SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 15
Baixar para ler offline
เศรษฐกิจพอเพียง
       ประเด็นของการนาเสนอ

 แนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ตามแนว
  พระราชดาริฯ
 เศรษฐกิจพอเพียงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
  และสังคมแห่งชาติ
 การประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง

เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนวทางการ
ดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดย
ตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิด
วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลัง
ได้ทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอด
พ้น และสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและ
ยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความ
เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
       เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติ
        ตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน
        จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไป
        ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อ
        โลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง ความมีเหตุผล รวมถึงความ
        จาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผล
        ประทบใด ๆ อันเกิดจาการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน
        ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบครอบ และความ
        ระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน
        และดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้าง
        พื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี
        และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์
        สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวตด้วยความอดทน
                                                      ิ
        ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบครอบ เพื่อให้สมดุลและ
        พร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวาง
        ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้
        เป็นอย่างดี
กรอบแนวทางการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
ภายใต้แนวคิด ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส

 กลุมเป้าหมาย
    ่                               * เชื่อมโยง              แนวทางการพัฒนา
                                    กลุ่ม/องค์กร
                         เครือข่าย  (เครือข่าย)
                      วิสาหกิจชุมชน * มาตรฐานเครือข่าย
                                       * ประสิทธิภาพในการดาเนินงาน
                      กลุ่ม            ของกลุ่ม/องค์กร (ทุน/ผลิต/
                                       ตลาด/บริหารจัดการ)
                  เศรษฐกิจชุมชน
                                       * มาตรฐานกลุ่ม/องค์กร

           ปัจเจก / ครัวเรือน          * วิถีชีวิตแบบพอเพียงในระดับครัวเรือน/บุคคล

   พออยู่ พอกิน                   อยู่ดี กินดี                     มั่งมีศรีสุข
                        เศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่างกิจกรรมในหมูบ้านเศรษฐกิจชุมชนพึงตนเอง
                                                  ่                    ่
 จากรายงานผลการวิจัยโครงการเชื่อมเครือข่ายหน่วยงานเพื่อประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง                                    ในระดับ
                             ครัวเรือนและชุมชน โดยมูลนิธิชุมชนท้องถิ่นพัฒนา


ความพอประมาณ                  ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน                            เงื่อนไขการ             เงื่อนไขคุณธรรม
                                                                                    เรียนรู้
1. ปลูกข้าวไว้บริโภคใน        1. มีกลุ่มอออม        1. มีกลุ่มออมทรัพย์ เพื่อ       1. มีแผนชุมชน           1. ใช้ศาสนานาวิถีชีวิต2.
ครัวเรือน            2. มี    ทรัพย์เพื่อการผลิต    การผลิต              2. มี      2. มีศูนย์การเรียนรู้   ยึดมั่นในประเพณี อัน
กลุ่มอาชีพ มีการแปรรูป        2. จัดชุมชน           ร้านค้าชุมชน ปั้มน้ามัน         3. ศึกษาดูงาน           ดีงาม         3. เด็กๆ
ถนอมอาหาร            3. ทา    ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ   3. ทาเกษตรกรรม                  4. สืบทอด               เรียนศาสนา
เกษตรธรรมชาติ ปลูกผัก         3. มีร้านค้าชุมชน     หลากหลาย ผสมผสาน 4.             วัฒนธรรม          5.
ปลอดสารพิษ               4.   4. ปลูกพืชผักเพื่อ    เลี้ยงสัตว์ไว้เป็นอาหาร         มีสภาผู้นา
ทากสิกรรมใช้ปุ๋ยอินทรีย์      ลดรายจ่าย             5. มีวิถีชีวิตตามหลัก
และ ปุยชีวภาพ
         ๋                    5. รักษาวัฒนธรรม      พุทธศาสนา               6. มี
5. มีวิสาหกิจชุมชน 6.         และ วิถีชีวิต         ระบบการจัดสวัสดิการ
ปลูกพืชเสริมรายได้หลักเก็บ                          ชุมชน                7. มี
เกี่ยว       7. มีค่านิยม                           ระบบตลาดกลาง 8. มีป่า
พอประมาณ ไม่เป็นหนี้                                ชุมชน
ลด ละ เลิก อบายมุข
8.ปลูกพืชเสริมรายได้หลัก
เก็บเกี่ยว
พระราชดารัสฯ เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง

“สมัยก่อนนี้ พอมีพอกิน สมัยนี้ชักจะไม่ พอมีพอกิน จึง
ต้องมีนโยบายที่จะทาเศรษฐกิจ พอเพียง เพื่อที่จะให้ทุก
คนมีความพอเพียงได้ ให้ พอเพียง นี้ก็หมายความว่า มี
กินมีอยู่ ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่หรูหราก็ได้ แต่ว่า..พอ.. ”
   (พระราชดารัสฯ เนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 4 ธันวาคม พ.ศ.2541 )
พระราชดารัสฯ เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
“...เศรษฐกิจพอเพียง...เป็นเสมือนรากฐานของชีวิต
รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูก
ตอกรองรับบ้านเรือน ตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะ
มั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม
และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้าไป”
(พระราชดารัสฯ จากวารสารชัยพัฒนาประจาเดือน สิงหาคม พ.ศ.2542)
นัยสาคัญของแนวคิด 3 ประการ
• ยึดหลัก “ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน”
• ให้ความสาคัญกับ “การรวมกลุมของชาวบ้าน” และ
                                ่
  พัฒนาชุมชนนั้นๆ ให้เข้มแข็ง และมีการขยายเครือข่าย
• ตั้งอยู่บนพื้นฐานของ ความมีเมตตา ความเอื้ออาทร
  และ ความสามัคคี ของสมาชิก ในการร่วมแรงร่วมใจ
  ดาเนินกิจการให้บรรลุผลสาเร็จ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                   ทางสายกลาง
                      พอประมาณ

             มีเหตุผล                มีภูมิคุ้มกัน
                                      ในตัวที่ดี
       เงื่อนไขความรู้                         เงื่อนไขคุณธรรม
รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง        ซื่อสัตย์สุจริต สติปัญญาขยันอดทน แบ่งปัน

                           นาไปสู่
       เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/วัฒนธรรม
        สมดุล/พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง
เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นกรอบแนวคิดที่ชี้บอกหลักการและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่
 ทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติ


                    เศรษฐกิจพอเพียง                         ทฤษฎีใหม่
    แบบพื้นฐาน                 ระดับบุคคล/ครอบครัว                ขั้นที่ 1

                               ระดับชุมชน/องค์กร                  ขั้นที่ 2
   แบบก้าวหน้า
                                  ระดับประเทศ                     ขั้นที่ 3
เศรษฐกิจพอเพียง
  กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แผนฯ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545–2549)
• ยึดหลักทางสายกลางในการพัฒนาและบริหาร
  ประเทศ โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ
• นาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการ
  ดาเนินการทุกขันตอน โดยอาศัยความรอบรู้ ความ
                  ้
  รอบคอบ และความระมัดระวัง
• เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ
  เจ้าหน้าทีของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุก
            ่
  ระดับ
เศรษฐกิจพอเพียง
     กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แผนฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550–2554)
• น้อมนาสู่การปฏิบัติ เน้น ความรู้และการเรียนรู้ เป็นตัวหลัก
• ใช้ จริยธรรม คุณธรรม ความเมตตากรุณา ความซื่อสัตย์สุจริต ควบคู่
  ไปกับความสามัคคีและความขยันหมั่นเพียร เป็นกลไกในการขับเคลื่อน
  ให้บรรลุเป้าหมาย คือ สังคมที่มีความสุขอย่างยั่งยืน
• 5 ยุทธศาสตร์ : การพัฒนาคน ชุมชน การปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ
  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และระบบธรรมาภิบาล
• พัฒนาตัวชี้วด : ความสุข สุขภาพ ความยากจน
               ั
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ประชาชนชาวไทย
 ไม่ฟุ้งเฟ้อ ประหยัดในทางที่ถูกต้อง
 ประพฤติชอบและประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต
 ละเลิกการแก่งแย่ง เบียดบังผู้อื่น
 ไม่หยุดนิ่งทีจะหาทางยืนหยัดได้ด้วยตนเอง
               ่
 เพิ่มพูนความดี ลดละความชัว ่
การประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง
บทสรุป
 โดยพื้นฐานก็คือ การพึ่งตนเอง เป็นหลัก
  การทาอะไรอย่างเป็นขั้นเป็นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง
 พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร ความสมเหตุสมผล
  และการพร้อมรับความเปลี่ยนแปลง
 การสร้างสามัคคีให้เกิดขึ้นบนพื้นฐานของความสมดุลใน
  แต่ละสัดส่วนแต่ละระดับ
 ครอบคลุมทั้งทางด้านจิตใจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและ
  สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี รวมถึงเศรษฐกิจ
การประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง

ข้อสังเกต
 การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกิดได้หลายด้าน
  และหลายรูปแบบ ไม่มีสูตรสาเร็จ แต่ละคน แต่ละฝ่าย
  จะต้องพิจารณาตามความเหมาะสม ให้สอดคล้องกับเงื่อนไข
  และสภาวะที่ตนเผชิญอยู่
 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จะช่วยให้ทุกคน ทุกฝ่าย “ฉุก
  คิด” ได้ว่ามีทางเลือกอีกทางหนึ่ง ที่จะช่วยให้เกิดความยั่งยืน
  และสมดุลในระยะยาว

