SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 4
Baixar para ler offline
ภุชงคประยาตฉันท ๑๒
       ภุชงคประยาตฉันท (อานวา พุ-ชง-คะ-ปฺระ-ยา-ตะ-ฉัน หรือ พุ-ชง-คะ-ปฺระ-
ยาด-ฉัน) แปลความตามความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ภุชงค
หมายถึง งู หรือ นาค โดยรวมใหความหมายวา ชื่อฉันทแบบหนึ่งมี ๑๒ คํา แบงเปน
๒ วรรค มีลหุ ตนวรรคและกลางวรรค หากฟงลีลาจากการอานภุชงคประยาตฉันท
แลวจะพบวาฉันทชนิดนี้มีลีลาเหมือนอาการของงูกําลังเลื้อย

คณะและพยางค
   ภุชงคประยาตฉันท ๑ บท ประกอบดวยคณะและพยางค ดังนี้
        มี ๒ บาท วรรคหนามีจํานวน ๖ คํา/พยางค และวรรคหลังมีจํานวน ๖ คํา/
พยางค
        ๑ บาท นับจํานวนคําได ๑๒ คํา/พยางค ดังนั้น จึงเขียนเลข ๑๒ หลังชื่อ
ภุชงคประยาตฉันท นี่เองครับ
        ทั้งบทมีจํานวนคําทั้งสิ้น ๒๔ คํา

สัมผัส
     พบวา ภุชงคประยาตฉันท มีสัมผัสนอก (ที่เปนสัมผัสภายในบท) จํานวน ๒
แหง ไดแก
               ๑. คําสุดทายของวรรคหนา บาทที่ ๑ สงสัมผัสกับคําที่ ๓ ของ
วรรคหลังในบาทเดียวกัน
               ๒. คําสุดทายของวรรคหลัง บาทที่ ๑ สงสัมผัสกับคําสุดทายของ
วรรคหนาในบาทที่ ๒

         สัมผัสระหวางบท พบวา คําสุดทายของบท สงสัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่
วรรคหลังของบาทที่ ๑ ในบทตอไป
         คําครุ ลหุ ภุชงคประยาตฉันท ๑ บท มีคําครุทั้งหมด ๑๖ และมีคําลหุ
ทั้งหมด ๘ คํา รวมทั้งบทมีจํานวนคําบังคับ ๒๔ คํา ใหนักเรียนสังเกตสัมผัสบังคับ
(สัมผัสนอก) และบังคับครุ-ลหุ ภุชงคประยาตฉันท ๑๒ ตามผังภาพ
        คําครุ สัญลักษณแทนดวย ั
        คําลหุ สัญลักษณแทนดวย ุ ใหนักเรียนดูตัวอยางตามผังภาพ ครับ
๏ ทิชงคชาติฉลาดยล           คะเนกลคะนึงการ
กษัตริยลิจฉวีวาร               ระวังเหือดระแวงหาย
   ๏ เหมาะแกการณจะเสกสรร       ปวัตนวัญจโนบาย
มลางเหตุพิเฉทสาย               สมัครสนธิสโมสร
                                         ์
                     (จาก สามัคคีเภทคําฉันท ของ ชิต บุรทัต)
ที่มา/อางอิง
กระทรวงศึกษาธิการ. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. หนังสือเรียน
           สาระการเรียนรูพื้นฐาน วรรณคดีวิจักษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ กลุมสาระ
           การเรียนรูภาษาไทย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
           ๒๕๔๔. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, ๒๕๔๘.
กําชัย ทองหลอ. หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ : รวมสาสน, ๒๕๔๐.
แจมจันทร สุวรรณรงค. ลักษณะคําประพันธไทย. สกลนคร : วิทยาลัยครูสกลนคร,
           ๒๕๓๑.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ :
           นานมีบุคสพับลิเคชั่นส, ๒๕๔๖.
วิเชียร เกษประทุม. ลักษณะคําประพันธไทย. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา, ๒๕๔๖.
สิทธา พินิจภูวดล และประทีป วาทิกทินกร. รอยกรอง. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย
           รามคําแหง, ๒๕๑๘.
ครุ ลหุ คือ
ครุ และ ลหุ หมายถึงลักษณะของเสียงคําหรือพยางค อยางไรละครับนักเรียน มี
ประโยชนอยางยิ่งในการแตงคําประพันธประเภทฉันท เนื่องจากคําประพันธประเภทฉันท
นั้นบังคับครุ ลหุ

สรุป ครุ ลหุ คือ
ครุ (อานวา คะ-รุ) หมายถึง เสียงหนัก หนักอยางไร
      เปนคําหรือพยางคที่ประสมดวยสระเสียงยาวไมมีตัวสะกดก็ได หรือเปนคําหรือ
พยางคที่มีเสียงตัวสะกดทุกมาตรา (ไดแก แม กก กด กบ กง กน กม เกย และ
เกอว) เชนคําวา ฟา นั่ง พริก ไหม พรม นนท เชษฐ เปนตน

