้นหาคาตอบ
          3.5 ธนาคารความรู้ (Resource) มีการออกแบบที่สนับสนุนข้อมูลให้ผู้เรียนสามารถค้นหา
สารสนเทศจากแหล่งต่างๆอย่างหลากหลาย เพื่อนามาใช้ในการแก้สถานการณ์ปัญหาที่กาหนดให้
รวมทั้งช่วยสนับสนุนในการสร้างความรู้ของผู้เรียน
          3.6 เครื่องมือทางปัญญา (Cognitive tool) ในการเรียน กระตุ้นกระบวนการคิดของ
ผู้เรียนและเกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการเรียน
          3.7 ฐานการช่วยเหลือ (scaffolding) ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ความพยายามในการเรียนรู้
          3.8 กรณีใกล้เคียง (Related case) ส่งเสริมให้ผู้เรียนเชื่อมโยงประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง
มาใช้ในการแก้ปัญหาได้
          3.9 ห้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการออกแบบที่สนับสนุ นให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาร่วมกัน
          3.10 การโค้ช (coaching) โดยครูผู้สอนทาการวิเคราะห์ผู้เรียน สามารถสื่อสารและ
สะท้อนผลเกี่ยวกับผู้เรียนในกระบวนการเรียนรู้ และกระตุ้นให้ผู้เรียนกระทาภารกิจการเรียนรู้อย่าง
ตื่นตัว
ประเมินบริบทการใช้ในสภาพจริง
          การประเมินบริบทการใช้ในสภาพจริง หรือเป็นการนาไปทดลองใช้ เพื่อศึกษาเพื่อหา
บริบทที่เหมาะสมในการใช้สื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ในสภาพจริง เช่น จานวน
สมาชิกในกลุ่มที่เรียนแบบร่วมมือกันแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ในกิจกรรมการแก้ปัญหาที่ใช้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย (Web-based learning environment) เป็นต้น รวมทั้งนา
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้    164


ข้อคิดเห็นของผู้เรียนที่เรียนด้วยสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของสื่อบนเครือข่ายหรือข้อบกพร่อง
ต่างๆของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ เพื่อเป็นพื้นฐานในการปรับปรุง แก้ไข สิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้บนเครือข่าย ดังรายละเอียด ต่อไปนี้
          1) ศึกษาบริบทที่เหมาะสมในการใช้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของสื่อบนเครือข่ายอย่างมี
ประสิทธิภาพในสภาพจริง เช่น จานวนสมาชิกในกลุ่มที่เรียนแบบร่วมมือกันแก้ปัญหา อาจทาได้โดย
ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หรือ ให้ผู้เรียนทาการทดลองใช้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ
โดยอาจจัดกลุ่มที่อาศัยพื้นฐานกระบวนการกลุ่ม คือ จานวน 2-5 คน ในการทดลอง อาจจัดกลุ่ม
เป็นกลุ่มละ 2 คน 3 คน 4 คน หรือ 5 คน และให้แต่ละกลุ่มเรียนด้วยการร่วมมือกันแก้ปัญหา
(Collaborative learning) แล้วทาการสัมภาษณ์ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเกี่ยวกับจานวนสมาชิกในกลุ่มที่
มีประสิทธิภาพสูงสุด ในการเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ โดยใช้วิธีการร่วมมือกันแก้ปัญหา
          2) ทดลองใช้เพื่อนามาปรับปรุงแก้ไข นาข้อคิดเห็นของผู้เรียนที่เรียนด้วยสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้ของสื่อบนเครือข่าย มาเป็นพื้นฐานในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ อาจทา
โดยการให้ผู้เรียนตอบแบบสอบถาม แบบสารวจ หรือ สัมภาษณ์เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ การ
ออกแบบ หรือ การใช้ ฯลฯ เพื่อนาข้อคิดเห็นของผู้เรียนมาเป็นพื้นฐานในการแก้ไข ปรับปรุงให้มี
ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ก่อนที่จะนาไปใช้ในสภาพจริง
ประเมินด้านความคิดเห็นของผู้เรียน
          ความคิดเห็นของผู้เ รียนเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ เป็นส่ วนหนึ่ งที่ส ะท้อ น
เกี่ยวกับประสิทธิภาพสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ มิใช่เพียงแต่ค่าคะแนนที่ได้จากผู้เรียนที่ได้เรียน
ทาได้เช่น ค่า E1/E2 เท่านั้น นอกจากนี้ผลของความคิดเห็นฯของผู้เรียน สามารถนามาเป็นพื้นฐาน
ในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ
          การประเมินคุณภาพของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ อาศัยพื้นฐานด้านที่สาคัญ ได้แก่ (1)
ด้านคุณลักษณะของสื่อบนเครือข่าย (2) ด้านเนื้อหาในการเรียนรู้ และ (3) ด้านการออกแบบ
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ การประเมินความคิดเห็นของผู้เรียนที่เรียนด้วยสิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้ของสื่อบนเครือข่าย ทั้ง 3 ด้านดังกล่าวข้างต้น จะสะท้อนให้เห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพของ
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของสื่อบนเครือข่าย และสามารถนาข้อคิดเห็นดังกล่าว มาเป็นพื้นฐานใน
การปรั บ ปรุ ง แก้ ไข สิ่งแวดล้ อมทางการเรีย นรู้ บนเครื อ ข่า ยให้ มี ประสิท ธิ ภาพเพิ่ ม มากขึ้น ดั ง
รายละเอียดในแต่ละด้านที่อาศัยกรอบแนวคิดการประเมินเกี่ยวกับด้านต่างๆมีความคล้ายคลึงกับ
การประเมินของผู้เชี่ยวชาญ ดังต่อไปนี้
          (1) ด้านคุณลักษณะของสื่อบนเครือข่าย
                1.1 การออกแบบเครื่องนาทาง (Navigator) ช่วยในการค้นหาหาสารสนเทศ
                1.2 การออกแบบเครื่องนาทางมีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกันและมีความคงที่
                1.3 สัญลักษณ์ที่เป็นไอคอน (Icon) สามารถสื่อความหมายเกี่ยวกับแหล่งสารสนเทศ
ต่างๆ
                1.4 การเชื่อมโยง (Link) ช่วยให้สามารถเข้าถึงสารสนเทศต่างๆ
                1.5 ประสิทธิภาพของ รูปแบบการสนทนา (post) ผ่านเครือข่าย (web)
                1.6 การออกแบบองค์ประกอบทางศิลปะ (architecture) บนเครือข่าย มีความ
เหมาะสม สะดุดตา น่าสนใจ
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้        165