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงChanon Mala
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Aoun หมูอ้วน
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนNatthawut Sutthi
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันPaew Tongpanya
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 

Mais procurados (20)

Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 

Semelhante a เศรษฐกิจพอเพียงPpt

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงENooilada
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงWitayanun Sittisomboon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงKruhy LoveOnly
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง sapay
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงjo
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงsukhom
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงfreelance
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...freelance
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 

Semelhante a เศรษฐกิจพอเพียงPpt (20)

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Thai economic
Thai economicThai economic
Thai economic
 
Thai economic
Thai economicThai economic
Thai economic
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Vass iry wed83254
Vass iry wed83254Vass iry wed83254
Vass iry wed83254
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 

เศรษฐกิจพอเพียงPpt

  • 1. เศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นของการนาเสนอ  แนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ตามแนว พระราชดาริฯ  เศรษฐกิจพอเพียงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ  การประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง
  • 2. เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนวทางการ ดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดย ตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิด วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลัง ได้ทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอด พ้น และสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและ ยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความ เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
  • 3. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติ ตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไป ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อ โลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง ความมีเหตุผล รวมถึงความ จาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผล ประทบใด ๆ อันเกิดจาการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบครอบ และความ ระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน และดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้าง พื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์ สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวตด้วยความอดทน ิ ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบครอบ เพื่อให้สมดุลและ พร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้ เป็นอย่างดี
  • 4. กรอบแนวทางการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้แนวคิด ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส กลุมเป้าหมาย ่ * เชื่อมโยง แนวทางการพัฒนา กลุ่ม/องค์กร เครือข่าย (เครือข่าย) วิสาหกิจชุมชน * มาตรฐานเครือข่าย * ประสิทธิภาพในการดาเนินงาน กลุ่ม ของกลุ่ม/องค์กร (ทุน/ผลิต/ ตลาด/บริหารจัดการ) เศรษฐกิจชุมชน * มาตรฐานกลุ่ม/องค์กร ปัจเจก / ครัวเรือน * วิถีชีวิตแบบพอเพียงในระดับครัวเรือน/บุคคล พออยู่ พอกิน อยู่ดี กินดี มั่งมีศรีสุข เศรษฐกิจพอเพียง
  • 5. ตัวอย่างกิจกรรมในหมูบ้านเศรษฐกิจชุมชนพึงตนเอง ่ ่ จากรายงานผลการวิจัยโครงการเชื่อมเครือข่ายหน่วยงานเพื่อประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับ ครัวเรือนและชุมชน โดยมูลนิธิชุมชนท้องถิ่นพัฒนา ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน เงื่อนไขการ เงื่อนไขคุณธรรม เรียนรู้ 1. ปลูกข้าวไว้บริโภคใน 1. มีกลุ่มอออม 1. มีกลุ่มออมทรัพย์ เพื่อ 1. มีแผนชุมชน 1. ใช้ศาสนานาวิถีชีวิต2. ครัวเรือน 2. มี ทรัพย์เพื่อการผลิต การผลิต 2. มี 2. มีศูนย์การเรียนรู้ ยึดมั่นในประเพณี อัน กลุ่มอาชีพ มีการแปรรูป 2. จัดชุมชน ร้านค้าชุมชน ปั้มน้ามัน 3. ศึกษาดูงาน ดีงาม 3. เด็กๆ ถนอมอาหาร 3. ทา ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 3. ทาเกษตรกรรม 4. สืบทอด เรียนศาสนา เกษตรธรรมชาติ ปลูกผัก 3. มีร้านค้าชุมชน หลากหลาย ผสมผสาน 4. วัฒนธรรม 5. ปลอดสารพิษ 4. 4. ปลูกพืชผักเพื่อ เลี้ยงสัตว์ไว้เป็นอาหาร มีสภาผู้นา ทากสิกรรมใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ลดรายจ่าย 5. มีวิถีชีวิตตามหลัก และ ปุยชีวภาพ ๋ 5. รักษาวัฒนธรรม พุทธศาสนา 6. มี 5. มีวิสาหกิจชุมชน 6. และ วิถีชีวิต ระบบการจัดสวัสดิการ ปลูกพืชเสริมรายได้หลักเก็บ ชุมชน 7. มี เกี่ยว 7. มีค่านิยม ระบบตลาดกลาง 8. มีป่า พอประมาณ ไม่เป็นหนี้ ชุมชน ลด ละ เลิก อบายมุข 8.ปลูกพืชเสริมรายได้หลัก เก็บเกี่ยว
