SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
Baixar para ler offline
“การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”
ในปี 2558 ประเทศกลุ่มอาเซียน จะเข้าสู่การเป็น
ประชาคมหนึ่งเดียวภายใต้คาขวัญ “หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์
หนึ่งประชาคม ” ซึ่งจะนาไปสู่การเกิดการแลกเปลี่ยน และความ
ร่วมมือ ในหลากหลายด้าน โดยเฉพาะสังคม เศรษฐกิจ และ
การเมือง
การเรียนรู้ศึกษาทั้ง 3 ด้านหลักข้างต้นของประเทศใน
ประชาคมอาเซียน ถือว่าเป็นปัจจัยสาคัญเพื่อการปรับตัว และประเมิน
โอกาส อันจะนาไปสู่การพัฒนาประเทศไปในทิศทางที่ดียิ่งขึ้นโดยมี
บทบาทสาคัญ 3 ด้าน คือ
1. เป็นศูนย์ข้อมูล ( Think Tank) ของประเทศ ข้อมูลข่าวสารโดย
จะมีข้อมูลด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ของทุกประเทศใน
อาเซียนอย่างครบถ้วนเช่น ข้อมูลจานวนประธานาธิบดีของประเทศ
อินโดนีเซียจากอดีตถึงปัจจุบัน นโยบายรัฐบาลพม่าเป็นอย่างไร
เศรษฐกิจของเวียดนามจะเติบโตไปในทิศทางใด ฯลฯ เรื่องเหล่านี้
จะรวบรวมอยู่ในศูนย์อาเซียนศึกษาทั้งหมด
2. การทาวิจัยที่เกี่ยวกับอาเซียน

