SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 54
Baixar para ler offline
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องตน
(Introduction to Digital Video Production)




                                           ราชบดินทร สุวรรณคัณฑิ
                                      งานวิจัยเทคโนโลยีคลังขอมูล
            ฝายวิจยและพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเพื่อการคํานวณ
                   ั
               ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแห1ชาติ
                                                            ง
วัตถุประสงค

• เพื่อใหผูเรียนเขาใจขั้นตอนในการผลิตสื่อวิดีโอ
  ในระบบดิจิทัล และสามารถอธิบายขั้นตอนตางๆ
  ไดอยางถูกตอง
• เพื่อใหผูเรียนเขาใจพื้นฐานของการถายวิดีโอ
  และสามารถอธิบายหรือปฏิบติไดอยางถูกตอง
                                ั
• เพื่อใหผูเรียนเขาใจขั้นตอนในการตัดตอวิดีโอ
  และสามารถอธิบายหรือปฏิบติไดอยางถูกตอง
                                  ั
• เพื่อใหผูเรียนสามารถพัฒนาขอมูลวิดีโอที่ไดรับ
  การตัดตอแลวใหเปน Video CD หรือไฟลวิดีโอ
  สําหรับการเผยแพรผานอินเทอรเน็ต
                                             2
กําหนดการสอน

      เวลา                            หัวขอ
9.00 - 12.00 น.    - ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการผลิตสื่อ
                     วิดีโอดิจิทลั
                   - ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการถายวิดีโอ

13.30 – 16.30 น. - ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการตัดตอวิดีโอ
                 - การตัดตอวิดีโอดวยโปรแกรม Windows
                   Movie Maker
                 - การทํา VCD และ Streaming video



                                                              3
วิธีการเรียนการสอน

1. บรรยายในชั้นเรียน
2. สาธิตการใชงานอุปกรณ หรือโปรแกรม
   คอมพิวเตอรที่เกี่ยวของ
3. ใชการนําเสนอดวยคอมพิวเตอร และ
   อุปกรณ AV ที่เกี่ยวของ
4. การอภิปรายในชันเรียน
                     ้
5. การฝกภาคปฏิบัติ




                                4
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ
การผลิตสื่อวิดีโอดิจิทัล




                     5
อะไรคือสื่อวิดีโอในระบบดิจิทัล?

สื่อวิดโอในระบบดิจิทล (Digital video) หมายถึง ขอมูลวิดโอที่
       ี            ั                                   ี
ประกอบดวยภาพและเสียงที่ถกบันทึกในระบบดิจิทล หรือขอมูล
                            ู                   ั
ทีผานกระบวนการในการผลิตในระบบดิจิทล โดยอาศัยระบบ
   ่                                  ั
คอมพิวเตอร ไดแกการนําสัญญาณวิดีโอจากกลองวิดีโอเขาสู
เครื่องคอมพิวเตอร หรือการแปลงขอมูลวิดีโอใหอยูในรูปดิจิทล
                                                           ั
(Video capturing), การตัดตอหรือแกไขขอมูลวิดีโอ (Video
editing) และการนําขอมูลออกจากระบบคอมพิวเตอรไปอยูใน
รูปแบบที่ตองการ (Video exporting) เชน Video CD, DVD,
           
Streaming VDO



                                                       6
Analog video vs Digital video

วิดโอแอนาล็อก (Analog video) คือ ระบบวิดีโอที่เก็บ
   ี
ขอมูลภาพและเสียงในรูปแบบสัญญาณแมเหล็กไฟฟา
หรือสัญญาณตอเนื่อง เชน ระบบวิดีโอทีบนทึกขอมูลโดย
                                     ่ ั
ใชมวนเทป VHS


วิดโอดิจิทล (Digital video) คือ ระบบวิดีโอที่เก็บ
   ี      ั
ขอมูลภาพ และเสียงโดยใชเลขฐานสอง (เลข 0 และ
เลข 1) แทนคาของขอมูล เชน ระบบวิดีโอทีบนทึกขอมูล
                                          ่ ั
โดยใชมวนเทป MiniDV, DV CAM, DVD



                                              7
ขอดีของสื่อวิดีโอระบบแอนาล็อก

• วิดีโอระบบแอนาล็อก เปนระบบที่ใชมานาน ทําใหอุปกรณตางๆ
  สนับสนุนการตอเชื่อม และแสดงผลจากกลองวิดีโอ หรือเครื่อง
  เลนวิดีโอระบบแอนาล็อกเปนพืนฐาน
                              ้
• ราคาของสื่อที่ใชในการจัดเก็บขอมูล และสายสัญญาณที่ใชใน
  การตอเชื่อมมีราคาถูก สามารถหาไดงาย




                                                       8
ขอเสียของสื่อวิดีโอระบบแอนาล็อก

• สัญญาณถูกรบกวนไดงายเนืองจากใชสัญญาณไฟฟาในการ
                               ่
  บันทึกขอมูล ดังนันเมื่อมีการทําซ้ําของขอมูลหลายๆ ครั้ง
                    ้
  คุณภาพของภาพและเสียงจะลดลง นอกจากนันการสงขอมูลไป
                                                ้
  ยังปลายทางที่อยูหางกัน สัญญาณวิดีโออาจจะถูกรบจาก
  สนามแมเหล็ก ทําใหคุณภาพของภาพและเสียงลดลงจาก
  ตนฉบับ
• การเก็บบันทึกขอมูลใชมวนเทปที่มขนาดใหญ ทําใหกลองถาย
                                 ี
  วิดีโอในระบบแอนาล็อกมีขนาดใหญตามไปดวย




                                                      9
ขอดีของสื่อวิดีโอระบบดิจิทัล

• คุณภาพของภาพและเสียงจะดีกวาระบบการผลิตสื่อวิดีโอใน
  ระบบแแอนาล็อก ตัวอยางเชน ในกลองวิดีโอระบบดิจิทลจะให
                                                   ั
  ภาพทีความละเอียดอยางต่ํา 500 เสน ในขณะทีกลองวิดีโอ
       ่                                    ่
  ระบบ VHS จะใหภาพทีความละเอียดประมาณ 250 เสน
                     ่
• ไมมีการสูญเสียของสัญญาณเมื่อทําการทําซ้ําสือวิดีโอหลายครัง
                                              ่             ้
• อุปกรณที่เกี่ยวกับวิดีโอในระบบดิจิทลมีการออกแบบทีดีขึ้น
                                      ั             ่
  ในทางวิศวกรรม เชน กลองวิดีโอในระบบดิจิทลจะมีขนาดเล็ก
                                              ั
  แตมีประสิทธิภาพทีสูงกวากลองวิดีโอในระบบแแอนาล็อก
                       ่
• ระบบดิจิทลทําใหเกิดความงาย ไดแก งายตอการจัดเก็บ, งายตอ
           ั
  การตัดตอ, งายตอการเขาถึงขอมูล, งายตอการแปลงสัญญาณ
  เปนรูปแบบตางๆ และงายตอการปรับเปลี่ยนแกไข
                                                        10
ขอเสียของสื่อวิดีโอระบบดิจิทัล

• ตองใชคอมพิวเตอรทมีประสิทธิภาพสูงในการผลิตสื่อวิดโอใน
                      ี่                              ี
  ระบบดิจิทล มีฮารดดิสกทใหญ มีความเร็วสูง, มีโปรเซสเซอร
           ั              ี่
  และระบบบัสความเร็วสูง มีหนวยความจํา (RAM) จํานวนมาก
• ถาคอมพิวเตอรประสิทธิภาพไมสูงเพียงพอ อาจจะตองใชเวลา
  ในการผลิตสื่อมากกวาการผลิตสือในระบบแอนาล็อก
                               ่
• ตองใชงบประมาณในการซื้ออุปกรณสําหรับการผลิตสือวิดีโอ
                                                   ่
  ระบบดิจิทลคอนขางสูง ถาตองการใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
           ั




                                                       11
ตองใชอะไรบางในการผลิตสือวิดโอระบบดิจทัล?
                          ่   ี        ิ

