SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 54
การติดตั้งไฟฟ้า
ภายนอกอาคาร
โดย อาจารย์สุวินันท์ จันทอุไร
เนื้อหา
 เครื่องมือที่ใช้สำาหรับติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
 อุปกรณ์และวัสดุที่ใช้ในการติดตั้งไฟฟ้าภายนอก
อาคาร
 การขุดหลุมปักเสา
 การพาดสายไฟฟ้า
 การยึดเสาไฟฟ้า
 การติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้า
 การติดตั้งอุปกรณ์ป้องกัน
เครื่องมือที่ใช้สำาหรับติดตั้ง
ไฟฟ้าภายนอกอาคาร
งานติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคารได้แก่การปักเสา
พาดสายไฟฟ้า ยึดโยง การ
ติดตั้งอุปกรณ์ตัดตอนและอุปกรณ์ป้องกันระบบ
จำาหน่ายแรงสูง ระบบจำาหน่าย
แรงตำ่า หม้อแปลงไฟฟ้า ฟิวส์และอื่น ๆ ซึ่งจำาเป็นต้อง
ใช้เครื่องมือ ที่เหมาะสม
เท่านั้นจึงจะสามารถปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย
เครื่องมือที่จำาเป็นต้องใช้ขณะ
ปฏิบัติงานติดตั้งไฟฟ้า
ภายนอกอาคาร มีดังนี้
1.เครื่องมือป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 
2. เครื่องมือสำาหรับงานปักเสาไฟฟ้า
3. เครื่องมือสำาหรับงานพาดสายไฟฟ้า
4. เครื่องมือวัดและทดสอบ
1เครื่องมือป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ประกอบ
ด้วย
- หมวกแข็งป้องกันอันตราย
- ถุงมือยาง
- เข็มขัดนิรภัย
- รองเท้านิรภัย
- เหล็กปีนเสา
ส่วนใหญ่จะใช้เครื่องมือเพื่อปฏิบัติงานบนเสาไฟฟ้า
ซึ่งจะต้องแต่งกายให้
ถูกต้องเพื่อความปลอดภัย
1.หมวกแข็งป้องกัน
อันตราย(safety hardhat)
ใช้สวมบนศีรษะเพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่บริเวณ
ศีรษะในขณะ
ปฏิบัติงาน อันเนื่องมาจากเครื่องมือและอุปกรณ์
ต่างๆหล่นลงมาถูก
ศีรษะเป็นการลดอุบัติเหตุหรือผ่อนหนักเป็นเบาได้
หมวกแข็งที่ใช้มี
ด้วยกันหลายสี เช่น สีแดง สีเหลือง สีขาว ซึ่งแต่ละ
สีจะบอก ถึงหน้าที่หรือ
ตำาแหน่งที่ปฏิบัติงานดังนี้
• หมวกสีแดงสำาหรับวิศวกร
2.ถุงมือยาง ( Rubber qloves )
มีคุณสมบัติเป็นฉนวนไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ชนิด
คือถุงมือยางแรงตำ่า
และมีถุงมือยางแรงสูงถุงมือยางแรงตำ่าส่วนมากจะ มีสี
เดียว สำาหรับถุงมือยาง
แรงสูงด้านนอกและด้านในจะออกแบบเป็นอย่างดีอย่า
ให้มีรอยขีดข่วนหรือเป็น
รูทะลุทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานครั้งต่อ ๆ
ไปนั้นเอง โดยปกติจะ
ใช้คู่กับถุงมือหนัง
3.เข็มขัดนิรภัย หรือเรียกว่า เซฟ
ตี้เบล้ว(Saftybelt)
ใช้สำาหรับยืดตัวช่างไฟฟ้ากับเสาเพื่อให้สามารถ ยืน
ปฏิบัติงานบนเสาไฟฟ้า
ได้อย่างปลอดภัย ซึ่งเข็มนิรภัย ประกอบด้วยตัวเข็มขัด
และสายกันตก
5.รองเท้านิรภัยหรือเรียกว่าเซฟตี้
ซูต(Safetyshoes) 
เป็นรองเท้าหนังที่มีความแข็งแรง ปลอดภัยและ
ต้องมีความเป็น
ฉนวนไฟฟ้า เพื่อใช้ป้องกันการถูกกระแสไฟฟ้าดูด