เช่น การทาวิจัยเกี่ยวกับความ
แตกต่างด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม นอกจากนี้ ยังมีการ
เชื่อมโยงนักวิจัยระหว่างประเทศต่างๆ ทั้งไทย และประเทศใน
อาเซียนให้ทางานวิจัยร่วมกัน
3. จัดฝึกอบรม โดยจัดการบริการวิชาการ/อบรม/ สัมมนา ให้
คนไทย และคนในประเทศอาเซียน ให้มีความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ
อาเซียนในด้านต่างๆ
ศาสตราจารย์ ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อธิการบดี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวถึงการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่
ประชาคมอาเซียนในภาพรวมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่า
มหาวิทยาลัยได้ดาเนินการแล้วหลายเรื่อง ซึ่งศูนย์อาเซียนศึกษาจะ
เป็นหน่วยงานสาคัญในการรองรับความต้องการค้นคว้าข้อมูล และ
การศึกษาเรียนรู้เูพิ่มเติมของนั กศึกษาตลอดจนประชาชนทั่ วไป โดย
มหาวิทยาลัยได้เตรียมมการในหลากหลายด้าน คือ
1. การปรับตารางการเรียนการสอนให้ตรงกับอาเซียน ภายในปี
2557 ทุกมหาวิทยาลัยในประเทศไทยจะปรับตารางเปิดการเรียน
การสอนในช่วงเดือนสิงหาคม-กันยายน ไม่ใช่เดือนมิถุนายนเช่นใน
ปัจจุบัน เพื่อให้ตารางการเรียนการสอนตรงกับอาเซียน ซึ่งจะทาให้
การแลกเปลี่ยนอาจารย์ นักศึกษา และนักวิจัย จะทาได้ง่ายขึ้น
นอกจากนี้ ไม่ใช่เพียงตารางเรียนในส่วนของประเทศไทย กับ
ประเทศในอาเซียนเท่านั้น แต่รวมถึงตารางเรียนของประเทศไทยกับ
ประเทศในยุโรป และอเมริกาด้วย ซึ่งจะเปิดการเรียนการสอนช่วง
เดือนสิงหาคม-กันยายน เช่นกัน เหล่านี้จะเป็นโอกาสในการ
แลกเปลี่ยนทางการศึกษาที่ดี และคล่องตัวมากยิ่งขึ้นระหว่างประเทศ
ไทย ประเทศอาเซียน และประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรปและอเมริกา
2. ส่งเสริมให้นักศึกษาเลือกเรียนภาษาอาเซียนป็นภาษาที่ 3 มาก
ขึ้น การสื่อสารภาษาในประเทศอาเซียนเป็นภาษาที่ 3 ได้นั้น
เป็นเรื่องสาคัญ เพราะการสื่อสารได้ 2 ภาษา คือ ภาษาไทย
และภาษาอังกฤษ นั้น ยังถือว่าน้อยไป เมื่อเทียบกับการแข่งขัน
ในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต
3. เพิ่มทางเลือกในการเรียนภาษาอังกฤษ เนื่องจากภาษาอังกฤษ
เป็นภาษาหลักที่อาเซียนประกาศให้เป็นภาษากลาง ซึ่งปัจจุบัน
มหาวิทยาลัย ที่ มีคณะศิลปศาสตร์ และสถาบันภาษาที่เปิดสอน
ภาษาอังกฤษอยู่แล้ว แต่ ก็ ยังไม่เพียงพอ นอกจากนี้ ควรที่จะมี
อาจารย์ต่างประเทศ เพื่อให้นักศึกษาได้มีการสื่อสารภาษาอังกฤษ
และมีบรรยาการศของความเป็นนานาชาติมากยิ่งขึ้น
4. สร้างเครือข่ายด้านวิชาการกับมหาวิทยาลัยชั้นนาของประเท ศ
อาเซียน จัดให้นักศึกษามีโอกาสไปเยี่ยมและทากิจกรรมร่วมกับ
มหาวิทยาลัยในประเทศอาเซียน เช่น การสัมมาร่วมกัน การร่วม
กิจกรรมกีฬาเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษาเหล่านี้คือสิ่งที่ทาให้
มีความตื่นตัว กระตือรือร้นในการเตรียมพร้อมเข้าสู่การเป็นประชาคม
อาเซียน
5. การปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นหลักสูตรอาเซียน
คือ ในวิชา
พื้นฐาน จะบรรจุ “วิชาอาเซียน ” เพื่อเป็นอีกหนึ่งทางเลือก และมี
นโยบายให้ทุกคณะที่สามารถเปิดการเรียนการสอนวิชาเกี่ยวกับ
อาเซียนได้ ให้เปิดการเรียนการสอนด้านนี้ด้วย เช่น คณะ
นิติศาสตร์ ให้เพิ่ม วิชากฎหมายอาเซียน หรือ คณะเศรษฐศาสตร์
ให้เพิ่มวิชาเศรษฐกิจอาเซียน เป็นต้น
ศาสตราจารย์ ดร.สมคิด ยังได้แสดงความคิดเห็นได้อย่าง
น่าสนใจว่า อาเซียนเป็นเรื่องของ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง หาก
ทาเข้าใจเกี่ยวกับทั้ง 3 ด้านนี้มากขึ้น ก็จะสามารถปรับตัว และ
พร้อมที่จะเข้าสู่สังคมอาเซียนได้ดียิ่งขึ้น
การที่คนในประเทศอาเซียนเข้ามาใช้ชีวิตอยู่ในสังคมไทย
คนไทยต้องเปิดใจกว้างมากขึ้น เช่น การที่คนไท ยบางส่วนยังมี
ทัศนคติในเชิงลบกับบางประเทศในอาเซียนนั้น
เราต้องปรับ
ความคิดใหม่ในแง่ของความเท่าเทียมกัน เนื่องจากในอนาคตชาติ
เหล่านี้ คือ อีกหนึูงโอกาสการเป็นตลาดแรงงงานของไทย ซึ่ง
ต่อไป เมื่อมองในเชิงรับ ประชากรของประเทศอาเซียนต้องเข้ามา
ศึกษา ทางาน และลงทุนในประเทศไทย ในทางกลับกัน ในเชิงรุก
คนไทยก็มีโอกาสไปเรียน ทางาน และบุกตลาดในประเทศเหล่านี้
เช่นกัน ดังนั้น การปรับตั้งแต่มุมมอง การเปิดใจทาความเข้าใจ
เรียนรู้จนสามารถมองเห็นโอกาสใน 3 ด้านที่กล่าวมาข้างต้น ถือว่า
สาคัญมากในการเตรียมพร้อมสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ซึ่งศูนย์
อาเซียนศึกษานับว่าูมีบทบาทสาคัญที่สามารถตอบโจทย์ในการเป็น
คลังความรู้ และเป็นส่วนสาคัญในการผลักดัน ให้ ประชาชนใน
สังคมไทยให้พร้อมกับการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนได้อย่าง
เข้มแข็ง ต่อไป ศาสตราจารย์ ดร.สมคิด กล่าวทิ้งท้าย

