SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 3
Baixar para ler offline
การใชคําวา “ทรง” ในคําราชาศะพท
              คํ      ทรง”
    แลักรณีการไมใชคําวา “ทรง” ในคําราชาศะพท
                            ทรง”
          การ ใชคําวา "ทรง" ในคําราชาศัพทที่ผิดไปจากแบบแผนมักจะพบทางสื่อมากขึ้น ทําใหเกิด
ความเขาใจผิดในการใชราชาศัพทตอ ๆ กันไป เหตุมักเกิดจากผูเสนอหรือผูเขียนสื่อเขาใจวาการใช
ภาษาที่สื่อนําเสนอนั้นเปนการใชภาษาที่ถูกตอง ผูรับสารเมื่อรับสื่อที่ผิดนั้น ๆ มากเขา ๆ ก็มี
ความคิดเห็นวาถูกและนําไปใชตามอยางเขา ดังนั้น เราตองมีความรูในพื้นฐานเรื่องนี้กอนตามลําดับ
ครับ นี่เปนเพียงตัวอยางที่คุณครูไดประมวลความรูมาใหนักเรียนไดเขาใจ และยังมีคําราชาศัพท
ประเภทนี้อีกมากที่นักเรียนตองหมั่นศึกษาเองเพื่อการนําไปใชใหถูกตอง และตองรูใหกวางใหลึกซึ้ง
ยิ่ง ๆ ขึ้นนะครับ

มีขอสังเกต ดังนี้ นะครับ

๑. คํานามทั่วไป ทําใหเปน กริยาราชาศัพท ทําไดโดยการเติมคําวา “ทรง” นําหนาคํา
   ตอไปนี้นะครับนักเรียน

                           นําหนานาม
           นาม          ราชาศัพทที่ได    ความหมาย
            ศีล            ทรงศีล       รับศีล, ถือศีล
           ธรรม           ทรงธรรม     ฟงธรรม, ฟงเทศน
           กีฬา           ทรงกีฬา            เลนกีฬา
            ชาง            ทรงชาง       ขี่ชาง, นั่งชาง
             มา            ทรงมา         ขี่มา, นั่งมา
           ดนตรี          ทรงดนตรี          เลนดนตรี
            ธนู            ทรงธนู              ยิงธนู
            ปน             ทรงปน              ยิงปน
             รถ            ทรงรถ        นั่งรถ, ขับรถ
            งาน            ทรงงาน             ทํางาน
           บาตร           ทรงบาตร            ตักบาตร
๒. คํากริยาทั่วไป ทําใหเปน กริยาราชาศัพท ทําไดโดยการเติมคําวา “ทรง”
   นําหนาคําตอไปนี้

                        นําหนากริยา
          กริยา      ราชาศัพทที่ได      ความหมาย
          ยินดี        ทรงยินดี            ยินดี
             รับ        ทรงรับ                รับ
             ถือ        ทรงถือ                ถือ
         กรุณา         ทรงกรุณา           กรุณา
          ขวาง         ทรงขวาง             ขวาง
        อุตสาหะ       ทรงอุตสาหะ         อุตสาหะ
         สั่งสอน      ทรงสั่งสอน          สั่งสอน
        สนับสนุน     ทรงสนับสนุน         สนับสนุน



๓. คําที่เปน นามราชาศัพท อยูแลว ทําใหเปน กริยาราชาศัพท ทําไดโดยการเติม
   คําวา “ทรง” นําหนาคําตอไปนี้ ครับ


                   นําหนานามราชาศัพท
                                  ทําใหเปนกริยาราชา
      นามราชาศัพท ความหมาย
                                         ศัพท
        พระอักษร        หนังสือ      ทรงพระอักษร
       พระราชดําริ     ความคิด      ทรงพระราชดําริ
       พระดําเนิน       การเดิน      ทรงพระดําเนิน
       พระประชวร       ความปวย      ทรงพระประชวร
       พระกรรแสง      การรองไห      ทรงพระกรรแสง
        พระสรวล       การหัวเราะ      ทรงพระสรวล
        พระสุบิน       ความฝน         ทรงพระสุบิน
        พระกรุณา      ความกรุณา      ทรงพระกรุณา
      พระโอสถมวน         บุหรี่    ทรงพระโอสถมวน
        พระผนวช         การบวช       ทรงพระผนวช
๔. คําที่เปน กริยาราชาศัพท อยูแลวไมตองมีคําวา ทรง นําหนา
       ดําเนิน        ประสูติ       บรรทม
       เสวย           เสด็จ         เสด็จพระราชดําเนิน
       ประชวร         โปรด          พอพระราชหฤทัย, พอพระทัย
       สรง            ตรัส          ทอดพระเนตร
       พระราชทาน ประทับ             พิโรธ
       กริ้ว