 ในการผลิตสือวิดีโอในระบบดิจิทลนันจะตองใชอุปกรณ
             ่                ั ้
 ดังตอไปนี้
 – กลองถายวิดีโอระบบดิจิทล และอุปกรณประกอบ เชน
                           ั
   ไมโครโฟน, ขาตั้งกลอง, ไฟสองสวาง
 – คอมพิวเตอรสําหรับใชในการนําสัญญาณวิดีโอจากกลองถาย
   วิดีโอ เขาสูระบบคอมพิวเตอร เพื่อใชในการตัดตอ กอนทีจะ
                                                           ่
   นําสัญญาณออกมาในรูปแบบตางๆ เชน ในรูปของมวนวิดีโอ
   ทั้งในระบบดิจิทลและแอนาล็อก, ในรูปของ VCD หรือในรูป
                    ั
   ของ DVD เปนตน
 – ซอฟตแวรสําหรับใชในการนําสัญญาณวิดีโอเขาสูเครื่อง
   คอมพิวเตอร และใชในการตัดตอ เชน Adobe Premiere,
   Windows Movie Maker                                   12
ขั้นตอนการผลิตสื่อวิดีโอ
การผลิตสือวิดีโอประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ
           ่
• ขั้นตอนการเตรียมงานกอนการผลิต (Pre-Production) คือ
  ขั้นตอนในการกําหนดขอบเขตเนื้อหา วัตถุประสงค งบประมาณ
  สถานทีถายทํา ตัวละคร และโครงรางเนื้อหา (Storyboard)
             ่ 
• ขั้นตอนการผลิตหรือถายทํา (Production) คือ ขั้นตอนในการ
  ถายทําหรือจัดเตรียมวิดีโอ ภาพนิ่ง เสียงบรรยาย เสียงดนตรี
  ประกอบ กราฟก และแอนิเมชัน ตามทีกําหนดไวในโครงราง
                                 ่      ่
  เนื้อหา
• ขั้นตอนหลังการผลิต (Post-Production) คือ ขั้นตอนในการนํา
  สื่อชนิดตางๆ ทีไดจากขั้นตอนการผลิตเขาสูระบบคอมพิวเตอร
                   ่
  เพื่อทําการตัดตอ หรือจัดลําดับเนื้อหาวิดีโอตามโครงรางเนือหา
                                                            ้
  เพิ่มไตเติ้ล แอนิเมชั่น หรือกราฟก จนเสร็จสิ้นแลวจึงทําการแปลง
  สื่อวิดโอใหอยูในรูปแบบที่ตองการ
         ี                     
                                                          13
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ
           การถายวิดีโอ




                     14
กลองวิดีโอแอนาล็อก


กลองระบบ VHS และ S-VHS




กลองระบบ 8mm




กลองระบบ Hi8
                   15
กลองวิดีโอดิจิทล
                                   ั


กลองระบบ Digital 8




กลองระบบ MiniDV

                         กลองระบบ
                       High Definition

กลองระบบ DVD

                                 16
สวนประกอบของกลองวิดีโอ




                                                วงแหวน
                               ฟลเตอร
                                                กําหนด
                                     ปุมเลือก ขนาดของ
                                    ระบบโฟกัส รูรับแสง


เลนส           วงแหวนซูมภาพ
         วงแหวน
        ปรับโฟกัส

                                                    17
                               ปุมฟงกชัน Back Light
สวนประกอบของกลองวิดีโอ (ตอ)

                                                ไมโครโฟน



                                              ชองตอ
                                           สัญญาณเสียง
                                           จากภายนอก




แผงเมนูดานหลัง         ปุมกําหนด
                      โหมดของกลอง   ปุมเริ่ม/หยุดการอัด18
สวนประกอบของกลองวิดีโอ (ตอ)

                                      ชองตอ S-Video


                                      ชองตอ AV/RCA

                                     ชองตอ Firewire
                                       (IEEE 1394)




ปุมซูมภาพเขา/ออก
                       ปุมเปด
                       ชองใส    ชองใสตลับเทป
                      ตลับเทป                  19
สวนประกอบของกลองวิดีโอ (ตอ)




                      ชองมองภาพ
                     (View Finder)




                       แถมปุมควบคุม
LCD monitor            ในโหมด VCR
                                       20
Shot, Scene, Sequence

Shot:
ชวงของการถายวิดีโอนับตั้งแตเริ่มกดปุม Start เพื่อเริ่ม
บันทึก จนกระทั่งกดปุม Stop เพื่อหยุดการบันทึก

Scene:
ชุดของ shot ที่มีจุดสนใจ, เวลา, และสถานที่เดียวกัน

Sequence:
ชุดของ Scene ที่แสดงถึงหนึงแนวคิด เหมือนกับการแบง
                          ่
ยอหนาในการเขียน


                                                      21
Type of camera shot
1. ระยะ (Distance)
   Extreme long shot, Very long shot, Long shot,
   Medium long shot, Medium shot, Medium close
   up, Close up shot, Big close up

2. มุมกลอง (Angle)
   Eye level angle, High angle, Low angle

3. มุมมองภาพ (Point of view)
   Objective shot, Subjective shot

4. การเคลื่อนที่กลอง (Camera physical movement)
   Panning, Tilting, Dolling, Trucking

5. การเปลี่ยนลักษณะภาพ (Camera apparent movement)
   Zooming, Focusing
                                            22
Distance: Extreme long shot




Extreme Long Shot (ELS, XLS) เปนช็อตระยะไกลทีจะ   ่
แสดงใหเห็นภาพรวมของทั้งภาพ บอกผูดูวาบุคคลหลักของ
ภาพนันอยูที่ไหน มีขนาดและมีความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม
     ้
ในภาพอยางไร
                                                 23
Distance: Very long shot




Very Long Shot (VLS) เปนช็อตที่บุคคลหลักใน
ภาพ จะมีขนาดประมาณ 3/4 - 1/3 ของความสูงของ
ภาพ ซึงภาพในลักษณะนี้ จะแสดงทังสภาพแวดลอม
      ่                         ้
และรายละเอียดของบุคคลคนนันมากขึน
                           ้       ้
                                        24
Distance: Long shot




Long Shot (LS) หรือ Full Shot เปนช็อตที่จะแสดง
ใหเห็นรายละเอียดของบุคคลหลักของภาพมากขึ้นกวา
Very Long Shot โดยจะแสดงรูปรางทั้งหมดของบุคคล
คนนัน และจะตองมีพื้นทีวางเหนือและใตบุคคลนันดวย
     ้                 ่                     ้
                                               25
Distance: Medium long shot




Medium Long Shot (MLS) หรือ Knee Shot เปน
ช็อตที่จะมีขนาดของบุคคลหลักเปน 3/4 สวนของ
ขนาดจริง ซึงจะเปนการถายภาพตัดจากใตหัวเขาของ
             ่
บุคคล ไปจนถึงศรีษะโดยจะตองมีชองวางเหนือศรีษะ
                               
ของคนๆ นันดวย
           ้
                                             26
Distance: Medium shot




Medium Shot (MS) เปนช็อตที่ถายตั้งแตใตเอวของ
บุคคลหลักของภาพนัน ขึนไปจนถึงศรีษะ และยังคง
                       ้   ้
ตองมีพื้นที่วางเหนือศรีษะของบุคคลนันเชนเดิม
                                     ้


                                              27
Distance: Medium close up shot




Medium Close Up (MCU) หรือ Bust Shot เปนช็อต
ที่ถายตั้งแตใตรักแรของบุคคลหลักของภาพนัน ขึนไป
                                             ้  ้
จนถึงศรีษะ และยังคงตองมีพื้นที่วางเหนือศรีษะเชนเดิม

                                                   28
Distance: Close up shot




Close Up (CU) เปนช็อตที่ถายตั้งแตบริเวณใตลาคอ
                                              ํ
หรือถาเปนผูชายก็คือใตปมเนคไทของบุคคลหลักของ
ภาพนัน ขึนไปจนถึงศรีษะ
      ้   ้


                                                29
Distance: Big close up shot




Big Close Up (BCU) เปนช็อตที่ถายบริเวณบางสวน
ของใบหนาของบุคคลหลักในภาพ สวนใหญจะเริ่มตั้งแต
บริเวณกลางหนาผากลงมาจนถึงเหนือคาง


                                              30
Angle: Eye level angle




ความสูงระดับสายตา (Eye level angle) เปนการวาง
ระดับความสูงของกลองในระดับสายตาของบุคคลที่เปน
จุดสนใจ ภาพที่ไดจะเปนธรรมชาติ เหมือนจริง