Mais conteúdo relacionado

Destaque (14)

Cumple
CumpleCumple
Cumple
 
My Report Profile in Math Major 10,11,12
My Report Profile in Math Major 10,11,12My Report Profile in Math Major 10,11,12
My Report Profile in Math Major 10,11,12
 
Tjplistrik5
Tjplistrik5Tjplistrik5
Tjplistrik5
 
Session 3 - Taking the Lead on Projects
Session 3 - Taking the Lead on ProjectsSession 3 - Taking the Lead on Projects
Session 3 - Taking the Lead on Projects
 
Research I (Mathematics in Elementary level)
Research I (Mathematics in Elementary level)Research I (Mathematics in Elementary level)
Research I (Mathematics in Elementary level)
 
Præsentation Expo
Præsentation ExpoPræsentation Expo
Præsentation Expo
 
Set Difference
Set DifferenceSet Difference
Set Difference
 
Tweet l ive
Tweet l iveTweet l ive
Tweet l ive
 
Bend Oregon Roundabout Art
Bend Oregon Roundabout ArtBend Oregon Roundabout Art
Bend Oregon Roundabout Art
 
Session 2 - Effective presentations
Session 2 - Effective presentationsSession 2 - Effective presentations
Session 2 - Effective presentations
 
Galobal Payments Raising Wave -WP
Galobal Payments Raising Wave -WPGalobal Payments Raising Wave -WP
Galobal Payments Raising Wave -WP
 
Michael Milnes - A Dedicated Physical Therapist
Michael Milnes -  A Dedicated Physical TherapistMichael Milnes -  A Dedicated Physical Therapist
Michael Milnes - A Dedicated Physical Therapist
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
Virtual classroom
Virtual classroomVirtual classroom
Virtual classroom
 

Semelhante a บทความวิชาการ

Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunity
siripon25
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AECความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
Mudhita Ubasika
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
Mudhita Ubasika
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall asean
i_cavalry
 
4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development plane
chanok
 
เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
nonjamta
 
เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
nonjamta
 
อาเซียน คืออะไร
อาเซียน คืออะไรอาเซียน คืออะไร
อาเซียน คืออะไร
May Reborn
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
tomodachi7016
 
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนการเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
AkarimA SoommarT
 

Semelhante a บทความวิชาการ (20)

Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunity
 
Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AECความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
 
Asean m3
Asean m3Asean m3
Asean m3
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 
ประเทศไทยกับอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียนประเทศไทยกับอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียน
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
Asean
AseanAsean
Asean
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall asean
 
4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development plane
 
เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
 
เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
 
อาเซียน คืออะไร
อาเซียน คืออะไรอาเซียน คืออะไร
อาเซียน คืออะไร
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
 
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนการเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเตรียมความพร้อมของห้องสมุดสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
 

Mais de เดอะ เกิล์ล

Mais de เดอะ เกิล์ล (9)

เทคโนโลยีที่จัดการเรียนการสอนแบบ Virtual classroom
เทคโนโลยีที่จัดการเรียนการสอนแบบ Virtual classroomเทคโนโลยีที่จัดการเรียนการสอนแบบ Virtual classroom
เทคโนโลยีที่จัดการเรียนการสอนแบบ Virtual classroom
 
เทคโนโลยีที่จัดการเรียนการสอนแบบ Virtual classroom
เทคโนโลยีที่จัดการเรียนการสอนแบบ Virtual classroomเทคโนโลยีที่จัดการเรียนการสอนแบบ Virtual classroom
เทคโนโลยีที่จัดการเรียนการสอนแบบ Virtual classroom
 
เทคโนโลยีที่จัดการเรียนการสอนแบบ Virtual classroom
เทคโนโลยีที่จัดการเรียนการสอนแบบ Virtual classroomเทคโนโลยีที่จัดการเรียนการสอนแบบ Virtual classroom
เทคโนโลยีที่จัดการเรียนการสอนแบบ Virtual classroom
 
PDCA II
PDCA IIPDCA II
PDCA II
 
ประวัติส่วนตัว II
ประวัติส่วนตัว IIประวัติส่วนตัว II
ประวัติส่วนตัว II
 
PDCA
PDCAPDCA
PDCA
 
พลเมืองอาเซียน
พลเมืองอาเซียนพลเมืองอาเซียน
พลเมืองอาเซียน
 
About Me II
About Me IIAbout Me II
About Me II
 
About Me.
About Me.About Me.
About Me.
 