       ยกเวน ผนวช        ใช ทรงผนวช ได



๕. ถาคํานั้นเปน คําราชาศัพท อยูแลว เมื่อใชคําวา มี หรือ เปน คําหนา
    คําราชาศัพทนี้ ไมตองใช ทรง นําหนาอีก
       พระราชโอรส (เปน + พระราชโอรส = เปนพระราชโอรส) ไมใชวา ทรงเปนพระราชโอรส
       พระราชธิดา (เปน + พระราชธิดา = เปนพระราชธิดา) ไมใชวา ทรงเปนพระราชธิดา
       พระกรุณา (เปน + พระกรุณา = เปนพระกรุณา) ไมใชวา ทรงเปนพระกรุณา
       พระราชประสงค (มี + พระราชประสงค = มีพระราชประสงค) ไมใชวา ทรงมีพระราช
ประสงค
       พระราชดํารัส (มี + พระราชดํารัส = มีพระราชดํารัส) ไมใชวา ทรงมีพระราชดํารัส
       พระราชดําริ (มี + พระราชดําริ = มีพระราชดําริ) ไมใชวา ทรงมีพระราชดําริ
       พระบรมเดชานุภาพ (มี + พระบรมเดชานุภาพ = มีพระบรมเดชานุภาพ) ไมใชวา ทรงมี
พระบรมเดชานุภาพ




                                  โดย ครูปยะฤกษ บุญโกศล โรงเรียนโพนทันเจริญวิทย
                                                วันที่เผยแพร : ๓ กันยายน ๒๕๕๔

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
krupornpana55
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
พัน พัน
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
Sivagon Soontong
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
thnaporn999
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
supphawan
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
ssuser456899
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
pacharawalee
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
wangasom
 

Mais procurados (20)

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 

Semelhante a การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์

ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
Anchalee BuddhaBucha
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
Nongkran Jarurnphong
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทย
Siraporn Boonyarit
 
Kam
KamKam
Kam
sa
 
ความหมายของสำนวน
ความหมายของสำนวนความหมายของสำนวน
ความหมายของสำนวน
Joice Naka
 
Power point คำราชาศัพท์
Power  point  คำราชาศัพท์Power  point  คำราชาศัพท์
Power point คำราชาศัพท์
Jazz Kanok-orn Busaparerk
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
Rodchana Pattha
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
Tongsamut vorasan
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
Wataustin Austin
 
บาลี 09 80
บาลี 09 80บาลี 09 80
บาลี 09 80
Rose Banioki
 

Semelhante a การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์ (20)

sapphanamracha
sapphanamrachasapphanamracha
sapphanamracha
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
 
ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทย
 
Kam
KamKam
Kam
 
99
9999
99
 
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 
ความหมายของสำนวน
ความหมายของสำนวนความหมายของสำนวน
ความหมายของสำนวน
 
Power point คำราชาศัพท์
Power  point  คำราชาศัพท์Power  point  คำราชาศัพท์
Power point คำราชาศัพท์
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
 
บาลี 09 80
บาลี 09 80บาลี 09 80
บาลี 09 80
 

Mais de Piyarerk Bunkoson

Mais de Piyarerk Bunkoson (20)

แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทร
 
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
 
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
 
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
 
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 25542554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงบทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
 