บริเวณของรองเท้าจะเป็น
โลหะใช้ป้องกันเท้าไม่ให้บาดเจ็บเนื่องจากเครื่องมือ
และอุปกรณ์ที่หล่นทับ
6.เหล็กปีนเสา
ใช้สำาหรับสอดเข้าในรูของเสาไฟฟ้า เพื่อใช้ในการ
เหยียบปีนเสาไฟฟ้าทำามา
จากเหล็กกลมเชื่อมติดกับเหล็กแผ่น ใช้เชือกผูกมัด
ระหว่างปีนเสากับเท้าทำาให้
กระชับกับเท้า ขณะปฏิบัติงานบนเสาไฟฟ้า 
อุปกรณ์และวัสดุที่ใช้ในการติดตั้ง
ไฟฟ้าภายนอกอาคาร
1เสาไฟฟ้าคอนกรีตอัดแรง
2 ลูกถ้วย
3. อลูมิเนียมกลม
 4.ปรีฟอร์มไลน์การ์และปรีฟอร์ม
อาร์เมอร์รอด
5.ไวเบรชั่นแดมเปอร์ แบบสไปแรล
6. ไม้ชักฟิวส์
ไม้ชักฟิวส์มีรูปร่างเป็นท่อกลมกลวง สามารถ
เลื่อนปรับได้ ให้มีความ
ยาวและสั้นได้โดยมีความยาว 8,10,12,16,18 และ 24
ฟุต ที่บริเวณก้านบน
มีขอเกาะใช้สำาหรับปลดฟิวส์ ผิวด้านนอกขอบท่อมี
คุณสมบัติเป็นฉนวนไฟฟ้า
สามารถทนแรงดันไฟฟ้าได้สูงถึง 33 kv เป็นเครื่องมือ
ที่ใช้ทำาหน้าที่ในการ
ปลดฟิวส์แรงสูงและฟิวส์แรงตำ่า
2. เครื่องมือสำาหรับงานปักเสาไฟฟ้า
การปักเสาไฟฟ้าในปัจจุบันมี 2 ประเภทคือ
- การปักเสาไฟฟ้าจากการใช้แรงงานคน
- การปักเสาไฟฟ้าจากการใช้เครื่องผ่อนแรง
เครื่องมือที่ใช้ในการปักเสาไฟฟ้ามีการแบ่งตามชิด
การใช้งานได้ 4 ชนิดคือ
1. เครื่องมือขุดหลุม
2. เครื่องมือย้ายเสาและยกเสา
3. เครื่องมือกระทุ้งดิน
2.1 เครื่องมือขุดหลุม
แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
1. เครื่องมือขุดหลุมโดยใช้แรงคน
เครื่องมือขุดหลุมโดยใช้แรงคนเป็นการขุดหลุม
โดยอาศัยแรงงานจากคนโดยตรงมีเครื่องมือที่ใช้ใน
การขุดหลุมดังนี้
- จอบ ใช้สำาหรับขุดดิน
- ชะแลง ใช้สำาหรับกระทุ้งดิน
- พลั่ว ใช้สำาหรับตักดิน
- พลั่วหนีบดิน ใช้สำาหรับหนีบดินจากก้น
หลุมให้ลึก
2. เครื่องมือขุดหลุมโดยใช้เครื่องผ่อนแรง
เป็นการนำาเครื่องมือเข้ามาช่วย เพื่อทำาให้การขุกหลุม
นั้นรวดเร็วขึ้น
เครื่องมือที่ใช้คือ
- สว่านมือขุดหลุม มีลักษณะคล้ายสว่านมือเจาะไม้
แต่มีขนาดใหญ่กว่าใช้คนหมุน ด้ามเจาะสว่านให้ลึกลง
ไปในดิน แล้วใช้รถดึงสว่านขึ้นเป็นการขุดหลุมที่
สะดวกนวดเร็ว
- รถขุดหลุม เป็นรถบรรทุก สว่านขนาดใหญ่ ใช้ใน
การขุดหลุมด้วยเครื่อง
จักรที่ใช้ ระบบไฮดรอลิกส์ แต่มีข้อจำากัดในการขุด
หลุม คือ ไม่สามารถขุดหลุม
ในที่แคบได้
2.2 เครื่องมือย้ายเสาและยกเสา
เนื่องจากส่วนใหญ่เสาที่ใช้ในปัจจุบันเป็นเสา
คอนกรีตอัดแรงซึ้งมีนำ้าหนักมาก การเคลื่อนย้ายจึง
ต้องใช้รถยก หรือรถลากด้วยลวดสลิง
2.3 เครื่องมือกระทุ้งดิน
เครื่องกระทุ้งดิน ได้แก่ จอบ เสียม ชะแลง โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อให้โคนเสาไฟฟ้าติดแน่นกับพื้นดิน
ไม่สั้นคลอน
3. เครื่องมือสำาหรับงานพาดสาย
มีวัตถุประสงค์เพื่อดึงสายไฟฟ้าให้ตึงและพอดี
ไม่ให้ตกท้องช้างหรือ
หย่อนเกินไป ซึ่งจะเป็นสาเหตุทำาให้สายแกว่งไปมาเมื่อ