บทความวิชาการ

  • 1. “การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ในปี 2558 ประเทศกลุ่มอาเซียน จะเข้าสู่การเป็น ประชาคมหนึ่งเดียวภายใต้คาขวัญ “หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม ” ซึ่งจะนาไปสู่การเกิดการแลกเปลี่ยน และความ ร่วมมือ ในหลากหลายด้าน โดยเฉพาะสังคม เศรษฐกิจ และ การเมือง การเรียนรู้ศึกษาทั้ง 3 ด้านหลักข้างต้นของประเทศใน ประชาคมอาเซียน ถือว่าเป็นปัจจัยสาคัญเพื่อการปรับตัว และประเมิน โอกาส อันจะนาไปสู่การพัฒนาประเทศไปในทิศทางที่ดียิ่งขึ้นโดยมี บทบาทสาคัญ 3 ด้าน คือ 1. เป็นศูนย์ข้อมูล ( Think Tank) ของประเทศ ข้อมูลข่าวสารโดย จะมีข้อมูลด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ของทุกประเทศใน อาเซียนอย่างครบถ้วนเช่น ข้อมูลจานวนประธานาธิบดีของประเทศ อินโดนีเซียจากอดีตถึงปัจจุบัน นโยบายรัฐบาลพม่าเป็นอย่างไร เศรษฐกิจของเวียดนามจะเติบโตไปในทิศทางใด ฯลฯ เรื่องเหล่านี้ จะรวบรวมอยู่ในศูนย์อาเซียนศึกษาทั้งหมด
  • 2. 2. การทาวิจัยที่เกี่ยวกับอาเซียน เช่น การทาวิจัยเกี่ยวกับความ แตกต่างด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม นอกจากนี้ ยังมีการ เชื่อมโยงนักวิจัยระหว่างประเทศต่างๆ ทั้งไทย และประเทศใน อาเซียนให้ทางานวิจัยร่วมกัน 3. จัดฝึกอบรม โดยจัดการบริการวิชาการ/อบรม/ สัมมนา ให้ คนไทย และคนในประเทศอาเซียน ให้มีความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ อาเซียนในด้านต่างๆ ศาสตราจารย์ ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวถึงการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนในภาพรวมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่า มหาวิทยาลัยได้ดาเนินการแล้วหลายเรื่อง ซึ่งศูนย์อาเซียนศึกษาจะ เป็นหน่วยงานสาคัญในการรองรับความต้องการค้นคว้าข้อมูล และ การศึกษาเรียนรู้เูพิ่มเติมของนั กศึกษาตลอดจนประชาชนทั่ วไป โดย มหาวิทยาลัยได้เตรียมมการในหลากหลายด้าน คือ 1. การปรับตารางการเรียนการสอนให้ตรงกับอาเซียน ภายในปี 2557 ทุกมหาวิทยาลัยในประเทศไทยจะปรับตารางเปิดการเรียน การสอนในช่วงเดือนสิงหาคม-กันยายน ไม่ใช่เดือนมิถุนายนเช่นใน
  • 3. ปัจจุบัน เพื่อให้ตารางการเรียนการสอนตรงกับอาเซียน ซึ่งจะทาให้ การแลกเปลี่ยนอาจารย์ นักศึกษา และนักวิจัย จะทาได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ ไม่ใช่เพียงตารางเรียนในส่วนของประเทศไทย กับ ประเทศในอาเซียนเท่านั้น แต่รวมถึงตารางเรียนของประเทศไทยกับ ประเทศในยุโรป และอเมริกาด้วย ซึ่งจะเปิดการเรียนการสอนช่วง เดือนสิงหาคม-กันยายน เช่นกัน เหล่านี้จะเป็นโอกาสในการ แลกเปลี่ยนทางการศึกษาที่ดี และคล่องตัวมากยิ่งขึ้นระหว่างประเทศ ไทย ประเทศอาเซียน และประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรปและอเมริกา 2. ส่งเสริมให้นักศึกษาเลือกเรียนภาษาอาเซียนป็นภาษาที่ 