ลหุ (อานวา ละ-หุ) หมายถึง เสียงเบา เบาอยางไร
      เปนคําหรือพยางคที่ประสมดวยสระเสียงสั้นและไมมีตัวสะกด หรือเปนคําหรือ
พยางคที่มีเสียงสระเสียงสั้นและไมมีเสียงตัวสะกด เชนคําวา ณ ธ บ ก็ พิ ผิ ลุ เจาะ
เหาะ ทะ เละ แพะ และ เลอะ เปนตน




                             โดย ครูปยะฤกษ บุญโกศล
              โรงเรียนโพนทันเจริญวิทย เผยแพรเมื่อวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๔

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
Piyarerk Bunkoson
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
Warissa'nan Wrs
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
Nongkran Jarurnphong
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
Nongkran Jarurnphong
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
nsiritom
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
นิตยา ทองดียิ่ง
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
Nongkran_Jarurnphong
 

Mais procurados (19)

ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
Chitrapathachan
ChitrapathachanChitrapathachan
Chitrapathachan
 
Manawakachan
ManawakachanManawakachan
Manawakachan
 
ฉันทลักษณะ
ฉันทลักษณะฉันทลักษณะ
ฉันทลักษณะ
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
 
กลอนแปด
กลอนแปดกลอนแปด
กลอนแปด
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่อักษรสามหมู่
อักษรสามหมู่
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
Reference book
Reference bookReference book
Reference book
 
งานชิ้นที่ 2 แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2 แผ่นพับงานชิ้นที่ 2 แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2 แผ่นพับ
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 

Destaque

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Sp'z Puifai
 
จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8
MilkOrapun
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
Jiraprapa Noinoo
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
Jiraprapa Noinoo
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
B'Ben Rattanarat
 

Destaque (8)

ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์2
สามัคคีเภทคำฉันท์2สามัคคีเภทคำฉันท์2
สามัคคีเภทคำฉันท์2
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
 
009 รายงาน
009 รายงาน009 รายงาน
009 รายงาน
 

Semelhante a Phuchongkhaprayatachan

นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
panneem
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
พัน พัน
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
krudow14
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
Mong Chawdon
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
Pairor Singwong
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
Nimnoi Kamkiew
 

Semelhante a Phuchongkhaprayatachan (20)

ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
วิชา ฉันทลักษณ์
วิชา ฉันทลักษณ์วิชา ฉันทลักษณ์
วิชา ฉันทลักษณ์
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 

Mais de Piyarerk Bunkoson

Mais de Piyarerk Bunkoson (20)

แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทร
 
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
 
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
 
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
 
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 25542554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงบทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
 