ถูกลมพัดและไม่เป็น
ผลดีต่อระบบไฟฟ้าโดยรวม เครื่องมือที่ใช้กับงานพาก
สายไฟฟ้า ประกอบด้วย
คัมอะลอง(Comalong) คอฟฟิ่งฮอยล์ (Coffing Hoist)
รอก เชือก
และ รถไฮดรอลิกส์
1. คัมอะลอง (Comalong)
ใช้สำาหรับจับยึดสายให้แน่น ประกอบด้วยสองส่วน
คือ ปากหนีบและห่วง
ส่วนที่ใช้จับและหนีบสายไฟฟ้าให้แน่น คือ ปากหนีบ
ส่วนห่วงใช้ในการคล้อง
เข้ากับ คอฟฟิ่งฮอยล์
2. คอฟฟิ่งฮอยล์ (Coffing Hoist)
หรือเรียกสั้นๆว่า ฮอยล์ เป็นแม่แรงดึง สายไฟฟ้าให้
ตึง ประกอบด้วยตะขอ
เกี่ยวทั้งสองด้าน ด้านหนึ่งใช้คล้องกับเสาไฟฟ้าอีกด้าน
หนึ่งใช้คล้องเข้ากับ
คัมอะลอง
3. รอก ใช้สำาหรับยกวัสดุ-อุปกรณ์ไฟฟ้าขึ้นไปบนที่สูง
และจากที่สูงลงสู่ด้านล่าง
ในการใช้งานเกี่ยวกับไฟฟ้านั้นใช้รอกในการนำาวัสดุ-
อุปกรณ์ไฟฟ้า และ
เครื่องมือขึ้นไปบนเสาไฟฟ้าในแนวดิ่ง
4. เชือก ใช้สำาหรับดึงวัสดุ-อุปกรณ์ เครื่องมือขึ้นและ
ลงในแนวดิ่งโดยใช้งาน
ร่วมกับรอก
5. รถยนต์ไฮดรอลิกส์ ใช้สำาหรับยกของที่มีนำ้าหนัก
มากและใช้ดึงสายไฟฟ้า
จำานวนหลายๆเส้นทำาให้สะดวกรวดเร็วและใช้เวลาใน
การปฏิบัติงานน้อยลง
4. เครื่องมือวัดและทดสอบ
เครื่องมือวัดและทดสอบ ประกอบด้วย แคล้มออนมิ
เตอร์ มัลติมิเตอร์
เมกเกอร์ และ Earth Resistance Tester
1. แคล้มป์ออนมิเตอร์ ใช้สำาหรับวัดค่ากระแสไฟฟ้า
ในสายส่งที่มีค่าสูง
2. มัลติมิเตอร์ ใช้วัดแรงดันไฟฟ้า ความ
ต้านทาน กระแสค่าตำ่าๆ
3. เมกเกอร์ ใช้ทดสอบความเป็นฉนวน
4. Earth Resistance Testerใช้สำาหรับวัดค่าความ
ต้านทานดิน
การปักเสาพาดสาย
การจ่ายพลังงานไฟฟ้าบนอากาศหรือลักษณะเหนือ
ศีรษะจะอาศัยการ
เชื่อมโดยสายไฟฟ้าเข้าหากันหรือที่เรียกว่าการพาดสาย
โดยทั่วไปจะพากไว้บน
หัวเสาไฟฟ้าทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
อันเนื่องมาจากไฟฟ้าแรงสูง
อย่างไรก็ตามการเลือกตำาแหน่งที่ปักเสาจะต้องพิจารณา
ให้เหมาะสมกับปัจจัย ด้าน
ต่างๆได้แกสภาพพื้นที่ ความคลองตัวในการปฏิบัติงาน
ความจำาเป็นในการติดตั้งสาย
การปักเสา
ก่อนที่จะทำาการปักเสาต้องสำารวจพื้นที่ต้นทาง
จนถึงปลายทางเพื่อกำาหนด
ระยะแนวการปักเสารวมถึงจำานวนวัสดุอุปกรณ์ทั้งหมดที่
ต้องใช้งาน ซึ่งจะเป็น
ข้อมูลในการตัดสินใจวางแผนกำาลังคนและเครื่องจักรให้
ทำางานต่อไป การปักเสา
ประกอบด้วยขั้นตอนการขุดหลุมและปักเสา
การขุดหลุม
ขนาดความกว้างของหลุมต้องไม่เล็ดหรือใหญ่
จนเกินไป สำาหรับความ
ลึกเสาที่ต้องปักลงในหลุมจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่
กำาหนด หากพื้นที่เป็น
ดินดานหรือหินต้องเทคอนกรีตที่โคนเสาส่วนผสม
ซีเมนต์ต่อทรายหินอัตราส่วน
เท่ากับ 1:3:5 โดยมีการคำ่ายันเสาไว้อย่างน้อย 7 วัน
เพื่อให้คอนกรีตแข็งตัว
ขนาด
เสา
(เมตร)
ปักลึกลงในดิน (เมตร) ระดับ
แรงดัน
(โวลท์)
ดินอ่อน ดินแข็งปาน
กลาง
ดินแข็ง หินแข็ง
8 1.50 1.30 1.10 1.00 220/380