                1.7 ภาพและขนาดของตัวอักษรที่ใช้มีความสอดคล้องกับเนื้อหาและส่ งเสริมการ
เรียนรู้
              (2) ด้านเนื้อหาในการเรียนรู้
                   สาหรับเนื้อหาที่นามาใช้ หลักการสาคัญที่นามาเป็นพื้นฐานในการพิจารณาเนื้อหาที่
นามาใช้ในการเรียนรู้ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
                    2.1 ความถูกต้อง
                    2.2 ความน่าสนใจ
                    2.3 ความเหมาะสมกับสาระในสาขาวิชา
                    2.4 มีความทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบน        ั
                    2.5 เนื้อหา มีความครอบคลุมเรื่องที่จะศึกษา มีความชัดเจน และเอื้อต่อการศึกษา
ค้นคว้าหาความรู้ หรือการสร้างความรู้ของผู้เรียน
                    2.6 ภาษาที่ใช้สามารถสื่อได้ตรงกับความคิดรวบยอด (Concept) ในการเรียนรู้
หรือความกะทัดรัด เป็นลาดับขั้นและง่ายต่อการทาความเข้าใจ
                    2.7 ความเหมาะสมกับวิธีการหรือหลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้
                    2.8 รูปแบบการนาเสนอเนื้อหา การนาเสนอเนื้อหามีรูปแบบการนาเสนอที่น่าสนใจ
                    2.9 ความสอดคล้องของเนื้อหาภาพประกอบ และช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการ
เรียนรู้ที่ดี
              (3) ด้านการออกแบบตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
              หลักการสาคัญที่นามาเป็นพื้น ฐานในการพิจารณาการออกแบบตามแนวคอนสตรัคติวิ
สต์มีรายละเอียดต่อไปนี้
                    3.1 สถานการณ์ ปั ญ หา (Problem-based Learning) ช่ ว ยกระตุ้ น ให้ ผู้ เ รี ย น
ต้องการเข้าไปทาการเรียนรู้
                    3.2 แหล่ ง ข้ อ มู ล (Resources) ช่ ว ยสนั บ สนุ น ให้ ผู้ เ รี ย นสามารถค้ น พบค าตอบ
(Discovery) หรือข้อความรู้ที่ใช้ในการแก้ปัญหา
                    3.3 ชุ ม ชนแห่ ง การเรี ย นรู้ ช่ ว ยสนั บ สนุ น สารสนเทศ ให้ ผู้ เ รี ย นเกิ ด แนวคิ ด ที่
หลากหลาย
                    3.4 กรณีที่เกี่ยวข้อง (Related case)ให้ผู้เรียนสามารถถ่ายโยงความรู้หรือสามารถ
นาความรู้ที่ได้จากการศึกษาเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาในบริบทอื่นๆได้
                    3.5 เพื่อนทางปัญญา (Collaboration)ช่วยสนับสนุนกระบวนการแก้ปัญหาและ
เกิดความเข้าใจที่ลึกซึ้งในการเรียน
                    3.6 ฐานความช่วยเหลือ (Scaffolding)ช่วยให้ผู้เรียนสามารถคิดแก้ปัญหาได้ มีการ
แนะนาเกี่ยวกับแนวทางในการแก้ปัญหา รวมทั้งช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความพยายามในการ
เรียนรู้อย่างรู้ตัว (Mindfulness)
                    3.7 การโค้ช(Coaching) ช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนคิด ค้นหาคาตอบรวมถึงกระทา
ภารกิจการเรียนรู้อย่างตื่นตัว
การประเมินด้านความสามารถทางปัญญาของผู้เรียน
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้   166


           ความสามารถทางปัญญาของผู้เรียน ถือเป็นอีกมิติหนึ่งที่จะสะท้อนให้เห็นประสิทธิภาพ
ของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายที่ส่งเสริมการสร้างความรู้ฯ นอกเหนือจากการประเมิน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหรือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ/ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ หรือ E1/E2
เท่านั้น ความสามารถ(Performance) ทางสติปัญญาของผู้เรียน อาจสามารถประเมินได้จากการ
กระทาที่แสดงออกโดยตรงจาการทางานด้านต่างๆ โดยจะมุ่งเน้นการแสดงออกในเชิงพุทธิปัญญา
(Cognitive) มากกว่าพฤติกรรม (Behavior) ที่แสดงออกมา ตัวอย่างเช่น สถานการณ์ที่กาหนดให้
ที่เป็นสภาพจริงหรือใกล้เคียงกับสภาพจริง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแก้ปัญหา หรือปฏิบัติงานจริง อาจ
ประเมินได้จาก กระบวนการทางาน กระบวนการคิด (Cognitive process) โดยเฉพาะการคิดใน
ระดับสูง (higher-order thinking) ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ การคิดวิพากษ์วิจารณ์ การคิดแบบ
สร้างสรรค์ การคิดเชิงเหตุผล และทักษะทางการคิด (Thinking skill) เป็นต้น นอกจากนี้เป็นการ
ประเมินเกี่ยวกับกระบวนการทางาน เช่น กระบวนการการแก้ปัญหา เป็นต้น สาหรับกรอบแนวคิด
เชิงทฤษฎีที่นามาเป็นพื้นฐานในการประเมินนั้น จะขึ้นกับหลักการ ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องกับตัวแปร
หรือ เรื่องที่ทาการศึกษานั้นๆ

การประเมินด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
           ประเมินด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหรือค่าคะแนนที่ได้จากประเมินได้จ ากคะแนนจาก
การทดสอบหลังเรียนของผู้เรียนหลังจากการเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่พัฒนาตามแนว
คอนสตรัคติวิสต์ ถือเป็นมิติหนึ่งของการประเมินสื่อโดยทั่วไป ที่ทุกท่านคุ้นเคย ได้แก่ ประสิทธิภาพ
ของกระบวนการ/ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ หรือ E1/E2 หรือ ค่าดัชนีประสิท ธิผล (Index
effectiveness) ที่จะสะท้อนให้เห็นประสิทธิภาพของสื่อ
           นอกจากนี้ยังสามารถประเมินได้จากคะแนนจากการทดสอบหลังเรียนของผู้เรียนตาม
เกณฑ์ที่กาหนด เช่น การผ่านเกณฑ์ของรายวิชา หรือการผ่านเกณฑ์ของโรงเรียน เช่น กาหนดให้
ผู้เรียนทุกคนต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 65 ของคะแนนเต็ม เป็นต้น

คาถามสะท้อนความคิด

     ท่ า นคิ ด ว่ า การประเมิ น สื่ อ การสอนและสื่ อ การเรี ย นรู้ มี ค วาม
      แตกต่างกันอย่างไร
     ท่านจะมีแนวทางในการประเมินสื่อการเรียนรู้อย่างไร

กิจกรรมแนะนา

ให้ท่านออกแบบและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในเนื้อหาวิชาที่ท่านรับผิดชอบ
แล้วนาสื่อการเรียนรู้นั้น ไปประเมินหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้และ
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้

บรรณานุกรม
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้     167


ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2520). ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เปรื่อง กุมุท. (2519). เทคนิคการเขียนบทเรียนโปรแกรม.กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์
        มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
มนตรี แย้มกสิกร. (2549). การวิจัยและทฤษฎีเทคโนโลยีการศึกษา. ชลบุรี: หมาวิทยาลัยบูรพา.
มนตรี แย้มกสิกร. (2551). เกณฑ์ประสิทธิภาพในงานวิจัยและพัฒนาสื่อการสอน: ความแตกต่าง
        90290 Standard และ E1/E2. วารสารศึกษาศาสตร์. 19 (1) ตุลาคม 2550-2551.
        ชลบุร:ี หมาวิทยาลัยบูรพา.
สุมาลี ชัยเจริญ. (2547). การพัฒนารูปแบบการสร้างความรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ.
        ขอนแก่น: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุมาลี ชัยเจริญและคณะ. (2550). รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาโมเดลต้นแบบสิ่งแวดล้อม
        ทางการเรี ย นรู้ บ นเครื อ ข่ า ยที่ ส่ ง เสริ ม การสร้ า งความรู้ ต ามแนวคอนสตรั ค ติ วิ ส ต์ .
        ขอนแก่น: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุมาลี ชัยเจริญ. (2551).เทคโนโลยีการศึกษา: หลักการ ทฤษฎี สู่การปฏิบัติ.ขอนแก่น: คลังนานา
        วิทยา.