016 ชุดที่ 12
016 ชุดที่ 12016 ชุดที่ 12
016 ชุดที่ 12
 
015 ชุดที่ 11
015 ชุดที่ 11015 ชุดที่ 11
015 ชุดที่ 11
 
014 ชุดที่ 10
014 ชุดที่ 10014 ชุดที่ 10
014 ชุดที่ 10
 
013 ชุดที่ 9
013 ชุดที่ 9013 ชุดที่ 9
013 ชุดที่ 9
 
012 ชุดที่ 8
012 ชุดที่ 8012 ชุดที่ 8
012 ชุดที่ 8
 
011 ชุดที่ 7
011 ชุดที่ 7011 ชุดที่ 7
011 ชุดที่ 7
 
010 ชุดที่ 6
010 ชุดที่ 6010 ชุดที่ 6
010 ชุดที่ 6
 
009 ชุดที่ 5
009 ชุดที่ 5009 ชุดที่ 5
009 ชุดที่ 5
 
008 ชุดที่ 4
008 ชุดที่ 4008 ชุดที่ 4
008 ชุดที่ 4
 
007 ชุดที่ 3
007 ชุดที่ 3007 ชุดที่ 3
007 ชุดที่ 3
 

Phuchongkhaprayatachan

  • 1. ภุชงคประยาตฉันท ๑๒ ภุชงคประยาตฉันท (อานวา พุ-ชง-คะ-ปฺระ-ยา-ตะ-ฉัน หรือ พุ-ชง-คะ-ปฺระ- ยาด-ฉัน) แปลความตามความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ภุชงค หมายถึง งู หรือ นาค โดยรวมใหความหมายวา ชื่อฉันทแบบหนึ่งมี ๑๒ คํา แบงเปน ๒ วรรค มีลหุ ตนวรรคและกลางวรรค หากฟงลีลาจากการอานภุชงคประยาตฉันท แลวจะพบวาฉันทชนิดนี้มีลีลาเหมือนอาการของงูกําลังเลื้อย คณะและพยางค ภุชงคประยาตฉันท ๑ บท ประกอบดวยคณะและพยางค ดังนี้ มี ๒ บาท วรรคหนามีจํานวน ๖ คํา/พยางค และวรรคหลังมีจํานวน ๖ คํา/ พยางค ๑ บาท นับจํานวนคําได ๑๒ คํา/พยางค ดังนั้น จึงเขียนเลข ๑๒ หลังชื่อ ภุชงคประยาตฉันท นี่เองครับ ทั้งบทมีจํานวนคําทั้งสิ้น ๒๔ คํา สัมผัส พบวา ภุชงคประยาตฉันท มีสัมผัสนอก (ที่เปนสัมผัสภายในบท) จํานวน ๒ แหง ไดแก ๑. คําสุดทายของวรรคหนา บาทที่ ๑ สงสัมผัสกับคําที่ ๓ ของ วรรคหลังในบาทเดียวกัน ๒. คําสุดทายของวรรคหลัง บาทที่ ๑ สงสัมผัสกับคําสุดทายของ วรรคหนาในบาทที่ ๒ สัมผัสระหวางบท พบวา คําสุดทายของบท สงสัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่ วรรคหลังของบาทที่ ๑ ในบทตอไป คําครุ ลหุ ภุชงคประยาตฉันท ๑ บท มีคําครุทั้งหมด ๑๖ และมีคําลหุ ทั้งหมด ๘ คํา รวมทั้งบทมีจํานวนคําบังคับ ๒๔ คํา ใหนักเรียนสังเกตสัมผัสบังคับ (สัมผัสนอก) และบังคับครุ-ลหุ ภุชงคประยาตฉันท ๑๒ ตามผังภาพ คําครุ สัญลักษณแทนดวย ั คําลหุ สัญลักษณแทนดวย ุ ใหนักเรียนดูตัวอยางตามผังภาพ ครับ
  • 2. ๏ ทิชงคชาติฉลาดยล คะเนกลคะนึงการ กษัตริยลิจฉวีวาร ระวังเหือดระแวงหาย ๏ เหมาะแกการณจะเสกสรร ปวัตนวัญจโนบาย มลางเหตุพิเฉทสาย สมัครสนธิสโมสร ์ (จาก สามัคคีเภทคําฉันท ของ ชิต บุรทัต)
  • 3. ที่มา/อางอิง กระทรวงศึกษาธิการ. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. หนังสือเรียน สาระการเรียนรูพื้นฐาน วรรณคดีวิจักษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ กลุมสาระ การเรียนรูภาษาไทย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, ๒๕๔๘. กําชัย ทองหลอ. หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ : รวมสาสน, ๒๕๔๐. แจมจันทร สุวรรณรงค. ลักษณะคําประพันธไทย. สกลนคร : วิทยาลัยครูสกลนคร, ๒๕๓๑. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ : นานมีบุคสพับลิเคชั่นส, ๒๕๔๖. วิเชียร เกษประทุม. ลักษณะคําประพันธไทย. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา, ๒๕๔๖. สิทธา พินิจภูวดล และประทีป วาทิกทินกร. รอยกรอง. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย รามคําแหง, ๒๕๑๘.
  • 4. ครุ ลหุ คือ ครุ และ ลหุ หมายถึงลักษณะของเสียงคําหรือพยางค อยางไรละครับนักเรียน มี ประโยชนอยางยิ่งในการแตงคําประพันธประเภทฉันท เนื่องจากคําประพันธประเภทฉันท นั้นบังคับครุ ลหุ สรุป ครุ ลหุ คือ ครุ (อานวา คะ-รุ) หมายถึง เสียงหนัก หนักอยางไร เปนคําหรือพยางคที่ประสมดวยสระเสียงยาวไมมีตัวสะกดก็ได หรือเปนคําหรือ พยางคที่มีเสียงตัวสะกดทุกมาตรา (ไดแก แม กก กด กบ กง กน กม เกย และ เกอว) เชนคําวา ฟา นั่ง พริก ไหม พรม นนท เชษฐ เปนตน ลหุ (อานวา ละ-หุ) หมายถึง เสียงเบา เบาอยางไร เปนคําหรือพยางคที่ประสมดวยสระเสียงสั้นและไมมีตัวสะกด หรือเปนคําหรือ พยางคที่มีเสียงสระเสียงสั้นและไมมีเสียงตัวสะกด เชนคําวา ณ ธ บ ก็ พิ ผิ ลุ เจาะ เหาะ ทะ เละ แพะ และ เลอะ เปนตน โดย ครูปยะฤกษ บุญโกศล โรงเรียนโพนทันเจริญวิทย เผยแพรเมื่อวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๔