016 ชุดที่ 12
016 ชุดที่ 12016 ชุดที่ 12
016 ชุดที่ 12
 
015 ชุดที่ 11
015 ชุดที่ 11015 ชุดที่ 11
015 ชุดที่ 11
 
014 ชุดที่ 10
014 ชุดที่ 10014 ชุดที่ 10
014 ชุดที่ 10
 
013 ชุดที่ 9
013 ชุดที่ 9013 ชุดที่ 9
013 ชุดที่ 9
 
012 ชุดที่ 8
012 ชุดที่ 8012 ชุดที่ 8
012 ชุดที่ 8
 
011 ชุดที่ 7
011 ชุดที่ 7011 ชุดที่ 7
011 ชุดที่ 7
 
010 ชุดที่ 6
010 ชุดที่ 6010 ชุดที่ 6
010 ชุดที่ 6
 
009 ชุดที่ 5
009 ชุดที่ 5009 ชุดที่ 5
009 ชุดที่ 5
 
008 ชุดที่ 4
008 ชุดที่ 4008 ชุดที่ 4
008 ชุดที่ 4
 

การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์

  • 1. การใชคําวา “ทรง” ในคําราชาศะพท คํ ทรง” แลักรณีการไมใชคําวา “ทรง” ในคําราชาศะพท ทรง” การ ใชคําวา "ทรง" ในคําราชาศัพทที่ผิดไปจากแบบแผนมักจะพบทางสื่อมากขึ้น ทําใหเกิด ความเขาใจผิดในการใชราชาศัพทตอ ๆ กันไป เหตุมักเกิดจากผูเสนอหรือผูเขียนสื่อเขาใจวาการใช ภาษาที่สื่อนําเสนอนั้นเปนการใชภาษาที่ถูกตอง ผูรับสารเมื่อรับสื่อที่ผิดนั้น ๆ มากเขา ๆ ก็มี ความคิดเห็นวาถูกและนําไปใชตามอยางเขา ดังนั้น เราตองมีความรูในพื้นฐานเรื่องนี้กอนตามลําดับ ครับ นี่เปนเพียงตัวอยางที่คุณครูไดประมวลความรูมาใหนักเรียนไดเขาใจ และยังมีคําราชาศัพท ประเภทนี้อีกมากที่นักเรียนตองหมั่นศึกษาเองเพื่อการนําไปใชใหถูกตอง และตองรูใหกวางใหลึกซึ้ง ยิ่ง ๆ ขึ้นนะครับ มีขอสังเกต ดังนี้ นะครับ ๑. คํานามทั่วไป ทําใหเปน กริยาราชาศัพท ทําไดโดยการเติมคําวา “ทรง” นําหนาคํา ตอไปนี้นะครับนักเรียน นําหนานาม นาม ราชาศัพทที่ได ความหมาย ศีล ทรงศีล รับศีล, ถือศีล ธรรม ทรงธรรม ฟงธรรม, ฟงเทศน กีฬา ทรงกีฬา เลนกีฬา ชาง ทรงชาง ขี่ชาง, นั่งชาง มา ทรงมา ขี่มา, นั่งมา ดนตรี ทรงดนตรี เลนดนตรี ธนู ทรงธนู ยิงธนู ปน ทรงปน ยิงปน รถ ทรงรถ นั่งรถ, ขับรถ งาน ทรงงาน ทํางาน บาตร ทรงบาตร ตักบาตร
  • 2. ๒. คํากริยาทั่วไป ทําใหเปน กริยาราชาศัพท ทําไดโดยการเติมคําวา “ทรง” นําหนาคําตอไปนี้ นําหนากริยา กริยา ราชาศัพทที่ได ความหมาย ยินดี ทรงยินดี ยินดี รับ ทรงรับ รับ ถือ ทรงถือ ถือ กรุณา ทรงกรุณา กรุณา ขวาง ทรงขวาง ขวาง อุตสาหะ ทรงอุตสาหะ อุตสาหะ สั่งสอน ทรงสั่งสอน สั่งสอน สนับสนุน ทรงสนับสนุน สนับสนุน ๓. คําที่เปน นามราชาศัพท อยูแลว ทําใหเปน กริยาราชาศัพท ทําไดโดยการเติม คําวา “ทรง” นําหนาคําตอไปนี้ ครับ นําหนานามราชาศัพท ทําใหเปนกริยาราชา นามราชาศัพท ความหมาย ศัพท พระอักษร หนังสือ ทรงพระอักษร พระราชดําริ ความคิด ทรงพระราชดําริ พระดําเนิน การเดิน ทรงพระดําเนิน พระประชวร ความปวย ทรงพระประชวร พระกรรแสง การรองไห ทรงพระกรรแสง พระสรวล การหัวเราะ ทรงพระสรวล พระสุบิน ความฝน ทรงพระสุบิน พระกรุณา ความกรุณา ทรงพระกรุณา พระโอสถมวน บุหรี่ ทรงพระโอสถมวน พระผนวช การบวช ทรงพระผนวช
  • 3. ๔. คําที่เปน กริยาราชาศัพท อยูแลวไมตองมีคําวา ทรง นําหนา ดําเนิน ประสูติ บรรทม เสวย เสด็จ เสด็จพระราชดําเนิน ประชวร โปรด พอพระราชหฤทัย, พอพระทัย สรง ตรัส ทอดพระเนตร พระราชทาน ประทับ พิโรธ กริ้ว ยกเวน ผนวช ใช ทรงผนวช ได ๕. ถาคํานั้นเปน คําราชาศัพท อยูแลว เมื่อใชคําวา มี หรือ เปน คําหนา คําราชาศัพทนี้ ไมตองใช ทรง นําหนาอีก พระราชโอรส (เปน + พระราชโอรส = เปนพระราชโอรส) ไมใชวา ทรงเปนพระราชโอรส พระราชธิดา (เปน + พระราชธิดา = เปนพระราชธิดา) ไมใชวา ทรงเปนพระราชธิดา พระกรุณา (เปน + พระกรุณา = เปนพระกรุณา) ไมใชวา ทรงเปนพระกรุณา พระราชประสงค (มี + พระราชประสงค = มีพระราชประสงค) ไมใชวา ทรงมีพระราช ประสงค พระราชดํารัส (มี + พระราชดํารัส = มีพระราชดํารัส) ไมใชวา ทรงมีพระราชดํารัส พระราชดําริ (มี + พระราชดําริ = มีพระราชดําริ) ไมใชวา ทรงมีพระราชดําริ พระบรมเดชานุภาพ (มี + พระบรมเดชานุภาพ = มีพระบรมเดชานุภาพ) ไมใชวา ทรงมี พระบรมเดชานุภาพ โดย ครูปยะฤกษ บุญโกศล โรงเรียนโพนทันเจริญวิทย วันที่เผยแพร : ๓ กันยายน ๒๕๕๔