                                            31
Angle: High angle




ความสูงระดับเหนือศรีษะ (High angle) เปนการวางระดับ
ความสูงของกลอง ในระดับเหนือศรีษะของบุคคลที่เปนจุด
สนใจ ภาพที่ไดจะแตกตางจากภาพจริง คือ จะมีศรีษะ
ใหญกวาเทา ตัวสัน ดูออนแอ ไมมีพลัง
                  ้
                                              32
Angle: Low angle




ความสูงระดับต่ํากวาศรีษะ (Low angle) เปนการวาง
ระดับความสูงของกลอง ในระดับต่ํากวาศรีษะของบุคคลที่
สนใจ หรือถายยอนขึนไปทางดานบน ภาพที่ได จะไมเปน
                    ้
ธรรมชาติ บุคคลในภาพจะดูมพลังมากขึน
                            ี        ้
                                                33
Point of view: Objective shot




มุมมองของบุคคลที่สาม (Objective Shot) เปนมุม
กลองของการมองจากบุคคลภายนอกไปยังบุคคล
หลักในภาพ


                                                34
Point of view: Subjective shot




มุมมองของบุคคลเปาหมาย (Subjective shot) เปนมุม
กลองของการมองจากบุคคลเปาหมายในภาพ เปนการ
บอกกับผูดูวาคนๆ นันกําลังมองอะไรอยู
                    ้


                                             35
Camera physical movement: Panning




การแพน (Panning) คือ การเคลื่อนที่กลองในขณะที่ถาย
ในแนวระดับ (ซาย-ขวา)

                                              36
Camera physical movement: Tilting




การทิล (Tilting) คือ การเคลื่อนที่กลองในขณะทีถายใน
                                              ่
แนวดิ่ง (ขึน-ลง)
           ้

                                                37
Camera physical movement: Dolling




การใชดอลลี่ (Dolling) คือ การเคลื่อนที่กลองเขา-ออก
จากเปาหมาย

                                                  38
Camera physical movement: Trucking




การใชเลือน (Trucking) คือ การเคลื่อนที่กลองขนานไป
         ่
พรอมๆ กับการเคลื่อนที่ของเปาหมาย               39
Camera appearent movement: Zooming




                               Zoom in



                               Zoom out


 การซูม (Zooming) คือ การเปลียนขนาดของภาพโดย
                             ่
 การใชปุมหรือวงแหวนซูม (Zoom in/Zoom out
 button/ring)
                                          40
Camera appearent movement: Focusing

 การเปลี่ยนตําแหนงของการโฟกัส (Focusing) คือ การ
 เปลียนจุดโฟกัสโดยใชวงแหวนปรับโฟกัสระหวางจุดสนใจ
     ่
 สองจุดในภาพ ซึ่งจะทําใหเกิดการเปลียนระยะชัดจากวัตถุ
                                        ่
 ที่อยูใกลไปยังวัตถุที่อยูไกล (Throwing focus) หรือ
 เปลียนระยะชัดจากวัตถุที่อยูไกลมายังวัตถุที่อยูใกลกวา
       ่
 (Pulling focus)




                                                     41
การจัดองคประกอบภาพ

การจัดองคประกอบภาพ (Framing/Composition)
คือ เทคนิคในการจัดวางจุดสนใจ (Subject) และ
สวนประกอบอื่นๆ ในภาพเพื่อใหภาพนันนาสนใจ และ
                                  ้
สามารถสื่อความหมายตามที่ผูถายภาพตองการ
นอกจากนัน การจัดองคประกอบภาพยังหมายรวมถึง
          ้
การเลือกมุมมองภาพ (Point of View) ที่เหมาะสม




                                           42
กฎขอที่ 1 กําหนดจุดสนใจหลักในภาพ

                   - ในภาพจะตอง
                    มีจุดสนใจหลักอยู
                    หนึงจุดเสมอ
                       ่
                   - อาจจะมีจุดสนใจอื่น
                    ประกอบอยู แตจะ
                    ตองไมเดนไปกวา
                    จุดสนใจหลัก




                                  43
กฎขอที่ 2 หลีกเลี่ยงการวางตําแหนงของ
               จุดสนใจหลักไวกลางภาพ

                     - ถาจุดสนใจอยูกลาง
                      ภาพจะทําใหรสกนิง
                                  ู ึ ่
                      ไมนาสนใจ
                          
                     - ใชกฎ Rule of Third
                       ชวยในการกําหนด
                       ตําแหนงในการวาง
                       จุดสนใจ



                                      44
กฎขอที่ 3 เลือกมุมกลองที่เหมาะสม

             หลังจากที่กําหนดจุดสนใจ
             ในภาพแลวใหเดินรอบๆ จุด
             สนใจนัน เพื่อหามุมมองที่
                    ้
             นาสนใจสําหรับการถาย
             วิดีโอ




                                 45
กฎขอที่ 4: ถายภาพ Close Up เพื่อเนนจุดสนใจ

                            การถายภาพแบบ
                            Close-up จะทําให
                            เกิดความรูสึกใกลชด
                                               ิ
                            เหมือนกับวาผูดอยู
                                            ู
                            ในเหตุการณขณะนัน
                                            ้
                            เปนการเนนจุดสนใจ
                            และขจัดสวนอืนๆ ที่
                                         ่
                            ไมตองการออกจาก
                            ภาพ


                                             46
กฎขอที่ 5 ใชเสนนําสายตาเพื่อดึงความสนใจ

                  ใชองคประกอบที่มีลกษณะ
                                     ั
                  เปนเสนทังเสนตรง และเสนโคง
                            ้
                   เชน ถนน ลําของแสงแดด ชวย
                   นําสายตาผูชมไปที่จุดสนใจ ทํา
                   ใหเราสามารถเนนจุดสนใจของ
                   ภาพได




                                             47
กฎขอที่ 6: หลีกเลี่ยงฉากหลังที่ยุงเหยิง

              พยายามหลีกเลียงการถายภาพ
                                 ่
              ที่มีพื้นหลังที่มลักษณะยุงเหยิง
                               ี
              ซับซอน มีลวดลายเยอะจนเปน
              การรบกวนจุดสนใจ ซึ่งการ
              หลีกเลี่ยงสามารถทําไดโดยการ
              เปลียนมุมกลอง หรือการใช
                   ่
              เทคนิคการควบคุมความชัดลึก
              (Depth of Field) ของภาพ




                                       48
กฎขอที่ 7: ใชเฟรมกําหนดกรอบความสนใจ
                 และสรางความลึกของภาพ

                  ใชองคประกอบแวดลอม
                   เชน กรอบประตู, หนาตาง,
                   ตนไม หรือกิ่งไม ในการ
                   สรางกรอบภาพธรรมชาติ
                   เพื่อกําหนดกรอบการมอง
                   ไปยังจุดสนใจในภาพ
                   และสรางมิตใหเกิด
                              ิ
                   ความลึกในภาพ


                                        49
กฎขอที่ 8: ถายภาพเคลื่อนไหวในจังหวะทีเหมาะสม
                                       ่

                           ในการถายภาพที่มีการ
                            เคลื่อนไหว เชน รถวิ่ง,
                            ภาพกีฬา จะตองจับ
                            จังหวะที่เหมาะสมของ
                            ภาพการเคลื่อนที่นนๆ
                                             ั้




                                              50
สรุป

1.   สื่อวิดีโอมี 2 ระบบ คือ ระบบแอนาล็อก และระบบดิจิทัล
2.   ในระบบดิจิทัล คือ ขอมูลวิดีโอที่ถูกบันทึก หรือผาน
     กระบวนการผลิตในรูปแบบดิจิทัล
3.   ขันตอนการผลิตวิดีโอดิจิทัลมี 3 ขันตอน คือ
       ้                              ้
     3.1 ขันตอนการเตรียมงานกอนการผลิต
           ้
     3.2 ขันตอนการผลิต
           ้
     3.3 ขันตอนหลังการผลิต
           ้




                                                       51
สรุป (ตอ)
4. Type of Camera shot

  4.1 ระยะ (Distance)
      Extreme long shot, Very long shot, Long shot,
      Medium long shot, Medium shot, Medium close
      up, Close up shot, Big close up
  4.2 มุมกลอง (Angle)
      Eye level angle, High angle, Low angle
  4.3 มุมมองภาพ (Point of view)
      Objective shot, Subjective shot
  4.4 การเคลื่อนที่กลอง (Camera physical movement)
      Panning, Tilting, Dolling, Trucking
  4.5 การเปลียนลักษณะภาพ (Camera apparent
             ่
      movement)
      Zooming, Focusing
                                              52
สรุป (ตอ)
5. การจัดองคประกอบภาพ คือ เทคนิคในการจัดวางจุด
   สนใจ และสวนประกอบอื่นๆ ในภาพเพื่อใหภาพนัน
                                             ้
   นาสนใจ และสามารถสื่อความหมายตามที่ผูถายภาพ
   ตองการ
     •   กําหนดจุดสนใจหลักในภาพ
     •   หลีกเลี่ยงการวางจุดสนใจไวกลางภาพ
     •   เลือกมุมกลองที่เหมาะสม
     •   ถายภาพโคลสอัปเพื่อเนนจุดสนใจ
     •   ใชเสนนําสายตา
     •   หลักเลี่ยงฉากหลังทียุงเหยิง
                            ่
     •   ใชเฟรมกําหนดกรอบความสนใจและสรางความลึก
     •   ถายภาพเคลือนไหวในจังหวะทีเหมาะสม
                     ่                ่
                                               53
ขอบคุณครับ




       54

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Technologies for Modern Museums and Libraries
Technologies for Modern Museums and LibrariesTechnologies for Modern Museums and Libraries
Technologies for Modern Museums and LibrariesRachabodin Suwannakanthi
 
Images Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyImages Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyRachabodin Suwannakanthi
 
Dc102 digital media-video
Dc102 digital media-videoDc102 digital media-video
Dc102 digital media-videoajpeerawich
 
Image Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyImage Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyRachabodin Suwannakanthi
 
สื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราชสื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราชgasanong
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์Oat_zestful
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....kachornchit_maprang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....kachornchit_maprang
 
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัลการวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัลRachabodin Suwannakanthi
 
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4nareerat inthukhahit
 
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดียBeerza Kub
 

Mais procurados (20)

Technologies for Modern Museums and Libraries
Technologies for Modern Museums and LibrariesTechnologies for Modern Museums and Libraries
Technologies for Modern Museums and Libraries
 
Internet 2000
Internet 2000Internet 2000
Internet 2000
 
Introduction to Digital Imaging
Introduction to Digital ImagingIntroduction to Digital Imaging
Introduction to Digital Imaging
 
Digital Photo Archive
Digital Photo ArchiveDigital Photo Archive
Digital Photo Archive
 
U05 6b6e
U05 6b6eU05 6b6e
U05 6b6e
 
Images Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyImages Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital Photography
 
Dc102 digital media-video
Dc102 digital media-videoDc102 digital media-video
Dc102 digital media-video
 
Image Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyImage Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital Photography
 
Computer System for CIO
Computer System for CIOComputer System for CIO
Computer System for CIO
 
สื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราชสื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราช
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
 
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัลการวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
 
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ป.4
 
มัลติมีเดีย
มัลติมีเดียมัลติมีเดีย
มัลติมีเดีย
 
Ch6 multimedia
Ch6 multimediaCh6 multimedia
Ch6 multimedia
 
Introduction to Images Digitization
Introduction to Images DigitizationIntroduction to Images Digitization
Introduction to Images Digitization
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Video conference2
Video conference2Video conference2
Video conference2
 

Destaque

Group 1 pink and group 3 purple.pptx
Group 1 pink and group 3 purple.pptxGroup 1 pink and group 3 purple.pptx
Group 1 pink and group 3 purple.pptxmariogomezprieto
 
Draft of Memory of the World Thailand Communication and Advocacy Plan
Draft of Memory of the World Thailand Communication and Advocacy PlanDraft of Memory of the World Thailand Communication and Advocacy Plan
Draft of Memory of the World Thailand Communication and Advocacy PlanRachabodin Suwannakanthi
 
The eXtension Tool Box Project: Resources for Promoting eXtension Use at the ...
The eXtension Tool Box Project: Resources for Promoting eXtension Use at the ...The eXtension Tool Box Project: Resources for Promoting eXtension Use at the ...
The eXtension Tool Box Project: Resources for Promoting eXtension Use at the ...greenehorse
 
Web intelligence-future of next generation web
Web intelligence-future of next generation webWeb intelligence-future of next generation web
Web intelligence-future of next generation webSanjeev Kumar Jaiswal
 
Dyu各學系網站2014招生行銷力提升對策 20140207
Dyu各學系網站2014招生行銷力提升對策 20140207Dyu各學系網站2014招生行銷力提升對策 20140207
Dyu各學系網站2014招生行銷力提升對策 20140207gctarng gctarng
 
Chat Multitasking Presentation
Chat Multitasking PresentationChat Multitasking Presentation
Chat Multitasking PresentationTim Jones
 
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe PhotoshopCreating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe PhotoshopRachabodin Suwannakanthi
 
Vietnam Real Estate Newsletter - No. 73, Week 2 Mar, 2009
Vietnam Real Estate Newsletter - No. 73, Week 2 Mar, 2009Vietnam Real Estate Newsletter - No. 73, Week 2 Mar, 2009
Vietnam Real Estate Newsletter - No. 73, Week 2 Mar, 2009internationalvr
 
How researchers use of Social Media & Scholarly Collaboration Networks
How researchers use of Social Media & Scholarly Collaboration NetworksHow researchers use of Social Media & Scholarly Collaboration Networks
How researchers use of Social Media & Scholarly Collaboration NetworksKeita Bando
 
Social Psych And Ethics
Social Psych And EthicsSocial Psych And Ethics
Social Psych And EthicsSteve Kashdan
 
Camtasia relay presentation final
Camtasia relay presentation finalCamtasia relay presentation final
Camtasia relay presentation finalSteve Kashdan
 
Bittorrent Seminar Report by Shyam Prakash
Bittorrent Seminar Report by Shyam PrakashBittorrent Seminar Report by Shyam Prakash
Bittorrent Seminar Report by Shyam PrakashSanjeev Kumar Jaiswal
 
“From AE, AIG, DHL to PCCW… A walk down my Sales & Marketing management journey”
“From AE, AIG, DHL to PCCW… A walk down my Sales & Marketing management journey”“From AE, AIG, DHL to PCCW… A walk down my Sales & Marketing management journey”
“From AE, AIG, DHL to PCCW… A walk down my Sales & Marketing management journey”HKAIM
 

Destaque (19)

0
00
0
 
Group 1 pink and group 3 purple.pptx
Group 1 pink and group 3 purple.pptxGroup 1 pink and group 3 purple.pptx
Group 1 pink and group 3 purple.pptx
 
General Digital Archive Package Tool
General Digital Archive Package ToolGeneral Digital Archive Package Tool
General Digital Archive Package Tool
 
Draft of Memory of the World Thailand Communication and Advocacy Plan
Draft of Memory of the World Thailand Communication and Advocacy PlanDraft of Memory of the World Thailand Communication and Advocacy Plan
Draft of Memory of the World Thailand Communication and Advocacy Plan
 
The eXtension Tool Box Project: Resources for Promoting eXtension Use at the ...
The eXtension Tool Box Project: Resources for Promoting eXtension Use at the ...The eXtension Tool Box Project: Resources for Promoting eXtension Use at the ...
The eXtension Tool Box Project: Resources for Promoting eXtension Use at the ...
 
Fractal Image Compression
Fractal Image CompressionFractal Image Compression
Fractal Image Compression
 
Web intelligence-future of next generation web
Web intelligence-future of next generation webWeb intelligence-future of next generation web
Web intelligence-future of next generation web
 
Dyu各學系網站2014招生行銷力提升對策 20140207
Dyu各學系網站2014招生行銷力提升對策 20140207Dyu各學系網站2014招生行銷力提升對策 20140207
Dyu各學系網站2014招生行銷力提升對策 20140207
 
Nectec Digital Archive Concept
Nectec Digital Archive ConceptNectec Digital Archive Concept
Nectec Digital Archive Concept
 
Chat Multitasking Presentation
Chat Multitasking PresentationChat Multitasking Presentation
Chat Multitasking Presentation
 
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe PhotoshopCreating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
 
Vietnam Real Estate Newsletter - No. 73, Week 2 Mar, 2009
Vietnam Real Estate Newsletter - No. 73, Week 2 Mar, 2009Vietnam Real Estate Newsletter - No. 73, Week 2 Mar, 2009
Vietnam Real Estate Newsletter - No. 73, Week 2 Mar, 2009
 
Seminar on crawler
Seminar on crawlerSeminar on crawler
Seminar on crawler
 
How researchers use of Social Media & Scholarly Collaboration Networks
How researchers use of Social Media & Scholarly Collaboration NetworksHow researchers use of Social Media & Scholarly Collaboration Networks
How researchers use of Social Media & Scholarly Collaboration Networks
 
Social Psych And Ethics
Social Psych And EthicsSocial Psych And Ethics
Social Psych And Ethics
 
Camtasia relay presentation final
Camtasia relay presentation finalCamtasia relay presentation final
Camtasia relay presentation final
 
Bittorrent Seminar Report by Shyam Prakash
Bittorrent Seminar Report by Shyam PrakashBittorrent Seminar Report by Shyam Prakash
Bittorrent Seminar Report by Shyam Prakash
 
“From AE, AIG, DHL to PCCW… A walk down my Sales & Marketing management journey”
“From AE, AIG, DHL to PCCW… A walk down my Sales & Marketing management journey”“From AE, AIG, DHL to PCCW… A walk down my Sales & Marketing management journey”
“From AE, AIG, DHL to PCCW… A walk down my Sales & Marketing management journey”
 
Hydration for runners
Hydration for runnersHydration for runners
Hydration for runners
 

Semelhante a Introduction to Digital Video Production

VIVOTEK Presentation : TSOLUTIONS : Integrated Security Solutions Provider fo...
VIVOTEK Presentation : TSOLUTIONS : Integrated Security Solutions Provider fo...VIVOTEK Presentation : TSOLUTIONS : Integrated Security Solutions Provider fo...
VIVOTEK Presentation : TSOLUTIONS : Integrated Security Solutions Provider fo...TSOLUTIONS
 
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Security camera that meet all security need
Security camera that meet all security needSecurity camera that meet all security need
Security camera that meet all security needTSOLUTIONS
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 พื้นฐานการตัดต่อวิดีโอ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 พื้นฐานการตัดต่อวิดีโอแผนการเรียนรู้ที่ 3 พื้นฐานการตัดต่อวิดีโอ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 พื้นฐานการตัดต่อวิดีโอkrunueng1
 
กล้องวีดีโอดิจิตอล
กล้องวีดีโอดิจิตอลกล้องวีดีโอดิจิตอล
กล้องวีดีโอดิจิตอลThanathip Wongsin
 
กล้องวีดีโอด_จ_ตอลฃ
กล้องวีดีโอด_จ_ตอลฃกล้องวีดีโอด_จ_ตอลฃ
กล้องวีดีโอด_จ_ตอลฃThanathip Wongsin
 
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้นEditing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้นPisit Noiwangklang
 
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5Jele Raviwan Napijai
 

Semelhante a Introduction to Digital Video Production (20)

Video with Windows Movie Maker
Video with Windows Movie MakerVideo with Windows Movie Maker
Video with Windows Movie Maker
 
Lecture01_Introduction
Lecture01_IntroductionLecture01_Introduction
Lecture01_Introduction
 
บทที่ 9 วีดีโอ
บทที่ 9 วีดีโอบทที่ 9 วีดีโอ
บทที่ 9 วีดีโอ
 
VIVOTEK Presentation : TSOLUTIONS : Integrated Security Solutions Provider fo...
VIVOTEK Presentation : TSOLUTIONS : Integrated Security Solutions Provider fo...VIVOTEK Presentation : TSOLUTIONS : Integrated Security Solutions Provider fo...
VIVOTEK Presentation : TSOLUTIONS : Integrated Security Solutions Provider fo...
 
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
 
Security camera that meet all security need
Security camera that meet all security needSecurity camera that meet all security need
Security camera that meet all security need
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 พื้นฐานการตัดต่อวิดีโอ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 พื้นฐานการตัดต่อวิดีโอแผนการเรียนรู้ที่ 3 พื้นฐานการตัดต่อวิดีโอ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 พื้นฐานการตัดต่อวิดีโอ
 
กล้องวีดีโอดิจิตอล
กล้องวีดีโอดิจิตอลกล้องวีดีโอดิจิตอล
กล้องวีดีโอดิจิตอล
 
กล้องวีดีโอด_จ_ตอลฃ
กล้องวีดีโอด_จ_ตอลฃกล้องวีดีโอด_จ_ตอลฃ
กล้องวีดีโอด_จ_ตอลฃ
 
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้นEditing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
 
Lesson01
Lesson01Lesson01
Lesson01
 
Review Internet TV WEBSITE
Review Internet TV WEBSITEReview Internet TV WEBSITE
Review Internet TV WEBSITE
 
Digital Media
Digital MediaDigital Media
Digital Media
 
Electronic media
Electronic mediaElectronic media
Electronic media
 
Chapter02 multi1
Chapter02 multi1Chapter02 multi1
Chapter02 multi1
 
Chapter02 multi1
Chapter02 multi1Chapter02 multi1
Chapter02 multi1
 
20080620 E Publishing
20080620 E Publishing20080620 E Publishing
20080620 E Publishing
 
e-Publishing
e-Publishinge-Publishing
e-Publishing
 
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
 

Mais de Rachabodin Suwannakanthi

ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กรระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กรRachabodin Suwannakanthi
 
Using copy.com website for uploading and sharing files
Using copy.com website for uploading and sharing filesUsing copy.com website for uploading and sharing files
Using copy.com website for uploading and sharing filesRachabodin Suwannakanthi
 
Using copy.com app for uploading and sharing files
Using copy.com app for uploading and sharing filesUsing copy.com app for uploading and sharing files
Using copy.com app for uploading and sharing filesRachabodin Suwannakanthi
 
Creating HDR images with Photomatix and Lightroom
Creating HDR images with Photomatix and LightroomCreating HDR images with Photomatix and Lightroom
Creating HDR images with Photomatix and LightroomRachabodin Suwannakanthi
 
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop LightroomHDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop LightroomRachabodin Suwannakanthi
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionRachabodin Suwannakanthi
 
Image Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyImage Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyRachabodin Suwannakanthi
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวRachabodin Suwannakanthi
 

Mais de Rachabodin Suwannakanthi (20)

ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กรระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
 
Using copy.com website for uploading and sharing files
Using copy.com website for uploading and sharing filesUsing copy.com website for uploading and sharing files
Using copy.com website for uploading and sharing files
 
Using copy.com app for uploading and sharing files
Using copy.com app for uploading and sharing filesUsing copy.com app for uploading and sharing files
Using copy.com app for uploading and sharing files
 
Archives and Museum in Digital Age
Archives and Museum in Digital AgeArchives and Museum in Digital Age
Archives and Museum in Digital Age
 
Camera RAW Workflow
Camera RAW WorkflowCamera RAW Workflow
Camera RAW Workflow
 
Archives and Digital Archives
Archives and Digital ArchivesArchives and Digital Archives
Archives and Digital Archives
 
Creating HDR images with Photomatix and Lightroom
Creating HDR images with Photomatix and LightroomCreating HDR images with Photomatix and Lightroom
Creating HDR images with Photomatix and Lightroom
 
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop LightroomHDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
 
Online Video Format Experiment
Online Video Format ExperimentOnline Video Format Experiment
Online Video Format Experiment
 
How to Create an Educational Media
How to Create an Educational MediaHow to Create an Educational Media
How to Create an Educational Media
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
Image Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyImage Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning Technology
 
Digital Imaging Course Outline
Digital Imaging Course OutlineDigital Imaging Course Outline
Digital Imaging Course Outline
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
 
Introduction to Virtual Tour
Introduction to Virtual TourIntroduction to Virtual Tour
Introduction to Virtual Tour
 
Basic HDR Panoramic Photography
Basic HDR Panoramic PhotographyBasic HDR Panoramic Photography
Basic HDR Panoramic Photography
 
Multi-rows HDR Panoramic Photography
Multi-rows HDR Panoramic PhotographyMulti-rows HDR Panoramic Photography
Multi-rows HDR Panoramic Photography
 
Introduction to Image Digitization
Introduction to Image DigitizationIntroduction to Image Digitization
Introduction to Image Digitization
 
Introduction to Digital Imaging
Introduction to Digital ImagingIntroduction to Digital Imaging
Introduction to Digital Imaging
 
Digital Museum
Digital MuseumDigital Museum
Digital Museum
 

Introduction to Digital Video Production

  • 1. การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องตน (Introduction to Digital Video Production) ราชบดินทร สุวรรณคัณฑิ งานวิจัยเทคโนโลยีคลังขอมูล ฝายวิจยและพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเพื่อการคํานวณ ั ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแห1ชาติ ง
  • 2. วัตถุประสงค • เพื่อใหผูเรียนเขาใจขั้นตอนในการผลิตสื่อวิดีโอ ในระบบดิจิทัล และสามารถอธิบายขั้นตอนตางๆ ไดอยางถูกตอง • เพื่อใหผูเรียนเขาใจพื้นฐานของการถายวิดีโอ และสามารถอธิบายหรือปฏิบติไดอยางถูกตอง ั • เพื่อใหผูเรียนเขาใจขั้นตอนในการตัดตอวิดีโอ และสามารถอธิบายหรือปฏิบติไดอยางถูกตอง ั • เพื่อใหผูเรียนสามารถพัฒนาขอมูลวิดีโอที่ไดรับ การตัดตอแลวใหเปน Video CD หรือไฟลวิดีโอ สําหรับการเผยแพรผานอินเทอรเน็ต 2
  • 3. กําหนดการสอน เวลา หัวขอ 9.00 - 12.00 น. - ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการผลิตสื่อ วิดีโอดิจิทลั - ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการถายวิดีโอ 13.30 – 16.30 น. - ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการตัดตอวิดีโอ - การตัดตอวิดีโอดวยโปรแกรม Windows Movie Maker - การทํา VCD และ Streaming video 3
  • 4. วิธีการเรียนการสอน 1. บรรยายในชั้นเรียน 2. สาธิตการใชงานอุปกรณ หรือโปรแกรม คอมพิวเตอรที่เกี่ยวของ 3. ใชการนําเสนอดวยคอมพิวเตอร และ อุปกรณ AV ที่เกี่ยวของ 4. การอภิปรายในชันเรียน ้ 5. การฝกภาคปฏิบัติ 4
  • 6. อะไรคือสื่อวิดีโอในระบบดิจิทัล? สื่อวิดโอในระบบดิจิทล (Digital video) หมายถึง ขอมูลวิดโอที่ ี ั ี ประกอบดวยภาพและเสียงที่ถกบันทึกในระบบดิจิทล หรือขอมูล ู ั ทีผานกระบวนการในการผลิตในระบบดิจิทล โดยอาศัยระบบ ่  ั คอมพิวเตอร ไดแกการนําสัญญาณวิดีโอจากกลองวิดีโอเขาสู เครื่องคอมพิวเตอร หรือการแปลงขอมูลวิดีโอใหอยูในรูปดิจิทล ั (Video capturing), การตัดตอหรือแกไขขอมูลวิดีโอ (Video editing) และการนําขอมูลออกจากระบบคอมพิวเตอรไปอยูใน รูปแบบที่ตองการ (Video exporting) เชน Video CD, DVD,  Streaming VDO 6
  • 7. Analog video vs Digital video วิดโอแอนาล็อก (Analog video) คือ ระบบวิดีโอที่เก็บ ี ขอมูลภาพและเสียงในรูปแบบสัญญาณแมเหล็กไฟฟา หรือสัญญาณตอเนื่อง เชน ระบบวิดีโอทีบนทึกขอมูลโดย ่ ั ใชมวนเทป VHS วิดโอดิจิทล (Digital video) คือ ระบบวิดีโอที่เก็บ ี ั ขอมูลภาพ และเสียงโดยใชเลขฐานสอง (เลข 0 และ เลข 1) แทนคาของขอมูล เชน ระบบวิดีโอทีบนทึกขอมูล ่ ั โดยใชมวนเทป MiniDV, DV CAM, DVD 7
  • 8. ขอดีของสื่อวิดีโอระบบแอนาล็อก • วิดีโอระบบแอนาล็อก เปนระบบที่ใชมานาน ทําใหอุปกรณตางๆ สนับสนุนการตอเชื่อม และแสดงผลจากกลองวิดีโอ หรือเครื่อง เลนวิดีโอระบบแอนาล็อกเปนพืนฐาน ้ • ราคาของสื่อที่ใชในการจัดเก็บขอมูล และสายสัญญาณที่ใชใน การตอเชื่อมมีราคาถูก สามารถหาไดงาย 8
  • 9. ขอเสียของสื่อวิดีโอระบบแอนาล็อก • สัญญาณถูกรบกวนไดงายเนืองจากใชสัญญาณไฟฟาในการ ่ บันทึกขอมูล ดังนันเมื่อมีการทําซ้ําของขอมูลหลายๆ ครั้ง ้ คุณภาพของภาพและเสียงจะลดลง นอกจากนันการสงขอมูลไป ้ ยังปลายทางที่อยูหางกัน สัญญาณวิดีโออาจจะถูกรบจาก สนามแมเหล็ก ทําใหคุณภาพของภาพและเสียงลดลงจาก ตนฉบับ • การเก็บบันทึกขอมูลใชมวนเทปที่มขนาดใหญ ทําใหกลองถาย  ี วิดีโอในระบบแอนาล็อกมีขนาดใหญตามไปดวย 9
  • 10. ขอดีของสื่อวิดีโอระบบดิจิทัล • คุณภาพของภาพและเสียงจะดีกวาระบบการผลิตสื่อวิดีโอใน ระบบแแอนาล็อก ตัวอยางเชน ในกลองวิดีโอระบบดิจิทลจะให ั ภาพทีความละเอียดอยางต่ํา 500 เสน ในขณะทีกลองวิดีโอ ่ ่ ระบบ VHS จะใหภาพทีความละเอียดประมาณ 250 เสน ่ • ไมมีการสูญเสียของสัญญาณเมื่อทําการทําซ้ําสือวิดีโอหลายครัง ่ ้ • อุปกรณที่เกี่ยวกับวิดีโอในระบบดิจิทลมีการออกแบบทีดีขึ้น ั ่ ในทางวิศวกรรม เชน กลองวิดีโอในระบบดิจิทลจะมีขนาดเล็ก ั แตมีประสิทธิภาพทีสูงกวากลองวิดีโอในระบบแแอนาล็อก ่ • ระบบดิจิทลทําใหเกิดความงาย ไดแก งายตอการจัดเก็บ, งายตอ ั การตัดตอ, งายตอการเขาถึงขอมูล, งายตอการแปลงสัญญาณ เปนรูปแบบตางๆ และงายตอการปรับเปลี่ยนแกไข 10
  • 11. ขอเสียของสื่อวิดีโอระบบดิจิทัล • ตองใชคอมพิวเตอรทมีประสิทธิภาพสูงในการผลิตสื่อวิดโอใน ี่ ี ระบบดิจิทล มีฮารดดิสกทใหญ มีความเร็วสูง, มีโปรเซสเซอร ั ี่ และระบบบัสความเร็วสูง มีหนวยความจํา (RAM) จํานวนมาก • ถาคอมพิวเตอรประสิทธิภาพไมสูงเพียงพอ อาจจะตองใชเวลา ในการผลิตสื่อมากกวาการผลิตสือในระบบแอนาล็อก ่ • ตองใชงบประมาณในการซื้ออุปกรณสําหรับการผลิตสือวิดีโอ ่ ระบบดิจิทลคอนขางสูง ถาตองการใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ั 11
  • 12. ตองใชอะไรบางในการผลิตสือวิดโอระบบดิจทัล? ่ ี ิ ในการผลิตสือวิดีโอในระบบดิจิทลนันจะตองใชอุปกรณ ่ ั ้ ดังตอไปนี้ – กลองถายวิดีโอระบบดิจิทล และอุปกรณประกอบ เชน ั ไมโครโฟน, ขาตั้งกลอง, ไฟสองสวาง – คอมพิวเตอรสําหรับใชในการนําสัญญาณวิดีโอจากกลองถาย วิดีโอ เขาสูระบบคอมพิวเตอร เพื่อใชในการตัดตอ กอนทีจะ ่ นําสัญญาณออกมาในรูปแบบตางๆ เชน ในรูปของมวนวิดีโอ ทั้งในระบบดิจิทลและแอนาล็อก, ในรูปของ VCD หรือในรูป ั ของ DVD เปนตน – ซอฟตแวรสําหรับใชในการนําสัญญาณวิดีโอเขาสูเครื่อง คอมพิวเตอร และใชในการตัดตอ เชน Adobe Premiere, Windows Movie Maker 12
  • 13. ขั้นตอนการผลิตสื่อวิดีโอ การผลิตสือวิดีโอประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ ่ • ขั้นตอนการเตรียมงานกอนการผลิต (Pre-Production) คือ ขั้นตอนในการกําหนดขอบเขตเนื้อหา วัตถุประสงค งบประมาณ สถานทีถายทํา ตัวละคร และโครงรางเนื้อหา (Storyboard) ่  • ขั้นตอนการผลิตหรือถายทํา (Production) คือ ขั้นตอนในการ ถายทําหรือจัดเตรียมวิดีโอ ภาพนิ่ง เสียงบรรยาย เสียงดนตรี ประกอบ กราฟก และแอนิเมชัน ตามทีกําหนดไวในโครงราง ่ ่ เนื้อหา • ขั้นตอนหลังการผลิต (Post-Production) คือ ขั้นตอนในการนํา สื่อชนิดตางๆ ทีไดจากขั้นตอนการผลิตเขาสูระบบคอมพิวเตอร ่ เพื่อทําการตัดตอ หรือจัดลําดับเนื้อหาวิดีโอตามโครงรางเนือหา ้ เพิ่มไตเติ้ล แอนิเมชั่น หรือกราฟก จนเสร็จสิ้นแลวจึงทําการแปลง สื่อวิดโอใหอยูในรูปแบบที่ตองการ ี  13
  • 15. กลองวิดีโอแอนาล็อก กลองระบบ VHS และ S-VHS กลองระบบ 8mm กลองระบบ Hi8 15
  • 16. กลองวิดีโอดิจิทล ั กลองระบบ Digital 8 กลองระบบ MiniDV กลองระบบ High Definition กลองระบบ DVD 16
  • 17. สวนประกอบของกลองวิดีโอ วงแหวน ฟลเตอร กําหนด ปุมเลือก ขนาดของ ระบบโฟกัส รูรับแสง เลนส วงแหวนซูมภาพ วงแหวน ปรับโฟกัส 17 ปุมฟงกชัน Back Light
  • 18. สวนประกอบของกลองวิดีโอ (ตอ) ไมโครโฟน ชองตอ สัญญาณเสียง จากภายนอก แผงเมนูดานหลัง ปุมกําหนด โหมดของกลอง ปุมเริ่ม/หยุดการอัด18
  • 19. สวนประกอบของกลองวิดีโอ (ตอ) ชองตอ S-Video ชองตอ AV/RCA ชองตอ Firewire (IEEE 1394) ปุมซูมภาพเขา/ออก ปุมเปด ชองใส ชองใสตลับเทป ตลับเทป 19
  • 20. สวนประกอบของกลองวิดีโอ (ตอ) ชองมองภาพ (View Finder) แถมปุมควบคุม LCD monitor ในโหมด VCR 20
  • 21. Shot, Scene, Sequence Shot: ชวงของการถายวิดีโอนับตั้งแตเริ่มกดปุม Start เพื่อเริ่ม บันทึก จนกระทั่งกดปุม Stop เพื่อหยุดการบันทึก Scene: ชุดของ shot ที่มีจุดสนใจ, เวลา, และสถานที่เดียวกัน Sequence: ชุดของ Scene ที่แสดงถึงหนึงแนวคิด เหมือนกับการแบง ่ ยอหนาในการเขียน 21
  • 22. Type of camera shot 1. ระยะ (Distance) Extreme long shot, Very long shot, Long shot, Medium long shot, Medium shot, Medium close up, Close up shot, Big close up 2. มุมกลอง (Angle) Eye level angle, High angle, Low angle 3. มุมมองภาพ (Point of view) Objective shot, Subjective shot 4. การเคลื่อนที่กลอง (Camera physical movement) Panning, Tilting, Dolling, Trucking 5. การเปลี่ยนลักษณะภาพ (Camera apparent movement) Zooming, Focusing 22
  • 23. Distance: Extreme long shot Extreme Long Shot (ELS, XLS) เปนช็อตระยะไกลทีจะ ่ แสดงใหเห็นภาพรวมของทั้งภาพ บอกผูดูวาบุคคลหลักของ ภาพนันอยูที่ไหน มีขนาดและมีความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม ้ ในภาพอยางไร 23
  • 24. Distance: Very long shot Very Long Shot (VLS) เปนช็อตที่บุคคลหลักใน ภาพ จะมีขนาดประมาณ 3/4 - 1/3 ของความสูงของ ภาพ ซึงภาพในลักษณะนี้ จะแสดงทังสภาพแวดลอม ่ ้ และรายละเอียดของบุคคลคนนันมากขึน ้ ้ 24
  • 25. Distance: Long shot Long Shot (LS) หรือ Full Shot เปนช็อตที่จะแสดง ใหเห็นรายละเอียดของบุคคลหลักของภาพมากขึ้นกวา Very Long Shot โดยจะแสดงรูปรางทั้งหมดของบุคคล คนนัน และจะตองมีพื้นทีวางเหนือและใตบุคคลนันดวย ้ ่ ้ 25
  • 26. Distance: Medium long shot Medium Long Shot (MLS) หรือ Knee Shot เปน ช็อตที่จะมีขนาดของบุคคลหลักเปน 3/4 สวนของ ขนาดจริง ซึงจะเปนการถายภาพตัดจากใตหัวเขาของ ่ บุคคล ไปจนถึงศรีษะโดยจะตองมีชองวางเหนือศรีษะ  ของคนๆ นันดวย ้ 26
  • 27. Distance: Medium shot Medium Shot (MS) เปนช็อตที่ถายตั้งแตใตเอวของ บุคคลหลักของภาพนัน ขึนไปจนถึงศรีษะ และยังคง ้ ้ ตองมีพื้นที่วางเหนือศรีษะของบุคคลนันเชนเดิม ้ 27
  • 28. Distance: Medium close up shot Medium Close Up (MCU) หรือ Bust Shot เปนช็อต ที่ถายตั้งแตใตรักแรของบุคคลหลักของภาพนัน ขึนไป ้ ้ จนถึงศรีษะ และยังคงตองมีพื้นที่วางเหนือศรีษะเชนเดิม 28
  • 29. Distance: Close up shot Close Up (CU) เปนช็อตที่ถายตั้งแตบริเวณใตลาคอ ํ หรือถาเปนผูชายก็คือใตปมเนคไทของบุคคลหลักของ ภาพนัน ขึนไปจนถึงศรีษะ ้ ้ 29
  • 30. Distance: Big close up shot Big Close Up (BCU) เปนช็อตที่ถายบริเวณบางสวน ของใบหนาของบุคคลหลักในภาพ สวนใหญจะเริ่มตั้งแต บริเวณกลางหนาผากลงมาจนถึงเหนือคาง 30
  • 31. Angle: Eye level angle ความสูงระดับสายตา (Eye level angle) เปนการวาง ระดับความสูงของกลองในระดับสายตาของบุคคลที่เปน จุดสนใจ ภาพที่ไดจะเปนธรรมชาติ เหมือนจริง 31
  • 32. Angle: High angle ความสูงระดับเหนือศรีษะ (High angle) เปนการวางระดับ ความสูงของกลอง ในระดับเหนือศรีษะของบุคคลที่เปนจุด สนใจ ภาพที่ไดจะแตกตางจากภาพจริง คือ จะมีศรีษะ ใหญกวาเทา ตัวสัน ดูออนแอ ไมมีพลัง ้ 32
  • 33. Angle: Low angle ความสูงระดับต่ํากวาศรีษะ (Low angle) เปนการวาง ระดับความสูงของกลอง ในระดับต่ํากวาศรีษะของบุคคลที่ สนใจ หรือถายยอนขึนไปทางดานบน ภาพที่ได จะไมเปน ้ ธรรมชาติ บุคคลในภาพจะดูมพลังมากขึน ี ้ 33
  • 34. Point of view: Objective shot มุมมองของบุคคลที่สาม (Objective Shot) เปนมุม กลองของการมองจากบุคคลภายนอกไปยังบุคคล หลักในภาพ 34
  • 35. Point of view: Subjective shot มุมมองของบุคคลเปาหมาย (Subjective shot) เปนมุม กลองของการมองจากบุคคลเปาหมายในภาพ เปนการ บอกกับผูดูวาคนๆ นันกําลังมองอะไรอยู ้ 35
  • 36. Camera physical movement: Panning การแพน (Panning) คือ การเคลื่อนที่กลองในขณะที่ถาย ในแนวระดับ (ซาย-ขวา) 36
  • 37. Camera physical movement: Tilting การทิล (Tilting) คือ การเคลื่อนที่กลองในขณะทีถายใน ่ แนวดิ่ง (ขึน-ลง) ้ 37
  • 38. Camera physical movement: Dolling การใชดอลลี่ (Dolling) คือ การเคลื่อนที่กลองเขา-ออก จากเปาหมาย 38
  • 39. Camera physical movement: Trucking การใชเลือน (Trucking) คือ การเคลื่อนที่กลองขนานไป ่ พรอมๆ กับการเคลื่อนที่ของเปาหมาย 39
  • 40. Camera appearent movement: Zooming Zoom in Zoom out การซูม (Zooming) คือ การเปลียนขนาดของภาพโดย ่ การใชปุมหรือวงแหวนซูม (Zoom in/Zoom out button/ring) 40
  • 41. Camera appearent movement: Focusing การเปลี่ยนตําแหนงของการโฟกัส (Focusing) คือ การ เปลียนจุดโฟกัสโดยใชวงแหวนปรับโฟกัสระหวางจุดสนใจ ่ สองจุดในภาพ ซึ่งจะทําใหเกิดการเปลียนระยะชัดจากวัตถุ ่ ที่อยูใกลไปยังวัตถุที่อยูไกล (Throwing focus) หรือ เปลียนระยะชัดจากวัตถุที่อยูไกลมายังวัตถุที่อยูใกลกวา ่ (Pulling focus) 41
  • 42. การจัดองคประกอบภาพ การจัดองคประกอบภาพ (Framing/Composition) คือ เทคนิคในการจัดวางจุดสนใจ (Subject) และ สวนประกอบอื่นๆ ในภาพเพื่อใหภาพนันนาสนใจ และ ้ สามารถสื่อความหมายตามที่ผูถายภาพตองการ นอกจากนัน การจัดองคประกอบภาพยังหมายรวมถึง ้ การเลือกมุมมองภาพ (Point of View) ที่เหมาะสม 42
  • 43. กฎขอที่ 1 กําหนดจุดสนใจหลักในภาพ - ในภาพจะตอง มีจุดสนใจหลักอยู หนึงจุดเสมอ ่ - อาจจะมีจุดสนใจอื่น ประกอบอยู แตจะ ตองไมเดนไปกวา จุดสนใจหลัก 43
  • 44. กฎขอที่ 2 หลีกเลี่ยงการวางตําแหนงของ จุดสนใจหลักไวกลางภาพ - ถาจุดสนใจอยูกลาง ภาพจะทําใหรสกนิง ู ึ ่ ไมนาสนใจ  - ใชกฎ Rule of Third ชวยในการกําหนด ตําแหนงในการวาง จุดสนใจ 44
  • 45. กฎขอที่ 3 เลือกมุมกลองที่เหมาะสม หลังจากที่กําหนดจุดสนใจ ในภาพแลวใหเดินรอบๆ จุด สนใจนัน เพื่อหามุมมองที่ ้ นาสนใจสําหรับการถาย วิดีโอ 45
  • 46. กฎขอที่ 4: ถายภาพ Close Up เพื่อเนนจุดสนใจ การถายภาพแบบ Close-up จะทําให เกิดความรูสึกใกลชด ิ เหมือนกับวาผูดอยู ู ในเหตุการณขณะนัน ้ เปนการเนนจุดสนใจ และขจัดสวนอืนๆ ที่ ่ ไมตองการออกจาก ภาพ 46
  • 47. กฎขอที่ 5 ใชเสนนําสายตาเพื่อดึงความสนใจ ใชองคประกอบที่มีลกษณะ ั เปนเสนทังเสนตรง และเสนโคง ้ เชน ถนน ลําของแสงแดด ชวย นําสายตาผูชมไปที่จุดสนใจ ทํา ใหเราสามารถเนนจุดสนใจของ ภาพได 47
  • 48. กฎขอที่ 6: หลีกเลี่ยงฉากหลังที่ยุงเหยิง พยายามหลีกเลียงการถายภาพ ่ ที่มีพื้นหลังที่มลักษณะยุงเหยิง ี ซับซอน มีลวดลายเยอะจนเปน การรบกวนจุดสนใจ ซึ่งการ หลีกเลี่ยงสามารถทําไดโดยการ เปลียนมุมกลอง หรือการใช ่ เทคนิคการควบคุมความชัดลึก (Depth of Field) ของภาพ 48
  • 49. กฎขอที่ 7: ใชเฟรมกําหนดกรอบความสนใจ และสรางความลึกของภาพ ใชองคประกอบแวดลอม เชน กรอบประตู, หนาตาง, ตนไม หรือกิ่งไม ในการ สรางกรอบภาพธรรมชาติ เพื่อกําหนดกรอบการมอง ไปยังจุดสนใจในภาพ และสรางมิตใหเกิด ิ ความลึกในภาพ 49
  • 50. กฎขอที่ 8: ถายภาพเคลื่อนไหวในจังหวะทีเหมาะสม ่ ในการถายภาพที่มีการ เคลื่อนไหว เชน รถวิ่ง, ภาพกีฬา จะตองจับ จังหวะที่เหมาะสมของ ภาพการเคลื่อนที่นนๆ ั้ 50
  • 51. สรุป 1. สื่อวิดีโอมี 2 ระบบ คือ ระบบแอนาล็อก และระบบดิจิทัล 2. ในระบบดิจิทัล คือ ขอมูลวิดีโอที่ถูกบันทึก หรือผาน กระบวนการผลิตในรูปแบบดิจิทัล 3. ขันตอนการผลิตวิดีโอดิจิทัลมี 3 ขันตอน คือ ้ ้ 3.1 ขันตอนการเตรียมงานกอนการผลิต ้ 3.2 ขันตอนการผลิต ้ 3.3 ขันตอนหลังการผลิต ้ 51
  • 52. สรุป (ตอ) 4. Type of Camera shot 4.1 ระยะ (Distance) Extreme long shot, Very long shot, Long shot, Medium long shot, Medium shot, Medium close up, Close up shot, Big close up 4.2 มุมกลอง (Angle) Eye level angle, High angle, Low angle 4.3 มุมมองภาพ (Point of view) Objective shot, Subjective shot 4.4 การเคลื่อนที่กลอง (Camera physical movement) Panning, Tilting, Dolling, Trucking 4.5 การเปลียนลักษณะภาพ (Camera apparent ่ movement) Zooming, Focusing 52
  • 53. สรุป (ตอ) 5. การจัดองคประกอบภาพ คือ เทคนิคในการจัดวางจุด สนใจ และสวนประกอบอื่นๆ ในภาพเพื่อใหภาพนัน ้ นาสนใจ และสามารถสื่อความหมายตามที่ผูถายภาพ ตองการ • กําหนดจุดสนใจหลักในภาพ • หลีกเลี่ยงการวางจุดสนใจไวกลางภาพ • เลือกมุมกลองที่เหมาะสม • ถายภาพโคลสอัปเพื่อเนนจุดสนใจ • ใชเสนนําสายตา • หลักเลี่ยงฉากหลังทียุงเหยิง ่ • ใชเฟรมกําหนดกรอบความสนใจและสรางความลึก • ถายภาพเคลือนไหวในจังหวะทีเหมาะสม ่ ่ 53