 Goodman R.I., K.A. Fletcher and E.W. Schneider. (1980). The Effectiveness Index as
       Comparative Measure in Media Product Evaluation. Educational
       Technology. 20(09) : 30-34 ; September.
Hannafin, M.J., Land, S., & Oliver, K. (1999). Open learning environments:
      Foundations, methods, and models.In Charles M.Reigeluth (Ed).
      Instructional design theories and models: A new paradigm of
      instructional theory. Volume II. London: Lawrence Erlbaum Associates.
Khan, Badrul H. (1997). Web-based Instruction. Englewood Cliffs, New Jersey:
       Education Technology Publication.

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล
6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล
6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูลNitinop Tongwassanasong
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Lek Suthida
 
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring RubricsTeaching & Learning Support and Development Center
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรChainarong Maharak
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวนSuradet Sriangkoon
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำAj.Mallika Phongphaew
 
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...ssuser920267
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติพัน พัน
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.คkrupornpana55
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)อัจฉรา นาคอ้าย
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
ทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลNusaiMath
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page
 ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page
ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
กำหนดการสอนอนุบาล1
กำหนดการสอนอนุบาล1กำหนดการสอนอนุบาล1
กำหนดการสอนอนุบาล1kruuni
 

Mais procurados (20)

Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผลStat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
 
6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล
6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล
6 เครื่องมือ,การเก็บข้อมูล
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)
 
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...
วิทย์ ม.2 บทที่ 5 งาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย (คาน รอก พื้นเอียง ลิ่ม ล้อ...
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)บทที่  1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับพลังงาน (2)
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
ทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบล
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page
 ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page
ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page
 
กำหนดการสอนอนุบาล1
กำหนดการสอนอนุบาล1กำหนดการสอนอนุบาล1
กำหนดการสอนอนุบาล1
 

Destaque (20)

บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
Story board
Story boardStory board
Story board
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
 
Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theories
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
 

Semelhante a บทที่ 10

Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Teerasak Nantasan
 
งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10Pronsawan Petklub
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__N'Fern White-Choc
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้pohn
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__sinarack
 
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10Vi Mengdie
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Sasitorn Seajew
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Sasitorn Seajew
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Sasitorn Seajew
 
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Ged Gis
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.Pattarapong Worasakmahasan
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7honeylamon
 
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียกิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียarisara
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอนguest283582b
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7yuapawan
 

Semelhante a บทที่ 10 (20)

Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10งานกลุ่ม Chapter 10
งานกลุ่ม Chapter 10
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
 
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
Innovation chapter 10
Innovation chapter 10Innovation chapter 10
Innovation chapter 10
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้.
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
Curriculum to learn
Curriculum to learnCurriculum to learn
Curriculum to learn
 
241203 chapter10
241203 chapter10241203 chapter10
241203 chapter10
 
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียกิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

Mais de Rathapon Silachan

Mais de Rathapon Silachan (6)

งานนำเสนอ1 แก้ไข
งานนำเสนอ1 แก้ไขงานนำเสนอ1 แก้ไข
งานนำเสนอ1 แก้ไข
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