  • 6. พระราชดารัสฯ เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง “สมัยก่อนนี้ พอมีพอกิน สมัยนี้ชักจะไม่ พอมีพอกิน จึง ต้องมีนโยบายที่จะทาเศรษฐกิจ พอเพียง เพื่อที่จะให้ทุก คนมีความพอเพียงได้ ให้ พอเพียง นี้ก็หมายความว่า มี กินมีอยู่ ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่หรูหราก็ได้ แต่ว่า..พอ.. ” (พระราชดารัสฯ เนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 4 ธันวาคม พ.ศ.2541 )
  • 7. พระราชดารัสฯ เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง “...เศรษฐกิจพอเพียง...เป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูก ตอกรองรับบ้านเรือน ตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะ มั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้าไป” (พระราชดารัสฯ จากวารสารชัยพัฒนาประจาเดือน สิงหาคม พ.ศ.2542)
  • 8. นัยสาคัญของแนวคิด 3 ประการ • ยึดหลัก “ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน” • ให้ความสาคัญกับ “การรวมกลุมของชาวบ้าน” และ ่ พัฒนาชุมชนนั้นๆ ให้เข้มแข็ง และมีการขยายเครือข่าย • ตั้งอยู่บนพื้นฐานของ ความมีเมตตา ความเอื้ออาทร และ ความสามัคคี ของสมาชิก ในการร่วมแรงร่วมใจ ดาเนินกิจการให้บรรลุผลสาเร็จ
  • 9. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริต สติปัญญาขยันอดทน แบ่งปัน นาไปสู่ เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/วัฒนธรรม สมดุล/พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง
  • 10. เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นกรอบแนวคิดที่ชี้บอกหลักการและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ ทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติ เศรษฐกิจพอเพียง ทฤษฎีใหม่ แบบพื้นฐาน ระดับบุคคล/ครอบครัว ขั้นที่ 1 ระดับชุมชน/องค์กร ขั้นที่ 2 แบบก้าวหน้า ระดับประเทศ ขั้นที่ 3
  • 11. เศรษฐกิจพอเพียง กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนฯ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545–2549) • ยึดหลักทางสายกลางในการพัฒนาและบริหาร ประเทศ โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ • นาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการ ดาเนินการทุกขันตอน โดยอาศัยความรอบรู้ ความ ้ รอบคอบ และความระมัดระวัง • เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ เจ้าหน้าทีของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุก ่ ระดับ
  • 12. เศรษฐกิจพอเพียง กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550–2554) • น้อมนาสู่การปฏิบัติ เน้น ความรู้และการเรียนรู้ เป็นตัวหลัก • ใช้ จริยธรรม คุณธรรม ความเมตตากรุณา ความซื่อสัตย์สุจริต ควบคู่ ไปกับความสามัคคีและความขยันหมั่นเพียร เป็นกลไกในการขับเคลื่อน ให้บรรลุเป้าหมาย คือ สังคมที่มีความสุขอย่างยั่งยืน • 5 ยุทธศาสตร์ : การพัฒนาคน ชุมชน การปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และระบบธรรมาภิบาล • พัฒนาตัวชี้วด : ความสุข สุขภาพ ความยากจน ั
  • 13. การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนชาวไทย  ไม่ฟุ้งเฟ้อ ประหยัดในทางที่ถูกต้อง  ประพฤติชอบและประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต  ละเลิกการแก่งแย่ง เบียดบังผู้อื่น  ไม่หยุดนิ่งทีจะหาทางยืนหยัดได้ด้วยตนเอง ่  เพิ่มพูนความดี ลดละความชัว ่
  • 14. การประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง บทสรุป  โดยพื้นฐานก็คือ การพึ่งตนเอง เป็นหลัก การทาอะไรอย่างเป็นขั้นเป็นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง  พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร ความสมเหตุสมผล และการพร้อมรับความเปลี่ยนแปลง  การสร้างสามัคคีให้เกิดขึ้นบนพื้นฐานของความสมดุลใน แต่ละสัดส่วนแต่ละระดับ  ครอบคลุมทั้งทางด้านจิตใจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี รวมถึงเศรษฐกิจ
  • 15. การประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง ข้อสังเกต  การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกิดได้หลายด้าน และหลายรูปแบบ ไม่มีสูตรสาเร็จ แต่ละคน แต่ละฝ่าย จะต้องพิจารณาตามความเหมาะสม ให้สอดคล้องกับเงื่อนไข และสภาวะที่ตนเผชิญอยู่  ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จะช่วยให้ทุกคน ทุกฝ่าย “ฉุก คิด” ได้ว่ามีทางเลือกอีกทางหนึ่ง ที่จะช่วยให้เกิดความยั่งยืน และสมดุลในระยะยาว