9 1.50 1.30 1.10 1.00 220/380
10 1.70 1.50 1.30 1.00 220/380
12 2.00 1.80 1.60 1.20 11-22 kv
14 2.30 2.00 1.70 1.70 11-12 kv
ระยะระหว่างเสาไฟฟ้า สำาหรับระบบจำาหน่าย
แรงสูง
-ระบบจำาหน่ายที่ก่อสร้างในเมืองระยะเสา 40
เมตร
-ระบบจำาหน่ายก่อสร้างนอกเมืองระยะเสาไม่เกิน
100 เมตร ขึ้นอยู่ กับความเหมาะสมของหน้า
งาน
-ระบบจำาหน่ายก่อสร้างผ่านหมู่บ้านระยะเสา
40,80 และ 100 เมตร
ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของชุมชนนั้นๆ
- ระบบจำาหน่ายที่พาดด้วยสายเคเบิลอากาศ
ระยะระหว่างเสาไฟฟ้า สำาหรับระบบจำาหน่าย
แรงตำ่า
-ระบบจำาหน่ายแรงตำ่าที่ก่อสร้างในเมืองและนอก
เมืองระยะห่าง
ระหว่างเสา 40-50 เมตร ในกรณีที่ปักแซมช่วง
เสาแรงสูง 100 เมตร
-ระยะห่างระหว่างเสาสามารถเปลี่ยนแปลงได้
ตามสภาพแวดล้อม
-ระยะช่วงเสาที่เกิน 120 เมตร ให้ใช้แบบเสาคู่
การพาดสาย
สำาหรับการพาดสายระหว่างเสาไฟฟ้าต้นแรกถึงต้น
สุดท้ายในแต่ละ
พื้นที่จะมีระยะห่างไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับลักษณะภูมิประเทศ
และการเปลี่ยนแนว
สายไฟฟ้าเช่นระยะห่าง 1 กิโลเมตร เข้าปลายสาย(dead
end)หนึ่งครั้ง หรือทำา
ในระยะ 3 กิโลเมตร
(เป็นระยะสูงสุดที่จะทำาการเข้าปลายสายได้ ตามข้อ
กำาหนด)
สำาหรับวิธีการพาดสายไฟฟ้าปฏิบัติกันทั่วไปใน
ปัจจุบัน มี 3 วิธี คือ
-การวางโรลสายบนที่ตั้งโรลสายบนพื้นดินและใช้
แบบฝึกหัด
1.ระยะตกท้องช้าง (Saging) หมายถึง
2. การปักเสาพาดสาย Dead End หมายถึง
3. จงอธิบายระยะระหว่างเสาไฟฟ้า สำาหรับระบบจำาหน่าย
แรงตำ่า
4. วิธีการพาดสายไฟฟ้าทำาได้กี่วิธี อะไรบ้าง
5. เครื่องมือสำาหรับงานปักเสาไฟฟ้ามีอะไรบ้าง
6. เครื่องมือสำาหรับงานพาดสายมีอะไรบ้าง
7. เครื่องมือวัดและทดสอบประกอบด้วยอะไรบ้าง
8. ไม้ชักฟิวส์ใช้ทำาหน้าที่อะไร จงอธิบาย
9.การขุดหลุมสำาหรับปักเสาขนาด 12 เมตร ควรมีขนาด
เท่าใด ในทุกๆสภาพดิน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานNut Veron
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
ไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน
ไฟฟ้าในชีวิตประจำวันไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน
ไฟฟ้าในชีวิตประจำวันYai Wanichakorn
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงOui Nuchanart
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าหน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าAbhichat Anukulwech
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบNeeNak Revo
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลmaechai17
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าNapasorn Juiin
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1dnavaroj
 