3 มาก ขึ้น การสื่อสารภาษาในประเทศอาเซียนเป็นภาษาที่ 3 ได้นั้น เป็นเรื่องสาคัญ เพราะการสื่อสารได้ 2 ภาษา คือ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ นั้น ยังถือว่าน้อยไป เมื่อเทียบกับการแข่งขัน ในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต 3. เพิ่มทางเลือกในการเรียนภาษาอังกฤษ เนื่องจากภาษาอังกฤษ เป็นภาษาหลักที่อาเซียนประกาศให้เป็นภาษากลาง ซึ่งปัจจุบัน มหาวิทยาลัย ที่ มีคณะศิลปศาสตร์ และสถาบันภาษาที่เปิดสอน ภาษาอังกฤษอยู่แล้ว แต่ ก็ ยังไม่เพียงพอ นอกจากนี้ ควรที่จะมี
  • 4. อาจารย์ต่างประเทศ เพื่อให้นักศึกษาได้มีการสื่อสารภาษาอังกฤษ และมีบรรยาการศของความเป็นนานาชาติมากยิ่งขึ้น 4. สร้างเครือข่ายด้านวิชาการกับมหาวิทยาลัยชั้นนาของประเท ศ อาเซียน จัดให้นักศึกษามีโอกาสไปเยี่ยมและทากิจกรรมร่วมกับ มหาวิทยาลัยในประเทศอาเซียน เช่น การสัมมาร่วมกัน การร่วม กิจกรรมกีฬาเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษาเหล่านี้คือสิ่งที่ทาให้ มีความตื่นตัว กระตือรือร้นในการเตรียมพร้อมเข้าสู่การเป็นประชาคม อาเซียน 5. การปรับปรุงหลักสูตรให้เป็นหลักสูตรอาเซียน คือ ในวิชา พื้นฐาน จะบรรจุ “วิชาอาเซียน ” เพื่อเป็นอีกหนึ่งทางเลือก และมี นโยบายให้ทุกคณะที่สามารถเปิดการเรียนการสอนวิชาเกี่ยวกับ อาเซียนได้ ให้เปิดการเรียนการสอนด้านนี้ด้วย เช่น คณะ นิติศาสตร์ ให้เพิ่ม วิชากฎหมายอาเซียน หรือ คณะเศรษฐศาสตร์ ให้เพิ่มวิชาเศรษฐกิจอาเซียน เป็นต้น ศาสตราจารย์ ดร.สมคิด ยังได้แสดงความคิดเห็นได้อย่าง น่าสนใจว่า อาเซียนเป็นเรื่องของ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง หาก
  • 5. ทาเข้าใจเกี่ยวกับทั้ง 3 ด้านนี้มากขึ้น ก็จะสามารถปรับตัว และ พร้อมที่จะเข้าสู่สังคมอาเซียนได้ดียิ่งขึ้น การที่คนในประเทศอาเซียนเข้ามาใช้ชีวิตอยู่ในสังคมไทย คนไทยต้องเปิดใจกว้างมากขึ้น เช่น การที่คนไท ยบางส่วนยังมี ทัศนคติในเชิงลบกับบางประเทศในอาเซียนนั้น เราต้องปรับ ความคิดใหม่ในแง่ของความเท่าเทียมกัน เนื่องจากในอนาคตชาติ เหล่านี้ คือ อีกหนึูงโอกาสการเป็นตลาดแรงงงานของไทย ซึ่ง ต่อไป เมื่อมองในเชิงรับ ประชากรของประเทศอาเซียนต้องเข้ามา ศึกษา ทางาน และลงทุนในประเทศไทย ในทางกลับกัน ในเชิงรุก คนไทยก็มีโอกาสไปเรียน ทางาน และบุกตลาดในประเทศเหล่านี้ เช่นกัน ดังนั้น การปรับตั้งแต่มุมมอง การเปิดใจทาความเข้าใจ เรียนรู้จนสามารถมองเห็นโอกาสใน 3 ด้านที่กล่าวมาข้างต้น ถือว่า สาคัญมากในการเตรียมพร้อมสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ซึ่งศูนย์ อาเซียนศึกษานับว่าูมีบทบาทสาคัญที่สามารถตอบโจทย์ในการเป็น คลังความรู้ และเป็นส่วนสาคัญในการผลักดัน ให้ ประชาชนใน สังคมไทยให้พร้อมกับการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนได้อย่าง เข้มแข็ง ต่อไป ศาสตราจารย์ ดร.สมคิด กล่าวทิ้งท้าย