บทที่ 10

  • 2. บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ 155 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
  • 3. บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ 156 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ บทที่ 10 โครงร่างเนื้อหาของบท คาสาคัญ 1. การประเมินสื่อการสอน  E1/E2  ค่าดัชนีประสิทธิผล 2. การประเมินสื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้  การประเมินเพื่อ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ปรับปรุง 1. อธิบายหลักในการประเมินสื่อการสอน สื่อการเรียนรู้และ  การประเมินผลลัพธ์ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ได้  การประเมินด้านผลผลิต 2. เปรียบเทียบความแตกต่างของแนวคิดการประเมินสื่อการ สอน สื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ได้  การประเมินด้านบริบท 3. สามารถประเมินสื่อการเรียนรูได้้  การประเมินด้านความ คิดเห็นผู้ใช้ กิจกรรมการเรียนรู้  การประเมินด้าน 1. ผู้สอนให้มโนทัศน์เชิงทฤษฎี หลักการ เรื่อง การประเมิน ความสามารถทาง คุณภาพสื่อการเรียนรู้ ปัญญา 2. นักศึกษาแบ่งเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 3 คน ศึกษา สถานการณ์ปัญหา วิเคราะห์ทาความเข้าใจค้นหาคาตอบ  การประเมินด้าน จากเอกสารประกอบการสอนและแหล่งเรียนรู้บนเครือข่าย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และร่วมกันสรุปคาตอบ 3. นักศึกษาเลือกสื่อการเรียนรู้และทาการประเมินสื่อตาม หลักการ 4. นักศึกษานาเสนอผลงาน ร่วมกันสรุปองค์ความรู้และ แลกเปลียนความคิดเห็น โดยผู้สอนตั้งประเด็น และอธิบาย ่ เพิ่มเติม สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) ท่านเป็นศึกษานิเทศก์ซึ่งรับผิดชอบหน้าที่ในการพัฒนาครูเกี่ยวกับ การออกแบบและผลิต สื่อวันหนึ่งมีครูสองคนมาปรึกษาว่าจะมีวิธีการที่ทาให้รู้ว่าสื่อที่สร้างขึ้นมานั้นมีคุณภาพได้อย่างไร ซึ่ง
  • 4. บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ 157 มีรายละเอียดดังนี้ ครูสายใจเป็นครูสังคมศึกษาได้พัฒนาชุดการสอน ครูสมหญิงเป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ได้พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ครูมาโนชเป็นสอนวิชาภาษาได้พัฒนาชุดสร้างความรู้ ครูประพาสเป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อใช้ใน การเรียนของตนเอง ภารกิจ 1. เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อให้สอดคล้องกับลักษณะของสื่อของครูแต่ละคนพร้อม ทั้งให้เหตุผล 2. อธิบายข้อจากัดของการประเมินสื่อการสอน 3. เปรียบเทียบความแตกต่างของแนวคิดการประเมินสื่อการสอน สื่อการเรียนรู้และ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ การประเมินสื่อการเรียนรู้และ การประเมินสื่อการสอน สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ สาระสาคัญ ในบทที่ 10 ปัจจุบันสื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนมีหลายรูปแบบที่นักออกแบบได้พัฒนาขึ้น ซึ่ง อาศั ย พื้ น ฐานทฤษฎี ใ นการออกแบบที่ แ ตกต่ า งกั น ไป โดยขึ้ น อยู่ กั บ เป้ า ประสงค์ ข องการเพิ่ ม ศักยภาพของการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน ดังที่ได้กล่าวมาแล้วในบทที่ 2, 3 และ 4 ที่ได้แสดงให้เห็นถึง กระบวนทัศน์ที่เปลี่ยนไปของสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งสามารถสรุป ลักษณะของสื่อได้สอง แนวคิ ดคื อ สื่ อการสอนและสื่ อการเรี ย นรู้ สื่ อการสอนเน้ นที่ การถ่า ยทอดบนพื้ นฐานของกลุ่ ม พฤติกรรมนิยมที่มุ่งเน้นการออกแบบเพื่อจดจาความรู้ ส่วนสื่อการเรียนรู้มุ่งเน้นที่ให้ผู้เรียนได้สร้าง การเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งการออกแบบก็จะเตรียมสิ่งต่างๆไว้สนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียนใน การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว อันเป็นที่มาของคาว่า สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ดังนั้น เมื่อพื้นฐานแนวคิดและการออกแบบที่แตกต่างกันของสื่อ วิธีการประเมินสื่อจึงมีความแตกต่างกัน
  • 5. บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ 158 ด้วย ในบทนี้จะได้นาเสนอวิธีการประเมินคุณภาพของสื่อในสองลักษณะคือ การประเมินสื่อการ สอน และการประเมินสื่อการเรียนรู้ ดังรายละเอียดที่จะได้นาเสนอต่อไปนี้ การประเมินสื่อการสอน จากนิยามของสื่อการสอนที่เป็นเพียงตัวกลางที่ถ่ายทอดเนื้อหาหรือความรู้ มีอิทธิพล ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้ที่อยู่บนพื้นฐานที่ว่าความรูเ้ ป็นสิงที่หยุดนิ่ง ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้น ่ หากใครสามารถรับหรือจดจาความรู้ได้มากที่สุดก็ถือว่าผู้นั้นเป็นผู้ที่เรียนรู้ได้ดีที่สุดและนั่นคือ เป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ของครู แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ดังกล่าวจะสอดคล้องกับแนวคิด กลุ่ ม พฤติ ก รรมนิ ย ม ซึ่ ง เชื่ อ ว่ า การเรี ย นรู้ คื อ การเปลี่ ย นแปลงพฤติ ก รรม ซึ่ ง เป็ น ผลมาจาก ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง ซึ่งการเรียนรู้นั้นจะคงทนหากได้รับการเสริมแรง การฝึกหัด การทาซ้าๆ เป็นต้น บทบาทของผู้เรียนจึงเป็นผู้ที่รอรับความรู้ที่จะได้รับการถ่ายทอด โดยตรงจากครู แนวคิ ดดั งกล่า วน ามาซึ่งการพั ฒนาเป็น สื่อการสอน ได้ แก่ บทเรี ยนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ชุดการสอน เป็นต้น แนวคิดการทดสอบประสิทธิภาพสื่อการสอนที่นิยมใช้ในปัจจุบันมี 2 แนวปฏิบัติคือ (1) ประเมินโดยอาศัยเกณฑ์ และ (2) ประเมินโดยการเปรียบเทียบค่าทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน (ค่าดัชนีประสิทธิผล: EI) ดังรายละเอียดที่จะนาเสนอต่อไปนี้ การประเมินโดยอาศัยเกณฑ์ แนวคิดการประเมินโดยอาศัยเกณฑ์จะมีการกาหนดค่าตัวเลขขึ้นมาเพื่อเป็นสิงที่จะระบุถึง ่ ประสิทธิภาพของสื่อ ในปัจจุบันการกาหนดเกณฑ์นิยมปฏิบัติใน 2 แนวทาง คือ (1) ยึดเกณฑ์ มาตรฐาน 90/90 ของเปรื่อง กุมุท และ (2) ยึด E1/E2 ของชัยยงค์ พรหมวงศ์ (มนตรี แย้มกสิกร, 2550) (1) เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 เป็นวิธีการที่ได้รับการพัฒนามาเพื่อประเมินประสิทธิภาพ ของบทเรียนโปรแกรม มีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้แบบรอบรู้ (Mastery learning) นิยามของเกณฑ์ มาตรฐาน 90/90 นั้นได้อธิบายไว้ว่า 90 ตัวแรกเป็นคะแนนของทั้งกลุ่ม ซึ่งหมายถึงนักเรียนทุกคน เมื่อสอนครั้งหลังเสร็จให้ คะแนนเสร็จ นาคะแนนมาหาค่าร้อยละให้หมดทุกคะแนน แล้วหาค่าร้อยละเฉลี่ยของทั้งกลุ่ม ถ้ า บทเรียนโปรแกรมถึงเกณฑ์ค่าร้อยละเฉลี่ยของกลุ่มจะต้องเป็น 90 หรือสูงกว่า (เปรื่อง กุมุท, 2519) 90 ตัวที่สองแทนคุณสมบัติที่ว่า ร้อยละ 90 ของนักเรียนทั้งหมด ได้รับผลสัมฤทธิ์ตามมุ่ง หมายแต่ละข้อ และทุกข้อของบทเรียนโปรแกรม วิธีการคานวณค่าประสิทธิภาพสื่อ 1. สร้างตารางบันทึกผลการสอบหลังเรียน โดยนาผลการทดสอบหลังเรียนของผู้เรียนมา บันทึกค่าคะแนนไปในแต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนดไว้ 2. ตรวจผลการสอบของผู้เรียนแต่ละคน ดาเนินการตรวจผลการสอบว่าผู้เรียนแต่ละคนได้ คะแนนจากการสอบหลังเรียนกี่คะแนน 3. พิจารณาผลการสอบว่าผ่านเกณฑ์ตามที่กาหนดไว้ในวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมเท่าใด ดาเนินการพิจารณาผู้เรียนเป็นรายบุคคลว่ามีวัตถุประสงค์ใดบ้างที่ผ่านและไม่ผ่านเกณฑ์
  • 6. บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ 159 4. คานวณประสิทธิภาพโดยใช้สูตรคานวณดังนี้ 90 ตัวแรก ={(∑X /N) X 100)}/R 90 ตัวแรก หมายถึง จานวนร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน ∑X หมายถึง คะแนนรวมของผลการทดสอบที่ผู้เรียนแต่ละคน ทาได้ถูกต้อง จากการทดสอบหลังเรียน N หมายถึ ง จ านวนผู้ เ รี ย นทั้ ง หมดที่ ใ ช้ เ ป็ น กลุ่ ม ตั ว อย่ า งในการค านวณ ประสิทธิภาพครั้งนี้ R หมายถึง จานวนคะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน 90 ตัวหลัง = (Y x 100)/ N 90 ตัวหลัง หมายถึง จานวนร้อยละของผู้เรียนที่สามารถทาแบบทดสอบผ่านทุก วัตถุประสงค์ Y หมายถึง จานวนผู้เรียนที่สามารถทาแบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์ N หมายถึง จานวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคานวณประสิทธิภาพครั้งนี้ (2) การทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 เป็นแนวคิดการประเมินที่ เกิดขึ้นเพื่อประเมินประสิทธิภาพของชุดการสอนและสื่อการสอนประเภทต่างๆ ยกเว้น บทเรียน โปรแกรม ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของกลุ่มพฤติกรรมนิยมที่ต้องการประเมินผลพฤติกรรมของผู้เรียนใน 2 ประเภท คือ พฤติกรรมต่อเนื่อง (กระบวนการ) และพฤติกรรมสุดท้าย (ผลลัพธ์) โดยกาหนดค่า ประสิทธิภาพเป็น E1 (ประสิทธิภาพของกระบวนการ) E2 (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์) นิยาม ประสิทธิภาพ E1/E2 E1 หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่เกิดจากการทากิจกรรมระหว่างเรียนจากชุดการ สอนหรือสื่ออื่นๆ ของผู้เรียน (ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้) E2 หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่เกิดจากการทาแบบทดสอบหลังการเรียนของ ผู้เรียน (ประสิทธิภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้) การคานวณโดยใช้สูตร E1 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้ ∑X หมายถึง ผลรวมของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทุกคน (N คน) N หมายถึง จานวนผู้เรียนที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอนครั้งนี้ A หมายถึง คะแนนเต็มของกิจกรรมระหว่างเรียน E2 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพของผลลัพธ์การเรียนรู้ ∑F หมายถึง ผลรวมของคะแนนกิจกรรมระหว่างเรียนของผู้เรียนทุกคน (N คน) N หมายถึง จานวนผู้เรียนที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอนครั้งนี้ B หมายถึง คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน
  • 7. บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ 160 การประเมินโดยค่าดัชนีประสิทธิผล การวิเคราะห์ค่าดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness index: E.I.) เป็นอีกวิธีที่ใช้ในการ ประเมินประสิทธิภาพสื่อการสอน ซึ่งนิยมใช้วิธีของ Goodman, Fletcher and Schneider (1980) โดยดัชนีประสิทธิผลที่ใช้ได้ควรมีค่า 0.50 ขึ้นไป สูตรการหาค่าดัชนีประสิทธิผล จะเขียนในรูปของร้อยละ ซึ่งผลการคานวณจะได้เท่ากับผลการคานวณจากคะแนนดิบ ดัชนีประสิทธิผล = ร้อยละของผลรวมของคะแนน – ร้อยละของผลรวมของคะแนนก่อนเรียน 100 – ร้อยละของผลรวมของคะแนนก่อนเรียน E.I. = P2% - P1% 100 – P1% เมื่อ P1% แทน ร้อยละของผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียน P2% แทน ร้อยละผลรวมของคะแนนทดสอบหลังเรียน ตัวอย่างการคานวณค่าดัชนีประสิทธิผล คนที่ ผลการทดสอบ (100 คะแนน) คะแนนทดสอบก่อนเรียน คะแนนทดสอบหลังเรียน 1 73 80 2 74 83 3 75 88 4 72 82 5 85 90 6 70 78 7 80 93 8 76 86 9 75 84 10 73 89 11 76 85 12 79 83 รวม (∑x) 908 1021 ร้อยละ 75.67 85.08 นาผลร้อยละของผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน มาวิเคราะห์หาค่า ดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness Index: E.I.) E.I. = 85.08 – 75.67 100 – 75.67
  • 8. บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ 161 วิเคราะห์ค่าดัชนีประสิทธิผลของความก้าวหน้าทางพัฒนาการเรียนรู้เท่ากับ 0.38 หรือคิดเป็นร้อย ละ 38.0 แสดงว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้าทางพัฒนาการการเรียนรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 38 วิธีการประเมินประสิทธิภาพของสื่อ การทั้ง 2 วิธีการดังกล่าวข้างต้นนั้นมีขั้นตอนการหา ประสิทธิภาพเริ่มตั้งแต่ การทดลองแบบกลุ่มต่อหนึ่ง (One to one testing) แล้วนาสื่อมาทดลอง กับกลุ่มเล็ก (Small group testing) และท้ายสุดทาการทดลองภาคสนาม (Field testing) และ อาจใช้วิธีการหาค่าประสิทธิภาพกระบวนการ (E1)/ผลลัพธ์ (E2) หรืออาจใช้วิธีการหาค่าดัชนี ประสิทธิผล (Effectiveness index หรือ E.I.) ค่าประสิทธิภาพดังกล่าว ล้วนแต่เป็นค่าที่ได้จากการ ทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ซึ่งจะได้เป็นเพียงเฉพาะค่าคะแนนที่เป็นตัวเลขเชิงปริมาณเท่านั้น ซึ่งหากเราพิจารณาความสอดคล้องกับ กระบวนทัศน์และลักษณะการออกแบบสื่อใน ปัจจุบันที่เป็นสื่อการเรียนรู้ หรือ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ที่มุ่งเน้นการปรับปรุงและพัฒนาให้ ผลผลิตที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ดังนั้น การประเมินที่นามาใช้ ควรมีลักษณะที่สอดคล้อง คือ การ ประเมินเพื่อปรับปรุง และการประเมินผลลัพธ์ ด้วยเหตุนี้การประเมินเพียงเฉพาะมิติด้านผลสัมฤทธิ์ ซึ่งใช้ข้อมูลเชิงปริมาณที่เป็นค่าคะแนน หรือตัวเลข อย่างเดียว อาจให้รายละเอียดไม่เพียงพอที่จะ นามาสู่การปรับปรุงในกระบวนการพัฒนา ซึ่งสุมาลี ชัยเจริญ (2545) ได้เสนอวิธีการประเมิน ประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ดังรายละเอียดที่จะได้นาเสนอต่อไปนี้ การประเมินสื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ สุมาลี ชัยเจริญ (2551) ได้อธิบายว่า ภายหลังกระบวนทัศน์การประเมินที่เปลี่ยนแปลง จากสื่อเพื่อการถ่ายทอดมาสู่สื่อหรือเทคโนโลยีทางปัญญา (Cognitive technology) ที่มุ่งเน้นการ ส่งเสริมกระบวนการรู้คิดหรือกระบวนการทางพุทธิปัญญา(Cognitive process) และแนวโน้มใน ปัจจุบันทฤษฎีในกลุ่มพุ ทธิปัญญานิยมและกลุ่มคอนสตรัคติวิ สต์ที่นิยามการเรียนรู้คือการสร้าง ความรู้ของผู้เรียน ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผู้เรียน การประเมินที่อาศัยข้อมูล เชิงปริมาณที่เป็นค่าคะแนนหรือตัวเลขอาจไม่เพียงพอที่จะนามาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนา ประสิทธิภาพการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในกระบวนการรู้คิดภายในสมอง ตลอดจนระบบสัญลักษณ์ของสื่อ ที่พิจารณาคุณลักษณ์ของสื่อในลักษณะที่เป็นภาพ เสียง ที่ส่งผลต่อการประมวลสารสนเทศใน กระบวนการรู้คิดของผู้เรียน ควรเพิ่มเติมข้อมูลเชิงคุณ ภาพ จะช่วยให้สามารถนามาปรับปรุง สื่อ นวัตกรรมการเรียนรู้ หรือสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้มีคุณภาพหรือประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะน าเสนอหลั ก การที่ ส าคั ญ ที่ ควรพิ จ ารณา ประกอบด้ ว ย (1) การประเมิ นด้ า นผลผลิ ต (2) การประเมินบริบทการใช้ (3) การประเมินด้านความสามารถทางสติปัญญา (4) การประเมิน ด้านความคิดเห็น (5) การประเมินผลสัมฤทธิ์ ซึ่งจะได้อธิบายบนพื้นฐานการวิจัยซึ่งผู้เขียนได้ศึกษา ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้ (สุมาลี ชัยเจริญ, 2550) การประเมินด้านผลผลิต ประเมินผลผลิต เป็น ประเมินคุณภาพของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ โดยการตรวจสอบ คุณภาพด้านต่างๆโดยผู้เชี่ ยวชาญ ด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านเนื้อหา ด้านการออกแบบสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ ด้านสื่อ และด้านประเมินผล ซึ่งมีรายละเอียดและหลักการที่สาคัญในแต่ละด้านดังนี้ (1) ด้านเนื้อหา
  • 9. บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ 162 เป็นการตรวจสอบเนื้อหา โดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา จะทาการตรวจสอบเนื้อหาในด้าน ต่างๆ ผู้เชี่ยวชาญอาจเป็นครูผู้สอน หรือผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ หรือมีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับ เนื้อหาเรื่องที่จะประเมิน หลักการสาคัญที่นามาเป็นพื้นฐานในการพิจารณาเนื้อหาที่นามาใช้ในการ เรียนรู้ (Khan, Badrul H,1997; Hannafin and Other,1999) ดังรายละเอียดต่อไปนี้  ความถูกต้อง  ความน่าสนใจ  ความเหมาะสมกับสาระในสาขาวิชา  มีความทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน  เนื้อหา มีความครอบคลุมเรื่องที่จะศึกษา มีความชัดเจน และเอื้อต่อการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ หรือการสร้างความรู้ของผู้เรียน  ภาษาที่ใช้สามารถสื่อได้ตรงกับความคิดรวบยอด(Concept)ในการเรียนรู้ หรือความ กะทัดรัด เป็นลาดับขั้นและง่ายต่อการทาความเข้าใจ  ความเหมาะสมกับวิธีการหรือหลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้  รูป แบบการน าเสนอเนื้ อหา การนาเสนอเนื้ อหามี รูป แบบการนาเสนอที่ น่า สนใจ ประมวลสารสนเทศได้ง่าย และช่วยให้เกิดการเรียนรู้ได้ดี  ความสอดคล้องของเนือหาภาพประกอบ และช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี ้ (2) ด้านสื่อ ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อ จะทาการตรวจสอบเกี่ยวกับคุณภาพการออกแบบสื่อ คุณลักษณะ ของสื่อชนิดต่างๆ ซึ่งจะแตกต่างกันไป เช่น สื่อบนเครือข่าย มัลติมีเดีย สื่อสิ่งพิมพ์ ในที่นี้ผู้เขียน นาเสนอตัวอย่างหลักการพื้นฐานที่ใช้ในการพิจารณาสื่อบนเครือข่ายของ Khan, B.H, Vega R. (1997), Hannafin (1999) และ ชุดสร้างความรู้ ดังมีรายละเอียด ต่อไปนี้ 2.1 สื่อบนเครือข่าย 2.1.1 การออกแบบเครื่องนาทาง (Navigator) ช่วยในการค้นหาหาสารสนเทศ 2.1.2 การออกแบบเครื่องนาทางมีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกันและมีความคงที่ 2.1.3 สัญลักษณ์ที่เป็นไอคอน (Icon) สามารถสื่อความหมายเกี่ยวกับแหล่งสารสนเทศ ต่างๆ 2.1.4 การเชื่อมโยง (Link) ช่วยให้สามารถเข้าถึงสารสนเทศต่างๆ 2.1.5 ประสิทธิภาพของ รูปแบบการสนทนา (post) ผ่านเครือข่าย (web) 2.1.6 การออกแบบองค์ประกอบทางศิลปะ (architecture) บนเครือข่ายมีความ เหมาะสม สะดุดตา น่าสนใจ 2.1.7 ภาพและขนาดของตัวอักษรที่ใช้มีความสอดคล้องกับเนื้อหาและส่งเสริมการ เรียนรู้ 2.2 ชุดสร้างความรู้ มีหลักการสาคัญที่นามาเป็นพื้นฐานในการพิจารณาคุณลักษณะของสื่อดังนี้ 2.2.1 การนาเสนอเนื้อหาที่ดึงดูดความใส่ใจของผู้เรียน ได้แก่ การใช้ตัวหนังสือที่มี การเน้นด้วยสี การนาเสนอด้วยภาพนิ่ง 2.2.2 การออกแบบองค์ประกอบทางศิลปะ มีความเหมาะสม สะดุดตา น่าสนใจ 2.2.3 ภาพประกอบมีความสอดคล้องกับเนื้อหาและส่งเสริมการเรียนรู้
  • 10. บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ 163 ขนาดของตัวอักษรที่ใช้มีความสอดคล้องกับเนื้อหา 2.2.4 การใช้ขนาดตัวอักษรเหมาะกับผู้เรียน มีจุดดึงดูดความสนใจและอ่านง่าย 2.2.5 ภาพกราฟิกที่ใช้ประกอบ มีความเหมาะสม สอดคล้องกับเนื้อหา และทาให้ สามารถเรียนรู้ได้ดีและง่ายมากยิ่งขึ้น 2.2.6 การใช้สีมีความเหมาะสม กลมกลืน ดึงดูดความสนใจ (3) การออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ในการออกแบบตามแนวคอนสตรั ค ติ วิ ส ต์ ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการออกแบบ จะท าการ ตรวจสอบการออกแบบการสอนที่อาศัยพื้นฐานทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ซึ่งนาหลักการสาคัญของ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา ของ Piajet และ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคมของ Vygotsky มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ หรือเรียกว่า การนาทฤษฎีสู่การปฏิบัติ ที่อยู่ในลักษณะองค์ประกอบ ที่สาคัญ ได้แก่ สถานการณ์ปัญหา ธนาคารความรู้ ฐานการช่วยเหลือ การร่วมมือกันแก้ปัญหา ดัง รายละเอียด ต่อไปนี้ (สุมาลี ชัยเจริญ, 2551) 3.1 การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้โดยการปฏิบัติจริง 3.2 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนควบคุมการเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง (Learner control) 3.3 สถานการณ์ปัญหากระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเสาะแสวงหาความรู้ หรื อ ค้นหา ค้นพบคาตอบด้วยตนเอง 3.4 ระดับภาระกิจการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถในการคิดขั้นสูง 3.5 ภาระกิจการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ ไตร่ตรองประเด็นปัญหาที่ ต้องการค้นหาคาตอบ 3.5 ธนาคารความรู้ (Resource) มีการออกแบบที่สนับสนุนข้อมูลให้ผู้เรียนสามารถค้นหา สารสนเทศจากแหล่งต่างๆอย่างหลากหลาย เพื่อนามาใช้ในการแก้สถานการณ์ปัญหาที่กาหนดให้ รวมทั้งช่วยสนับสนุนในการสร้างความรู้ของผู้เรียน 3.6 เครื่องมือทางปัญญา (Cognitive tool) ในการเรียน กระตุ้นกระบวนการคิดของ ผู้เรียนและเกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการเรียน 3.7 ฐานการช่วยเหลือ (scaffolding) ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ความพยายามในการเรียนรู้ 3.8 กรณีใกล้เคียง (Related case) ส่งเสริมให้ผู้เรียนเชื่อมโยงประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการแก้ปัญหาได้ 3.9 ห้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการออกแบบที่สนับสนุ นให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาร่วมกัน 3.10 การโค้ช (coaching) โดยครูผู้สอนทาการวิเคราะห์ผู้เรียน สามารถสื่อสารและ สะท้อนผลเกี่ยวกับผู้เรียนในกระบวนการเรียนรู้ และกระตุ้นให้ผู้เรียนกระทาภารกิจการเรียนรู้อย่าง ตื่นตัว ประเมินบริบทการใช้ในสภาพจริง การประเมินบริบทการใช้ในสภาพจริง หรือเป็นการนาไปทดลองใช้ เพื่อศึกษาเพื่อหา บริบทที่เหมาะสมในการใช้สื่อการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ในสภาพจริง เช่น จานวน สมาชิกในกลุ่มที่เรียนแบบร่วมมือกันแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ในกิจกรรมการแก้ปัญหาที่ใช้ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย (Web-based learning environment) เป็นต้น รวมทั้งนา
  • 11. บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ 164 ข้อคิดเห็นของผู้เรียนที่เรียนด้วยสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของสื่อบนเครือข่ายหรือข้อบกพร่อง ต่างๆของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ เพื่อเป็นพื้นฐานในการปรับปรุง แก้ไข สิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้บนเครือข่าย ดังรายละเอียด ต่อไปนี้ 1) ศึกษาบริบทที่เหมาะสมในการใช้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของสื่อบนเครือข่ายอย่างมี ประสิทธิภาพในสภาพจริง เช่น จานวนสมาชิกในกลุ่มที่เรียนแบบร่วมมือกันแก้ปัญหา อาจทาได้โดย ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หรือ ให้ผู้เรียนทาการทดลองใช้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ โดยอาจจัดกลุ่มที่อาศัยพื้นฐานกระบวนการกลุ่ม คือ จานวน 2-5 คน ในการทดลอง อาจจัดกลุ่ม เป็นกลุ่มละ 2 คน 3 คน 4 คน หรือ 5 คน และให้แต่ละกลุ่มเรียนด้วยการร่วมมือกันแก้ปัญหา (Collaborative learning) แล้วทาการสัมภาษณ์ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเกี่ยวกับจานวนสมาชิกในกลุ่มที่ มีประสิทธิภาพสูงสุด ในการเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ โดยใช้วิธีการร่วมมือกันแก้ปัญหา 2) ทดลองใช้เพื่อนามาปรับปรุงแก้ไข นาข้อคิดเห็นของผู้เรียนที่เรียนด้วยสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ของสื่อบนเครือข่าย มาเป็นพื้นฐานในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ อาจทา โดยการให้ผู้เรียนตอบแบบสอบถาม แบบสารวจ หรือ สัมภาษณ์เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ การ ออกแบบ หรือ การใช้ ฯลฯ เพื่อนาข้อคิดเห็นของผู้เรียนมาเป็นพื้นฐานในการแก้ไข ปรับปรุงให้มี ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ก่อนที่จะนาไปใช้ในสภาพจริง ประเมินด้านความคิดเห็นของผู้เรียน ความคิดเห็นของผู้เ รียนเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ เป็นส่ วนหนึ่ งที่ส ะท้อ น เกี่ยวกับประสิทธิภาพสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ มิใช่เพียงแต่ค่าคะแนนที่ได้จากผู้เรียนที่ได้เรียน ทาได้เช่น ค่า E1/E2 เท่านั้น นอกจากนี้ผลของความคิดเห็นฯของผู้เรียน สามารถนามาเป็นพื้นฐาน ในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ฯ การประเมินคุณภาพของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ อาศัยพื้นฐานด้านที่สาคัญ ได้แก่ (1) ด้านคุณลักษณะของสื่อบนเครือข่าย (2) ด้านเนื้อหาในการเรียนรู้ และ (3) ด้านการออกแบบ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ การประเมินความคิดเห็นของผู้เรียนที่เรียนด้วยสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ของสื่อบนเครือข่าย ทั้ง 3 ด้านดังกล่าวข้างต้น จะสะท้อนให้เห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพของ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของสื่อบนเครือข่าย และสามารถนาข้อคิดเห็นดังกล่าว มาเป็นพื้นฐานใน การปรั บ ปรุ ง แก้ ไข สิ่งแวดล้ อมทางการเรีย นรู้ บนเครื อ ข่า ยให้ มี ประสิท ธิ ภาพเพิ่ ม มากขึ้น ดั ง รายละเอียดในแต่ละด้านที่อาศัยกรอบแนวคิดการประเมินเกี่ยวกับด้านต่างๆมีความคล้ายคลึงกับ การประเมินของผู้เชี่ยวชาญ ดังต่อไปนี้ (1) ด้านคุณลักษณะของสื่อบนเครือข่าย 1.1 การออกแบบเครื่องนาทาง (Navigator) ช่วยในการค้นหาหาสารสนเทศ 1.2 การออกแบบเครื่องนาทางมีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกันและมีความคงที่ 1.3 สัญลักษณ์ที่เป็นไอคอน (Icon) สามารถสื่อความหมายเกี่ยวกับแหล่งสารสนเทศ ต่างๆ 1.4 การเชื่อมโยง (Link) ช่วยให้สามารถเข้าถึงสารสนเทศต่างๆ 1.5 ประสิทธิภาพของ รูปแบบการสนทนา (post) ผ่านเครือข่าย (web) 1.6 การออกแบบองค์ประกอบทางศิลปะ (architecture) บนเครือข่าย มีความ เหมาะสม สะดุดตา น่าสนใจ
  • 12. บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ 165 1.7 ภาพและขนาดของตัวอักษรที่ใช้มีความสอดคล้องกับเนื้อหาและส่ งเสริมการ เรียนรู้ (2) ด้านเนื้อหาในการเรียนรู้ สาหรับเนื้อหาที่นามาใช้ หลักการสาคัญที่นามาเป็นพื้นฐานในการพิจารณาเนื้อหาที่ นามาใช้ในการเรียนรู้ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 2.1 ความถูกต้อง 2.2 ความน่าสนใจ 2.3 ความเหมาะสมกับสาระในสาขาวิชา 2.4 มีความทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบน ั 2.5 เนื้อหา มีความครอบคลุมเรื่องที่จะศึกษา มีความชัดเจน และเอื้อต่อการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ หรือการสร้างความรู้ของผู้เรียน 2.6 ภาษาที่ใช้สามารถสื่อได้ตรงกับความคิดรวบยอด (Concept) ในการเรียนรู้ หรือความกะทัดรัด เป็นลาดับขั้นและง่ายต่อการทาความเข้าใจ 2.7 ความเหมาะสมกับวิธีการหรือหลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ 2.8 รูปแบบการนาเสนอเนื้อหา การนาเสนอเนื้อหามีรูปแบบการนาเสนอที่น่าสนใจ 2.9 ความสอดคล้องของเนื้อหาภาพประกอบ และช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการ เรียนรู้ที่ดี (3) ด้านการออกแบบตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ หลักการสาคัญที่นามาเป็นพื้น ฐานในการพิจารณาการออกแบบตามแนวคอนสตรัคติวิ สต์มีรายละเอียดต่อไปนี้ 3.1 สถานการณ์ ปั ญ หา (Problem-based Learning) ช่ ว ยกระตุ้ น ให้ ผู้ เ รี ย น ต้องการเข้าไปทาการเรียนรู้ 3.2 แหล่ ง ข้ อ มู ล (Resources) ช่ ว ยสนั บ สนุ น ให้ ผู้ เ รี ย นสามารถค้ น พบค าตอบ (Discovery) หรือข้อความรู้ที่ใช้ในการแก้ปัญหา 3.3 ชุ ม ชนแห่ ง การเรี ย นรู้ ช่ ว ยสนั บ สนุ น สารสนเทศ ให้ ผู้ เ รี ย นเกิ ด แนวคิ ด ที่ หลากหลาย 3.4 กรณีที่เกี่ยวข้อง (Related case)ให้ผู้เรียนสามารถถ่ายโยงความรู้หรือสามารถ นาความรู้ที่ได้จากการศึกษาเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาในบริบทอื่นๆได้ 3.5 เพื่อนทางปัญญา (Collaboration)ช่วยสนับสนุนกระบวนการแก้ปัญหาและ เกิดความเข้าใจที่ลึกซึ้งในการเรียน 3.6 ฐานความช่วยเหลือ (Scaffolding)ช่วยให้ผู้เรียนสามารถคิดแก้ปัญหาได้ มีการ แนะนาเกี่ยวกับแนวทางในการแก้ปัญหา รวมทั้งช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความพยายามในการ เรียนรู้อย่างรู้ตัว (Mindfulness) 3.7 การโค้ช(Coaching) ช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนคิด ค้นหาคาตอบรวมถึงกระทา ภารกิจการเรียนรู้อย่างตื่นตัว การประเมินด้านความสามารถทางปัญญาของผู้เรียน
  • 13. บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ 166 ความสามารถทางปัญญาของผู้เรียน ถือเป็นอีกมิติหนึ่งที่จะสะท้อนให้เห็นประสิทธิภาพ ของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายที่ส่งเสริมการสร้างความรู้ฯ นอกเหนือจากการประเมิน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหรือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ/ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ หรือ E1/E2 เท่านั้น ความสามารถ(Performance) ทางสติปัญญาของผู้เรียน อาจสามารถประเมินได้จากการ กระทาที่แสดงออกโดยตรงจาการทางานด้านต่างๆ โดยจะมุ่งเน้นการแสดงออกในเชิงพุทธิปัญญา (Cognitive) มากกว่าพฤติกรรม (Behavior) ที่แสดงออกมา ตัวอย่างเช่น สถานการณ์ที่กาหนดให้ ที่เป็นสภาพจริงหรือใกล้เคียงกับสภาพจริง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแก้ปัญหา หรือปฏิบัติงานจริง อาจ ประเมินได้จาก กระบวนการทางาน กระบวนการคิด (Cognitive process) โดยเฉพาะการคิดใน ระดับสูง (higher-order thinking) ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ การคิดวิพากษ์วิจารณ์ การคิดแบบ สร้างสรรค์ การคิดเชิงเหตุผล และทักษะทางการคิด (Thinking skill) เป็นต้น นอกจากนี้เป็นการ ประเมินเกี่ยวกับกระบวนการทางาน เช่น กระบวนการการแก้ปัญหา เป็นต้น สาหรับกรอบแนวคิด เชิงทฤษฎีที่นามาเป็นพื้นฐานในการประเมินนั้น จะขึ้นกับหลักการ ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องกับตัวแปร หรือ เรื่องที่ทาการศึกษานั้นๆ การประเมินด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ประเมินด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหรือค่าคะแนนที่ได้จากประเมินได้จ ากคะแนนจาก การทดสอบหลังเรียนของผู้เรียนหลังจากการเรียนด้วยสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่พัฒนาตามแนว คอนสตรัคติวิสต์ ถือเป็นมิติหนึ่งของการประเมินสื่อโดยทั่วไป ที่ทุกท่านคุ้นเคย ได้แก่ ประสิทธิภาพ ของกระบวนการ/ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ หรือ E1/E2 หรือ ค่าดัชนีประสิท ธิผล (Index effectiveness) ที่จะสะท้อนให้เห็นประสิทธิภาพของสื่อ นอกจากนี้ยังสามารถประเมินได้จากคะแนนจากการทดสอบหลังเรียนของผู้เรียนตาม เกณฑ์ที่กาหนด เช่น การผ่านเกณฑ์ของรายวิชา หรือการผ่านเกณฑ์ของโรงเรียน เช่น กาหนดให้ ผู้เรียนทุกคนต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 65 ของคะแนนเต็ม เป็นต้น คาถามสะท้อนความคิด  ท่ า นคิ ด ว่ า การประเมิ น สื่ อ การสอนและสื่ อ การเรี ย นรู้ มี ค วาม แตกต่างกันอย่างไร  ท่านจะมีแนวทางในการประเมินสื่อการเรียนรู้อย่างไร กิจกรรมแนะนา ให้ท่านออกแบบและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในเนื้อหาวิชาที่ท่านรับผิดชอบ แล้วนาสื่อการเรียนรู้นั้น ไปประเมินหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้และ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ บรรณานุกรม
  • 14. บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ 167 ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2520). ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เปรื่อง กุมุท. (2519). เทคนิคการเขียนบทเรียนโปรแกรม.กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. มนตรี แย้มกสิกร. (2549). การวิจัยและทฤษฎีเทคโนโลยีการศึกษา. ชลบุรี: หมาวิทยาลัยบูรพา. มนตรี แย้มกสิกร. (2551). เกณฑ์ประสิทธิภาพในงานวิจัยและพัฒนาสื่อการสอน: ความแตกต่าง 90290 Standard และ E1/E2. วารสารศึกษาศาสตร์. 19 (1) ตุลาคม 2550-2551. ชลบุร:ี หมาวิทยาลัยบูรพา. สุมาลี ชัยเจริญ. (2547). การพัฒนารูปแบบการสร้างความรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ. ขอนแก่น: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สุมาลี ชัยเจริญและคณะ. (2550). รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาโมเดลต้นแบบสิ่งแวดล้อม ทางการเรี ย นรู้ บ นเครื อ ข่ า ยที่ ส่ ง เสริ ม การสร้ า งความรู้ ต ามแนวคอนสตรั ค ติ วิ ส ต์ . ขอนแก่น: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สุมาลี ชัยเจริญ. (2551).เทคโนโลยีการศึกษา: หลักการ ทฤษฎี สู่การปฏิบัติ.ขอนแก่น: คลังนานา วิทยา. Goodman R.I., K.A. Fletcher and E.W. Schneider. (1980). The Effectiveness Index as Comparative Measure in Media Product Evaluation. Educational Technology. 20(09) : 30-34 ; September. Hannafin, M.J., Land, S., & Oliver, K. (1999). Open learning environments: Foundations, methods, and models.In Charles M.Reigeluth (Ed). Instructional design theories and models: A new paradigm of instructional theory. Volume II. London: Lawrence Erlbaum Associates. Khan, Badrul H. (1997). Web-based Instruction. Englewood Cliffs, New Jersey: Education Technology Publication.