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานZnackiie Rn
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 

Mais procurados (20)

เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
ไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน
ไฟฟ้าในชีวิตประจำวันไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน
ไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าหน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
 
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของราก
 

Destaque

กฎหมายสำหรับสถาปนิก
กฎหมายสำหรับสถาปนิกกฎหมายสำหรับสถาปนิก
กฎหมายสำหรับสถาปนิกThammawat INTACHAKRA
 
คู่มือการออกแบบสภาพแวดล้อมสำหรับคนพิการ และคนทุกวัย
คู่มือการออกแบบสภาพแวดล้อมสำหรับคนพิการ และคนทุกวัยคู่มือการออกแบบสภาพแวดล้อมสำหรับคนพิการ และคนทุกวัย
คู่มือการออกแบบสภาพแวดล้อมสำหรับคนพิการ และคนทุกวัยSatapon Yosakonkun
 
กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคารกับสิ่งแวดล้อม (๑)
กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคารกับสิ่งแวดล้อม (๑)กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคารกับสิ่งแวดล้อม (๑)
กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคารกับสิ่งแวดล้อม (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างบ้านพักอาศัย
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างบ้านพักอาศัยกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างบ้านพักอาศัย
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างบ้านพักอาศัยยาแก้ไอ รักษาได้
 
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐Chacrit Sitdhiwej
 
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร 2552
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร 2552พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร 2552
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร 2552Poramate Minsiri
 
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมืองThammawat INTACHAKRA
 
การจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะ
การจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะการจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะ
การจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะKna Knaja
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบPeerapong Veluwanaruk
 

Destaque (10)

กฎหมายสำหรับสถาปนิก
กฎหมายสำหรับสถาปนิกกฎหมายสำหรับสถาปนิก
กฎหมายสำหรับสถาปนิก
 
คู่มือการออกแบบสภาพแวดล้อมสำหรับคนพิการ และคนทุกวัย
คู่มือการออกแบบสภาพแวดล้อมสำหรับคนพิการ และคนทุกวัยคู่มือการออกแบบสภาพแวดล้อมสำหรับคนพิการ และคนทุกวัย
คู่มือการออกแบบสภาพแวดล้อมสำหรับคนพิการ และคนทุกวัย
 
กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคารกับสิ่งแวดล้อม (๑)
กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคารกับสิ่งแวดล้อม (๑)กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคารกับสิ่งแวดล้อม (๑)
กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคารกับสิ่งแวดล้อม (๑)
 
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างบ้านพักอาศัย
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างบ้านพักอาศัยกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างบ้านพักอาศัย
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างบ้านพักอาศัย
 
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
 
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร 2552
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร 2552พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร 2552
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร 2552
 
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
 
การจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะ
การจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะการจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะ
การจัดภูมิทัศน์ชุมชนน่าอยู่และพื้นที่สาธารณะ
 
บันไดเลื่อน Escalator
บันไดเลื่อน Escalatorบันไดเลื่อน Escalator
บันไดเลื่อน Escalator
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 

การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร