SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก  พ . ศ . 2554-2559
ความเป็นมาในการจัดทำยกร่างยุทธศาสตร์ 1)  ประชุม   Orchid Board  ครั้งที่  1/2552  (2  มีนาคม  2552) มติที่ประชุม   1.  แต่งตั้งคณะทำงานทบทวนโครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้ปีละ  10 ,000  ล้านบาท เพื่อพิจารณาทบทวนแผนงาน โครงการและระยะเวลา 2.  วิเคราะห์ร่วมกับผู้ส่งออกเกี่ยวกับผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อเป้าหมายโครงการ 2)  สัมมนาโครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้ ปีละ  10 ,000   ล้านบาท ร่วมกับผู้ส่งออก  (3  เมษายน  2552)   ผลสรุปจากการสัมมนา 1.  ให้ดำเนินงานโครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้ต่อ 2.  คงเป้าหมายมูลค่าการส่งออก ปีละ  10 ,000   ล้านบาท แต่ยืดระยะเวลาออกไป 3.  กลยุทธ์สำคัญที่ทำให้มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ ส่งเสริมกล้วยไม้ไทยเป็น สัญลักษณ์ของประเทศ เพิ่มการประชาสัมพันธ์กล้วยไม้ไทยในต่างประเทศ ขยายตลาดใหม่ ภาครัฐต้องช่วยแก้ไขปัญหาอุปสรรคและเจรจาต่อรองการลดหย่อนมาตรการกีดกันการนำเข้า ของต่างประเทศ เร่งรัดงานวิจัย และปรับปรุงพัฒนาสายพันธุ์ใหม่
3)  คำสั่งคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ ที่  1/2552   ลงวันที่  24  เมษายน  2552 แต่งตั้งคณะทำงานทบทวนโครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้ ปีละ  10 ,000  ล้านบาท โดยมี นายโอฬาร พิทักษ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร  ( ตำแหน่งในขณะนั้น ) เป็นประธานคณะทำงานฯ   4)  ประชุมคณะทำงานทบทวนโครงการ ฯ ครั้งที่  1/2552 (14  พฤษภาคม  2552) มติที่ประชุม 1.  คงเป้าหมาย  10 ,000   ล้านบาท ขยายระยะเวลาถึงปี  2559 2.  ให้ฝ่ายเลขานุการคณะทำงานฯ ยกร่างโครงการตามข้อเสนอแนะของ คณะทำงานฯ
5)  ประชุมคณะทำงานทบทวนโครงการฯ ครั้งที่  2/2552 (10  มิถุนายน  2552) มติที่ประชุม เห็นชอบให้เพิ่มมาตรการสนับสนุน และให้เรียงลำดับกิจกรรมตามลำดับความสำคัญ  พิจารณาหน่วยงานเจ้าภาพหลัก ปรับปรุงแล้วนำเสนอ  Orchid Board 6)  ประชุม   Orchid Board  ครั้งที่  2/2552  (2 2   มิถุนายน  2552) มติที่ประชุม   ให้ปรับโครงการใหม่ให้เป็นลักษณะยุทธศาสตร์
7)  ประชุมคณะทำงานทบทวนโครงการ ฯ ครั้งที่  3/2552 (24  สิงหาคม  2552) มติที่ประชุม 1.  ให้คงกรอบระยะเวลา  6  ปี ระหว่าง ปี พ . ศ . 2554-2559 2.  ให้ปรับเป้าประสงค์ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจ 3.  ให้จัดทำ  SWOT Analysis  ให้เห็นความเชื่อมโยงกับกลยุทธ์ 8)  ประชุม  Orchid Board   ครั้งที่  3 /2552 ( 7  ตุลาคม  2552) มติที่ประชุม 1.  เห็นชอบเป้าหมาย  10 ,000  ล้านบาท คงกรอบระยะเวลา  6  ปี พ . ศ . 2554-2559 2.  ให้คณะทำงานทบทวนโครงการฯ พิจารณาแก้ไขปรับปรุง ดังนี้ 2.1  เปลี่ยนชื่อยุทธศาสตร์ให้เป็นเชิงรุก 2.2  บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.3  จัดทำแผนปฏิบัติงานและงบประมาณ 2.4  จัดทำ  Road Map
9)   ประชุมคณะทำงานทบทวนโครงการ   ครั้งที่  4 /2552  (24  ธันวาคม  2552) มติที่ประชุม   1.  ให้ปรับเป้าหมายอัตราเพิ่มมูลค่าการส่งออกในแต่ละปี 2.  ให้เพิ่มกลยุทธ์ด้านการพัฒนาการผลิต 3.  ให้ปรับกิจกรรมให้เป็นหมวดหมู่ 4.  มีมาตรการสนับสนุนให้รัฐกำหนดเป็นนโยบายในการผลักดันขับเคลื่อนกล้วยไม้ 5.  จัดทำสถานการณ์กล้วยไม้ให้เป็นปัจจุบัน 10)  ประชุม  Orchid Board   ครั้งที่  1/2553 (1  กุมภาพันธ์  2553) เห็นชอบยกร่าง “ ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ . ศ . 2554-2559”
หลักคิดในการจัดทำยุทธศาสตร์ 1.  วิเคราะห์สถานการณ์กล้วยไม้
หลักคิดในการจัดทำยุทธศาสตร์  ( ต่อ ) 2.  วิเคราะห์โครงสร้างคลัสเตอร์กล้วยไม้ 3.  วิเคราะห์  SWOT  โดยให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วม 3.1  ประเมินค่าความสำคัญของปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน  ( S, W)   และ ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก  ( O, T) โดยวิธี  Likert Scale 3.2  วิเคราะห์เชิงกลยุทธ์   โดยนำ  SWOT  มาให้คะแนนถ่วงน้ำหนัก 3.3  วิเคราะห์  Matrix   TOWS  เพื่อหาทางเลือกยุทธศาสตร์ 3.4  วิเคราะห์เพื่อหาส่วนครองตลาดเชิงเปรียบเทียบและแนวโน้มการ เจริญเติบโตของสินค้ากล้วยไม้ไทยในตลาดโลก โดยวิธี  Boston Consulting  Group Matrix : BCG  เพื่อหาทางเลือกกลยุทธ์
11)  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ลงนามหนังสือขออนุมัติดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ . ศ . 2554-2559  เสนอเลขาธิการรัฐมนตรี  (26  เมษายน  2553) 12)  คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการ “ ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ . ศ . 2554-2559”  โดย 12.1  ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นหน่วยงานหลักดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ฯ  12.2  งบประมาณเพื่อดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ฯ ให้สำนักงบประมาณพิจารณา จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีให้ตามความจำเป็นและเหมาะสมต่อไป 13)  คำสั่งคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติที่  1/2553  ลงวันที่  20  กันยายน  2553  แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก  พ . ศ . 2554-2559  ( รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายศุภชัย บานพับทอง เป็นประธาน )
คณะกรรมการจากหน่ายงานภาครัฐ เอกชน รวม  36   หน่วยงาน กรรมการและเลขานุการ ( อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ) ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร  ( ผู้ช่วยเลขานุการ ) สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ  ( กรมส่งเสริมการเกษตร ) ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ . ศ .  2554  -  2559 คณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์  ( ประธาน ) คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ . ศ . 2554-2559 รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร   ฝ่ายวิชาการ  ( ประธาน ) ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร  ( เลขานุการ ) โครงสร้างคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ -  จัดประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน -  ประสานงานหน่วยงานต่าง ๆ ให้เกิดการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ฯ -  ศึกษา วิเคราะห์ ติดตามผลการดำเนินงานและ ปัญหาอุปสรรค เสนอคณะกรรมการและอนุกรรมการ -  ศูนย์ประสานงานส่งเสริมการใช้กล้วยไม้   -  เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานของคณะกรรมการ และอนุกรรมการ บทบาทหน้าที่ -  พิจารณาประเด็นสำคัญที่จะขับเคลื่อนแผนงานยุทธศาสตร์ฯ  -  บูรณาการกิจกรรมและงบประมาณของหน่วยงาน ต่าง ๆ และขับเคลื่อนแผนงานตามยุทธศาสตร์ฯ -  รายงานผลความก้าวหน้าเสนอคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ บทบาทหน้าที่
ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลกพ . ศ .  2554-2559 54 55 56 57 58 59 เป็นผู้นำในการส่งออกกล้วยไม้ของโลก วิสัยทัศน์ ส่งออกกล้วยไม้มูลค่า  10,000  ลบ . 8,500  ลบ . 7,050  ลบ . 5,850  ลบ . 4 ,700  ลบ . 4 , 000   ลบ . เป้าประสงค์  อัตราเติบโตเฉลี่ย ร้อยละ  1 9 .2 4  ( ดอกกล้วยไม้ ร้อยละ  19.09  ต้นกล้วยไม้ ร้อยละ  25.31 )
อัตราเพิ่มมูลค่าการส่งออก แบ่งเป็น  3  ระยะ ระยะที่  1  ช่วงปี  2552-2554 อัตราการขยายตัวเฉลี่ยต่อปี  ร้อยละ  15.47   เศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัวจากภาวะตกต่ำในปี  2551  ทำให้ปริมาณการใช้ดอกไม้ปรับตัวดีขึ้น ระยะที่  2  ช่วงปี  2554-2557 อัตราการขยายตัวปรับตัวดีขึ้นจากเดิม เฉลี่ยต่อปี   ร้อยละ  21.6   เศรษฐกิจดีขึ้น ประกอบกับการสนับสนุนการดำเนินงานจากหน่วยงานต่าง ๆ ภายใต้ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก ระยะที่  3  ช่วงปี  2557-2559 อัตราขยายตัวปรับลดลงเล็กน้อย แต่ยังอยู่ในระดับสูง เฉลี่ยต่อปี  ร้อยละ  19.10
ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก  พ . ศ .  2554-2559 เป้าประสงค์  ( ต่อ ) 2.  ส่งเสริมให้มีการใช้กล้วยไม้ไทยอย่างแพร่หลายมากขึ้นและเกิดประโยชน์ ต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศไทย 3.  ส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมกล้วยไม้
พันธกิจ 1.  ผลักดันให้มีการส่งออกกล้วยไม้เพิ่มมากขึ้น 2.  ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้ที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการส่งออก 3.  ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดคลัสเตอร์กล้วยไม้ที่เข้มแข็ง 4.  พัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางนวัตกรรมกล้วยไม้ ศูนย์กลาง ข้อมูลและตลาดข้อมูลกล้วยไม้ระดับโลก  ( World Orchid Net)  5.  ส่งเสริมให้มีการใช้กล้วยไม้มากขึ้นในการประดับตกแต่งทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก  พ . ศ .  2554-2559
ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ . ศ .  2554-2559 กลยุทธ์ 1 .  เพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้านการตลาดส่งออก 2 .  ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้คุณภาพ 3 .  พัฒนาและสร้างสรรค์นวัตกรรม 4 .  พัฒนาองค์กร  5.  ส่งเสริมการใช้และสนับสนุนการส่งออก
งบประมาณ รวม  305.239  ล้านบาท กลยุทธ์ งบประมาณ  ( ล้านบาท ) รวม ปี  2554 ปี  2555 ปี  2556 ปี  2557 ปี  2558 ปี  2559 1 .  เพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้านการตลาดส่งออก 177.13 36.828 33.164 29.164 26.664 22.664 26.646 2 .  ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้คุณภาพ 17.7 3.0 5.2 5.0 2.9 0.8 0.8 3 .  พัฒนาและสร้างสรรค์นวัตกรรม 63.6 10.60 10.60 10.60 10.60 10.60 10.60 4 .  พัฒนาองค์กร 41.219 8.644 6.737 6.265 6.812 6.506 6.255 5.  ส่งเสริมการใช้และสนับสนุนการส่งออก - - - - - - - 6 .  บริหารจัดการโครงการ 5.59 0.932 0.932 0.932 0.932 0.932 0.932
กลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ,[object Object],[object Object]
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สรุปแผนผังยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ . ศ . 2554-2559 เป้าประสงค์  :  1.  เพิ่มมูลค่าการส่งออกกล้วยไม้ จาก  2 ,834.5  ล้านบาท ในปี  2551  เป็น  10 , 000  ล้านบาท ในปี  2559 2.  ส่งเสริมให้มีการใช้กล้วยไม้ไทยอย่างแพร่หลายมากขึ้นและเกิดประโยชน์ต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศไทย 3.  ส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมกล้วยไม้ 1.   สร้างตลาดเชิงรุก 1.1  ขยายช่องทางการตลาด - ศึกษาวิเคราะห์ตลาดและแนวทางการขยายตลาด ในตลาดใหม่ - ศึกษาวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่มีต่อ การส่งออกในตลาดคู่ค้าเดิม -  โครงการนำร่องจากผลการศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่มีต่อการส่งออกในตลาดคู่ค้าเดิม 1.2  รณรงค์ประชาสัมพันธ์กล้วยไม้ไทยทั้งในและ ต่างประเทศ 1.3  ส่งเสริมการส่งออกกล้วยไม้ที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน การส่งออกและตรวจสอบย้อนกลับได้ 2.  พัฒนาระบบการบริหารจัดการในการส่งออกและโลจิสติกส์ -  ศึกษาวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาและลดต้นทุนโลจิสติกส์ -  โครงการนำร่องจากผลการศึกษาแก้ไขปัญหาและ ลดต้นทุนโลจิสติกส์ กลยุทธ์พัฒนาและสร้างสรรค์นวัตกรรม 1.  ส่งเสริมงานวิจัยเชิงบูรณาการ ระหว่างเกษตรกร ผู้ประกอบการ และนักวิจัย 2.  จัดประกวดนวัตกรรม 3.  จัดงานนวัตกรรมกล้วยไม้ นานาชาติ กลยุทธ์พัฒนาองค์กร งบประมาณรวม : 305. 239   ล้านบาท  1.  ส่งเสริมการสร้างคลัสเตอร์ กล้วยไม้ที่เข้มแข็ง 2.  สร้างศูนย์กลางการให้บริการ กล้วยไม้แบบเบ็ดเสร็จ -  จัดสร้างระบบเครือข่ายข้อมูล กล้วยไม้ระดับโลก ( World Orchid Net ) -  จัดตั้งศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยี และฝึกอาชีพกล้วยไม้ -  จัดตั้งศูนย์บริการด้านการตลาด กล้วยไม้ กลยุทธ์เพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้านการตลาดและการส่งออก วิสัยทัศน์  :  เป็นผู้นำในการส่งออกกล้วยไม้ของโลก   1.  ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้ให้มีความ หลากหลาย 2.  ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้ที่มี คุณภาพตามมาตรฐานการส่งออก 15 กลยุทธ์ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้คุณภาพ กลยุทธ์ส่งเสริมการใช้และสนับสนุนการส่งออก 1.  ส่งเสริมให้มีการใช้กล้วยไม้ภายในประเทศอย่างแพร่หลายเพื่อให้ประเทศไทยเป็น  Land of Orchid 2.  ให้หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องให้การสนับสนุนและผลักดันการใช้และการส่งออกกล้วยไม้ตามภารกิจและศักยภาพที่มีอยู่ 3.  ให้ใช้กล้วยไม้เป็นหลักในการประดับตกแต่งสถานที่ ได้แก่ สนามบินนานาชาติ สวนสาธารณะ โรงแรม รีสอร์ท หน่วยงานราชการ เอกชน รวมทั้งการจัดงานพิธี การจัดประชุมสัมมนาต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
Road Map   ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ . ศ . 2554-2559 Strategy Activity Output Input Outcome เพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้านการตลาดส่งออก พัฒนาองค์กร พัฒนาและสร้างสรรค์นวัตกรรม 1. เพิ่มมูลค่าการส่งออกกล้วยไม้ จาก  2 , 834.51  ล้านบาท ในปี  2551  เป็น  10 , 000   ล้านบาท ในปี  25 5 9 2.  ส่งเสริมให้มีการใช้กล้วยไม้ไทยอย่างแพร่หลายมากขึ้น และเกิดประโยชน์ต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศไทย 3.  ส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมกล้วยไม้ 1.  การสร้างตลาดเชิงรุก 1.1  ขยายช่องทางการตลาด - ศึกษาวิเคราะห์ตลาดและแนวทางขยายตลาดในตลาดใหม่ - ศึกษาวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่มีต่อการส่งออกในตลาดคู่ค้าเดิม - โครงการนำร่องจากผลการศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่มีต่อการส่งออกในตลาดคู่ค้าเดิม 1.2  รณรงค์ประชาสัมพันธ์กล้วยไม้ไทยทั้งในและต่างประเทศ 1.3  ส่งเสริมการส่งออกกล้วยไม้ที่มีคุณภาพได้มาตรฐานการส่งออกและตรวจสอบย้อนกลับได้ 2.  พัฒนาระบบการบริหารจัดการใน การส่งออกและโลจิสติกส์ 2.1  ศึกษาวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาและลดต้นทุนโลจิสติกส์ 2.2  โครงการนำร่องจากผลการศึกษาแก้ไขปัญหาและลดต้นทุนโลจิสติกส์ 2.  จัดประกวดนวัตกรรม 1.  ส่งเสริมงานวิจัยเชิง บูรณาการระหว่างเกษตรกร ผู้ประกอบการและนักวิจัย 2.  สร้างศูนย์กลางการให้บริการกล้วยไม้แบบเบ็ดเสร็จ 2.1  จัดสร้างระบบเครือข่ายข้อมูลกล้วยไม้ระดับโลก  ( World Orchid Net ) 2.2  จัดตั้งศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีและฝึกอาชีพกล้วยไม้ 2.3  จัดตั้งศูนย์บริการด้านการตลาดกล้วยไม้  1.  ส่งเสริมการสร้าง คลัสเตอร์กล้วยไม้ที่ เข้มแข็ง  3.  จัดงานนวัตกรรมกล้วยไม้นานาชาติ 1. สามารถรักษาตลาดคู่ค้าเดิม 2. ขยายการส่งออกสู่ ตลาดใหม่ 3. ส่งออกกล้วยไม้ที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐานตรวจสอบย้อนกลับได้ 4. มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น  3 0 %  ( 500   ล้านบาทต่อปี ) 1. สินค้ากล้วยไม้มีความหลากหลาย 2. สวนกล้วยไม้และโรงงานได้รับ  GAP  และ  GMP 3. มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น 20 %  (333.3   ล้านบาทต่อปี ) 16 ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้คุณภาพ 2.  ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการส่งออก 1.  ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้ให้มีความหลากหลาย 1. มีคลัสเตอร์ที่เข้มแข็ง 2. ผู้เกี่ยวข้องได้พัฒนาความรู้ 3. มีศูนย์ให้บริการข้อมูลการผลิตการตลาด 4. มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น  20 %  (333.3   ล้านบาทต่อปี ) 1. มีนวัตกรรมเกิดมากขึ้น 2. มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น  20 %  (333.3   ล้านบาทต่อปี ) 177.13  ล้านบาท 41.219 ล้านบาท 63.6  ล้านบาท 17.7  ล้านบาท ส่งเสริมการใช้และสนับสนุนการส่งออก ไม่ใช้งบประมาณ 1.  ส่งเสริมการใช้ภายในประเทศอย่างแพร่หลาย  ( Land of Orchid) 2.  ทุกหน่วยงานให้การสนับสนุนและผลักดันการใช้และส่งออกตามภารกิจและศักยภาพ 3.  ใช้กล้วยไม้ที่มีคุณภาพเป็นหลักในการประดับตกแต่งสถานที่ เช่น สนามบินนานาชาติ สวนสาธารณะ งานพิธีต่าง ๆ 1. มีการใช้กล้วยไม้ในประเทศ เพิ่มขึ้น 2. ส่งเสริมภาพลักษณ์การเป็นดินแดน แห่งกล้วยไม้ 3. มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น  1 0 %  ( 166.7  ล้านบาทต่อปี )
ปัญหาสำคัญด้านการผลิตที่สำคัญ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ปัญหาด้านการตลาดที่สำคัญ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ปัญหาด้านกฎระเบียบที่สำคัญ ,[object Object],[object Object]
ปัญหา แนวทางแก้ไข หน่วยงานเจ้าภาพหลัก งบประมาณ ( บาท ) กรอบระยะเวลา ด้านการผลิต   ( กรมส่งเสริมการเกษตร เป็นหน่วยงานประสานงาน ) ๑ .  คุณภาพกล้วยไม้ ไม่สม่ำเสมอ และไม่ได้มาตรฐาน -  ส่งเสริมการจัดทำสวน  GAP  เพื่อให้ได้ มาตรฐานตามระบบ  GAP   สำหรับกล้วยไม้ตัดดอก และมาตรฐานช่อดอกกล้วยไม้ กสก . ๔๕๑ , ๐๐๐ มี . ค .  –   ก . ย .  ๕๔ กวก . ๒๕๐ , ๐๐๐ มี . ค .  –   ก . ย .  ๕๔ มกอช . ๑ , ๘๐๐ , ๐๐๐ พ . ค .  ๕๓  –  ก . ค .  ๕๔ -  รณรงค์การให้ความรู้แก่ผู้บริโภคให้ใช้ประโยชน์จากกล้วยไม้ที่มีคุณภาพ กสก . มี . ค .  –   ก . ย .  ๕๔
ปัญหา แนวทางแก้ไข หน่วยงานเจ้าภาพหลัก งบประมาณ ( บาท ) กรอบระยะเวลา ๒ .  โรคแมลง  เพลี้ยไฟ และบั่วกล้วยไม้  ( ไอ้ฮวบ )  ระบาดในสวนกล้วยไม้  -  วิจัยความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในเพลี้ยไฟและกลไกความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในเพลี้ยไฟ กวก . ๓๒๐ , ๐๐๐ เริ่มปี ๒๕๕๔ -  วิจัยช่วงเวลาที่เหมาะสมในการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟฝ้าย กวก . ๑๒๐ , ๐๐๐ เริ่มปี ๒๕๕๔ ๓ .  ขาดพันธุ์ใหม่ / ความต้องการพันธุ์ใหม่ วิจัยการปรับปรุงพันธุ์กล้วยไม้หวาย แวนดา  กวก . ๕๑๐ , ๐๐๐ เริ่มปี ๒๕๕๔
ปัญหา แนวทางแก้ไข หน่วยงานเจ้าภาพหลัก งบประมาณ ( บาท ) กรอบระยะเวลา ๓ .  ขาดพันธุ์ใหม่ / ความต้องการพันธุ์ใหม่   ( ต่อ ) -  วิจัยและพัฒนาพันธุ์ กล้วยไม้ไทยที่มีศักยภาพทางการค้าสกุลอื่นๆ  ( จำนวน ๖ สกุล ) กวก . ๑ , ๙๒๗ , ๓๑๔ เริ่มปี ๒๕๕๔ -  วิจัยการอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมกล้วยไม้ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ กวก . ๑ , ๔๗๒ , ๐๐๐ เริ่มปี ๒๕๕๔ -  สนับสนุนการจัดตั้งกลุ่มพัฒนาพันธุ์  ( ๗ กลุ่ม  x  ๒๐   ราย ) กสก . ๑๑๒ , ๐๐๐ มี . ค .  –   ก . ย .  ๕๔ กวก .
ปัญหา แนวทางแก้ไข หน่วยงานเจ้าภาพหลัก งบประมาณ ( บาท ) กรอบระยะเวลา ๓ .  ขาดพันธุ์ใหม่ / ความต้องการพันธุ์ใหม่   ( ต่อ ) -  จัดประกวดกล้วยไม้พันธุ์ใหม่ กสก . ก . ค .  ๕๔ อตก . ๔ .  ขาดการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว ที่มีประสิทธิภาพ -  วิจัยการจัดการคุณภาพกล้วยไม้สกุลหวายเพื่อการส่งออก :  เพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว กวก . ๓๔๐ , ๐๐๐ เริ่มปี ๒๕๕๔
ปัญหา แนวทางแก้ไข หน่วยงานเจ้าภาพหลัก งบประมาณ ( บาท ) กรอบระยะเวลา ๕ .  ขาดแคลนแรงงาน  ให้มีการจดทะเบียนแรงงานต่างด้าวเพิ่มขึ้น  ( อยู่ระหว่างการรวบรวมข้อมูลนำเสนอคณะกรรมการบริหาร แรงงานต่างด้าว ) กระทรวงแรงงาน เริ่มปี ๒๕๕๔ รวมงบประมาณด้านการผลิต ๗ , ๓๐๒ , ๓๑๔
ปัญหา แนวทางแก้ไข หน่วยงานเจ้าภาพหลัก งบประมาณ ( บาท ) กรอบระยะเวลา ด้านการตลาด / ส่งออก   ( กรมส่งเสริมการส่งออก เป็นหน่วยงานประสานงาน ) ๑ .  ตลาดคู่ค้าเดิมมีการขยายตัวน้อย -  ศึกษาวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่มีต่อการส่งออกในตลาดคู่ค้าเดิม  (  เช่น ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน อิตาลี เนเธอร์แลนด์ )  สอ .   มี . ค .  –   ก . ย .  ๕๔
ปัญหา แนวทางแก้ไข หน่วยงานเจ้าภาพหลัก งบประมาณ ( บาท ) กรอบระยะเวลา ๒ .  ขาดการขยายตลาดใหม่ -  เข้าร่วมงานแสดงสินค้า  IPM  ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สอ . 3 ,269,300 กันยายน  2554 -  เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ และศึกษาวิเคราะห์ตลาดและแนวทางการขยายตลาดใหม่  ( เช่น ไต้หวัน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อิหร่าน แคนาดา สอ . มี . ค .  –   ก . ย .  ๕๔
ปัญหา แนวทางแก้ไข หน่วยงานเจ้าภาพหลัก งบประมาณ ( บาท ) กรอบระยะเวลา ๒ .  ขาดการขยายตลาดใหม่  ( ต่อ ) -  จัดแสดงศักยภาพกล้วยไม้ไทยในการแสดงกล้วยไม้ระดับนานาชาติ  :  งาน  Taipei International Flora Expo  ประเทศไต้หวัน :  งาน  International Flower Expo (IFEX 2010)   ณ ประเทศญี่ปุ่น กสก . 1, ๓ 00 , 000 500 ,000 พ . ย . 53  –   เม . ย . 54 ต . ค . 2554
ปัญหา แนวทางแก้ไข หน่วยงานเจ้าภาพหลัก งบประมาณ ( บาท ) กรอบระยะเวลา ๓ .  ข้อจำกัดด้านการขนส่ง ระวางไม่เพียงพอในบางช่วง และต้นทุนการขนส่งสูง -  การพัฒนาระบบการบริหารจัดการในการส่งออกและโลจิสติกส์ **  ข้อชี้แจงท้ายตาราง สศก . ๔ .  ไม่มีตลาดกลาง - การศึกษาความเป็น ไปได้โครงการจัดตั้งศูนย์กลางกล้วยไม้แบบครบวงจร  สศก .  ( กสส ./ กสก .) ปี  2554 ๕ .  บรรจุภัณฑ์ยังไม่ ได้มาตรฐาน จัดประกวดบรรจุภัณฑ์ สอ . ปี  2554 รวมงบประมาณด้านการตลาด / ส่งออก 5 , ๐ 69 , 300
มูลค่าการส่งออกไม้ดอกไม้ประดับของไทย ปี  2553 รวม  3,569  ล้านบาท  (-0.1 %)  ( ที่มา :  กรมศุลกากร ) สัดส่วน  (%) รายการ มูลค่า ปริมาณ ( ล้านบาท ) %  หน่วย %  64.6  ดอกกล้วยไม้ 2,305.2  -  2.6  25,269.8  ตัน  2.72  11.8  ต้นกล้วยไม้ 422.4  13.5  30.0  ล้านหน่วย  -  2.95  10.0  ต้นไม้อื่น ๆ 357.0  -  20.3  24.5  ล้านหน่วย  -  14.87  7.1  ดอกไม้แห้ง 252.0  24.9  2,263.3  ตัน  1.59  1.9  ใบไม้กิ่งไม้แห้ง 67.6  -  1.5  2,107.5  ตัน  9.66  1.3  ใบไม้กิ่งไม้สด 47.2  59.7  993.7  ตัน  26.46  0.9  หัว 31.9  8.1  3.5  ล้านหน่วย  2.83  0.8  ดอกไม้สดอื่น ๆ 27.0  -  7.7  635.4  ตัน  19.87  1.6  เมล็ดดอกไม้ 58.5  118.7  52.7  ตัน  9.24
ที่มา :   กรมศุลกากร ผ่าน สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ข้อมูล  :  กรมวิชาการเกษตร  ( อัตราแปลง  33  ช่อ  =  1  กก .) W=2 4-10  ม . ค . 98.7 T W=11 8-14  มี . ค . 86.0 T W=18 26  เม . ย . – 2  พ . ค . 84.0 T W=32 1-7  ส . ค . 116.9 T W=38 12-18  ก . ย . 117.9 T W=52 19-25  ธ . ค . 151.7 T
ข้อมูล  :  กรมวิชาการเกษตร  ( อัตราแปลง  33  ช่อ  =  1  กก .) W=6 1-7  ก . พ . 39.3 T W=18 26  เม . ย . – 2  พ . ค . 41.5 T
ข้อมูล  :  กรมวิชาการเกษตร  ( อัตราแปลง  33  ช่อ  =  1  กก .) W=44 24-30  ต . ค . 163.9 T
สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ โทร . / โทรสาร  0-2579-1501 e-mail: agriman52@doae.go.th สวัสดี

More Related Content

What's hot

2554-2.1government land-management-plans-in-most
2554-2.1government land-management-plans-in-most2554-2.1government land-management-plans-in-most
2554-2.1government land-management-plans-in-mostps-most
 
กระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณกระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณAreeluk Ngankoh
 
แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556
แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556
แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556Nus Venus
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์0884045430
 
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2562 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2562  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2562  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2562 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

What's hot (8)

2554-2.1government land-management-plans-in-most
2554-2.1government land-management-plans-in-most2554-2.1government land-management-plans-in-most
2554-2.1government land-management-plans-in-most
 
กระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณกระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณ
 
บัญชีสรุปโครงการ
บัญชีสรุปโครงการบัญชีสรุปโครงการ
บัญชีสรุปโครงการ
 
แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556
แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556
แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
 
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2562 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2562  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2562  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2562 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
 
บทที่ ๑
บทที่ ๑บทที่ ๑
บทที่ ๑
 

Similar to Orchid export strategy

Thai koraa meeting 27 Nov 2011
Thai koraa meeting  27 Nov 2011Thai koraa meeting  27 Nov 2011
Thai koraa meeting 27 Nov 2011thaikoraa
 
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_commentเล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_commentKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553pentanino
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2reraisararat
 
" Loadแนวข้อสอบ นักสื่อสารมวลชน (ด้านทั่วไป) กรมประชาสัมพันธ์
" Loadแนวข้อสอบ นักสื่อสารมวลชน (ด้านทั่วไป) กรมประชาสัมพันธ์" Loadแนวข้อสอบ นักสื่อสารมวลชน (ด้านทั่วไป) กรมประชาสัมพันธ์
" Loadแนวข้อสอบ นักสื่อสารมวลชน (ด้านทั่วไป) กรมประชาสัมพันธ์noodeejideenoodeejid
 
Just%20an%20example%20%e0%b8%95.%e0%b8%a2+%e0%b9%82%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%8...
Just%20an%20example%20%e0%b8%95.%e0%b8%a2+%e0%b9%82%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%8...Just%20an%20example%20%e0%b8%95.%e0%b8%a2+%e0%b9%82%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%8...
Just%20an%20example%20%e0%b8%95.%e0%b8%a2+%e0%b9%82%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%8...พิชิต พลราชม
 
Action plan gap
Action plan gapAction plan gap
Action plan gapi_cavalry
 
ME-EGMU 2015 Annual Report and 2016 PA (Performance Agreement)
ME-EGMU 2015 Annual Report and 2016 PA (Performance Agreement)ME-EGMU 2015 Annual Report and 2016 PA (Performance Agreement)
ME-EGMU 2015 Annual Report and 2016 PA (Performance Agreement)Sarawoot Watechagit
 
เส้นทางกาสร้างธุรกิจต้อนรับ AEC
เส้นทางกาสร้างธุรกิจต้อนรับ AECเส้นทางกาสร้างธุรกิจต้อนรับ AEC
เส้นทางกาสร้างธุรกิจต้อนรับ AECDNTMb Inc.
 
โครงการกองกิจการนิสิตมจร
โครงการกองกิจการนิสิตมจร โครงการกองกิจการนิสิตมจร
โครงการกองกิจการนิสิตมจร solarcell2
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง
 
รายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริต
รายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริตรายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริต
รายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริตWatcharasak Chantong
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 

Similar to Orchid export strategy (20)

Annual Report 2009
Annual Report 2009Annual Report 2009
Annual Report 2009
 
Thai koraa meeting 27 Nov 2011
Thai koraa meeting  27 Nov 2011Thai koraa meeting  27 Nov 2011
Thai koraa meeting 27 Nov 2011
 
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_commentเล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
 
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
 
ต่าย
ต่ายต่าย
ต่าย
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 
แบบ โครงการ 58
แบบ โครงการ 58แบบ โครงการ 58
แบบ โครงการ 58
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
 
" Loadแนวข้อสอบ นักสื่อสารมวลชน (ด้านทั่วไป) กรมประชาสัมพันธ์
" Loadแนวข้อสอบ นักสื่อสารมวลชน (ด้านทั่วไป) กรมประชาสัมพันธ์" Loadแนวข้อสอบ นักสื่อสารมวลชน (ด้านทั่วไป) กรมประชาสัมพันธ์
" Loadแนวข้อสอบ นักสื่อสารมวลชน (ด้านทั่วไป) กรมประชาสัมพันธ์
 
Just%20an%20example%20%e0%b8%95.%e0%b8%a2+%e0%b9%82%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%8...
Just%20an%20example%20%e0%b8%95.%e0%b8%a2+%e0%b9%82%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%8...Just%20an%20example%20%e0%b8%95.%e0%b8%a2+%e0%b9%82%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%8...
Just%20an%20example%20%e0%b8%95.%e0%b8%a2+%e0%b9%82%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%8...
 
5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล
5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล
5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล
 
Action plan gap
Action plan gapAction plan gap
Action plan gap
 
ME-EGMU 2015 Annual Report and 2016 PA (Performance Agreement)
ME-EGMU 2015 Annual Report and 2016 PA (Performance Agreement)ME-EGMU 2015 Annual Report and 2016 PA (Performance Agreement)
ME-EGMU 2015 Annual Report and 2016 PA (Performance Agreement)
 
การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี
การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปีการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี
การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี
 
เส้นทางกาสร้างธุรกิจต้อนรับ AEC
เส้นทางกาสร้างธุรกิจต้อนรับ AECเส้นทางกาสร้างธุรกิจต้อนรับ AEC
เส้นทางกาสร้างธุรกิจต้อนรับ AEC
 
โครงการกองกิจการนิสิตมจร
โครงการกองกิจการนิสิตมจร โครงการกองกิจการนิสิตมจร
โครงการกองกิจการนิสิตมจร
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
 
รายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริต
รายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริตรายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริต
รายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริต
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
 

More from Pisuth paiboonrat (20)

E agriculture-thailand
E agriculture-thailandE agriculture-thailand
E agriculture-thailand
 
Icdt for community
Icdt for communityIcdt for community
Icdt for community
 
ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2
 
Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2
 
Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculture
 
Ag smart2 pisuth
Ag smart2 pisuthAg smart2 pisuth
Ag smart2 pisuth
 
Ag smart pisuth
Ag smart pisuthAg smart pisuth
Ag smart pisuth
 
Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculture
 
Ag smart pisuth
Ag smart pisuthAg smart pisuth
Ag smart pisuth
 
Mahidol ag
Mahidol agMahidol ag
Mahidol ag
 
Ku01
Ku01Ku01
Ku01
 
Smart farm concept ait
Smart farm concept aitSmart farm concept ait
Smart farm concept ait
 
RSPG social business model
RSPG social business modelRSPG social business model
RSPG social business model
 
Smart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburiSmart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburi
 
Smart farm lecture-ku
Smart farm lecture-kuSmart farm lecture-ku
Smart farm lecture-ku
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
Smart Agriculture
Smart Agriculture Smart Agriculture
Smart Agriculture
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
Smart farm initiative2
Smart farm initiative2Smart farm initiative2
Smart farm initiative2
 
Smart farm initiative
Smart farm initiativeSmart farm initiative
Smart farm initiative
 

Orchid export strategy

  • 2. ความเป็นมาในการจัดทำยกร่างยุทธศาสตร์ 1) ประชุม Orchid Board ครั้งที่ 1/2552 (2 มีนาคม 2552) มติที่ประชุม 1. แต่งตั้งคณะทำงานทบทวนโครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้ปีละ 10 ,000 ล้านบาท เพื่อพิจารณาทบทวนแผนงาน โครงการและระยะเวลา 2. วิเคราะห์ร่วมกับผู้ส่งออกเกี่ยวกับผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อเป้าหมายโครงการ 2) สัมมนาโครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้ ปีละ 10 ,000 ล้านบาท ร่วมกับผู้ส่งออก (3 เมษายน 2552) ผลสรุปจากการสัมมนา 1. ให้ดำเนินงานโครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้ต่อ 2. คงเป้าหมายมูลค่าการส่งออก ปีละ 10 ,000 ล้านบาท แต่ยืดระยะเวลาออกไป 3. กลยุทธ์สำคัญที่ทำให้มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ ส่งเสริมกล้วยไม้ไทยเป็น สัญลักษณ์ของประเทศ เพิ่มการประชาสัมพันธ์กล้วยไม้ไทยในต่างประเทศ ขยายตลาดใหม่ ภาครัฐต้องช่วยแก้ไขปัญหาอุปสรรคและเจรจาต่อรองการลดหย่อนมาตรการกีดกันการนำเข้า ของต่างประเทศ เร่งรัดงานวิจัย และปรับปรุงพัฒนาสายพันธุ์ใหม่
  • 3. 3) คำสั่งคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ ที่ 1/2552 ลงวันที่ 24 เมษายน 2552 แต่งตั้งคณะทำงานทบทวนโครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้ ปีละ 10 ,000 ล้านบาท โดยมี นายโอฬาร พิทักษ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ( ตำแหน่งในขณะนั้น ) เป็นประธานคณะทำงานฯ 4) ประชุมคณะทำงานทบทวนโครงการ ฯ ครั้งที่ 1/2552 (14 พฤษภาคม 2552) มติที่ประชุม 1. คงเป้าหมาย 10 ,000 ล้านบาท ขยายระยะเวลาถึงปี 2559 2. ให้ฝ่ายเลขานุการคณะทำงานฯ ยกร่างโครงการตามข้อเสนอแนะของ คณะทำงานฯ
  • 4. 5) ประชุมคณะทำงานทบทวนโครงการฯ ครั้งที่ 2/2552 (10 มิถุนายน 2552) มติที่ประชุม เห็นชอบให้เพิ่มมาตรการสนับสนุน และให้เรียงลำดับกิจกรรมตามลำดับความสำคัญ พิจารณาหน่วยงานเจ้าภาพหลัก ปรับปรุงแล้วนำเสนอ Orchid Board 6) ประชุม Orchid Board ครั้งที่ 2/2552 (2 2 มิถุนายน 2552) มติที่ประชุม ให้ปรับโครงการใหม่ให้เป็นลักษณะยุทธศาสตร์
  • 5. 7) ประชุมคณะทำงานทบทวนโครงการ ฯ ครั้งที่ 3/2552 (24 สิงหาคม 2552) มติที่ประชุม 1. ให้คงกรอบระยะเวลา 6 ปี ระหว่าง ปี พ . ศ . 2554-2559 2. ให้ปรับเป้าประสงค์ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจ 3. ให้จัดทำ SWOT Analysis ให้เห็นความเชื่อมโยงกับกลยุทธ์ 8) ประชุม Orchid Board ครั้งที่ 3 /2552 ( 7 ตุลาคม 2552) มติที่ประชุม 1. เห็นชอบเป้าหมาย 10 ,000 ล้านบาท คงกรอบระยะเวลา 6 ปี พ . ศ . 2554-2559 2. ให้คณะทำงานทบทวนโครงการฯ พิจารณาแก้ไขปรับปรุง ดังนี้ 2.1 เปลี่ยนชื่อยุทธศาสตร์ให้เป็นเชิงรุก 2.2 บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.3 จัดทำแผนปฏิบัติงานและงบประมาณ 2.4 จัดทำ Road Map
  • 6. 9) ประชุมคณะทำงานทบทวนโครงการ ครั้งที่ 4 /2552 (24 ธันวาคม 2552) มติที่ประชุม 1. ให้ปรับเป้าหมายอัตราเพิ่มมูลค่าการส่งออกในแต่ละปี 2. ให้เพิ่มกลยุทธ์ด้านการพัฒนาการผลิต 3. ให้ปรับกิจกรรมให้เป็นหมวดหมู่ 4. มีมาตรการสนับสนุนให้รัฐกำหนดเป็นนโยบายในการผลักดันขับเคลื่อนกล้วยไม้ 5. จัดทำสถานการณ์กล้วยไม้ให้เป็นปัจจุบัน 10) ประชุม Orchid Board ครั้งที่ 1/2553 (1 กุมภาพันธ์ 2553) เห็นชอบยกร่าง “ ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ . ศ . 2554-2559”
  • 7. หลักคิดในการจัดทำยุทธศาสตร์ 1. วิเคราะห์สถานการณ์กล้วยไม้
  • 8. หลักคิดในการจัดทำยุทธศาสตร์ ( ต่อ ) 2. วิเคราะห์โครงสร้างคลัสเตอร์กล้วยไม้ 3. วิเคราะห์ SWOT โดยให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วม 3.1 ประเมินค่าความสำคัญของปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน ( S, W) และ ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก ( O, T) โดยวิธี Likert Scale 3.2 วิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ โดยนำ SWOT มาให้คะแนนถ่วงน้ำหนัก 3.3 วิเคราะห์ Matrix TOWS เพื่อหาทางเลือกยุทธศาสตร์ 3.4 วิเคราะห์เพื่อหาส่วนครองตลาดเชิงเปรียบเทียบและแนวโน้มการ เจริญเติบโตของสินค้ากล้วยไม้ไทยในตลาดโลก โดยวิธี Boston Consulting Group Matrix : BCG เพื่อหาทางเลือกกลยุทธ์
  • 9. 11) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ลงนามหนังสือขออนุมัติดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ . ศ . 2554-2559 เสนอเลขาธิการรัฐมนตรี (26 เมษายน 2553) 12) คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการ “ ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ . ศ . 2554-2559” โดย 12.1 ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นหน่วยงานหลักดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ฯ 12.2 งบประมาณเพื่อดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ฯ ให้สำนักงบประมาณพิจารณา จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีให้ตามความจำเป็นและเหมาะสมต่อไป 13) คำสั่งคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติที่ 1/2553 ลงวันที่ 20 กันยายน 2553 แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ . ศ . 2554-2559 ( รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายศุภชัย บานพับทอง เป็นประธาน )
  • 10. คณะกรรมการจากหน่ายงานภาครัฐ เอกชน รวม 36 หน่วยงาน กรรมการและเลขานุการ ( อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ) ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ( ผู้ช่วยเลขานุการ ) สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ ( กรมส่งเสริมการเกษตร ) ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ . ศ . 2554 - 2559 คณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ( ประธาน ) คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ . ศ . 2554-2559 รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ ( ประธาน ) ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ( เลขานุการ ) โครงสร้างคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ - จัดประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน - ประสานงานหน่วยงานต่าง ๆ ให้เกิดการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ฯ - ศึกษา วิเคราะห์ ติดตามผลการดำเนินงานและ ปัญหาอุปสรรค เสนอคณะกรรมการและอนุกรรมการ - ศูนย์ประสานงานส่งเสริมการใช้กล้วยไม้ - เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานของคณะกรรมการ และอนุกรรมการ บทบาทหน้าที่ - พิจารณาประเด็นสำคัญที่จะขับเคลื่อนแผนงานยุทธศาสตร์ฯ - บูรณาการกิจกรรมและงบประมาณของหน่วยงาน ต่าง ๆ และขับเคลื่อนแผนงานตามยุทธศาสตร์ฯ - รายงานผลความก้าวหน้าเสนอคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ บทบาทหน้าที่
  • 11. ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลกพ . ศ . 2554-2559 54 55 56 57 58 59 เป็นผู้นำในการส่งออกกล้วยไม้ของโลก วิสัยทัศน์ ส่งออกกล้วยไม้มูลค่า 10,000 ลบ . 8,500 ลบ . 7,050 ลบ . 5,850 ลบ . 4 ,700 ลบ . 4 , 000 ลบ . เป้าประสงค์ อัตราเติบโตเฉลี่ย ร้อยละ 1 9 .2 4 ( ดอกกล้วยไม้ ร้อยละ 19.09 ต้นกล้วยไม้ ร้อยละ 25.31 )
  • 12. อัตราเพิ่มมูลค่าการส่งออก แบ่งเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 ช่วงปี 2552-2554 อัตราการขยายตัวเฉลี่ยต่อปี ร้อยละ 15.47 เศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัวจากภาวะตกต่ำในปี 2551 ทำให้ปริมาณการใช้ดอกไม้ปรับตัวดีขึ้น ระยะที่ 2 ช่วงปี 2554-2557 อัตราการขยายตัวปรับตัวดีขึ้นจากเดิม เฉลี่ยต่อปี ร้อยละ 21.6 เศรษฐกิจดีขึ้น ประกอบกับการสนับสนุนการดำเนินงานจากหน่วยงานต่าง ๆ ภายใต้ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก ระยะที่ 3 ช่วงปี 2557-2559 อัตราขยายตัวปรับลดลงเล็กน้อย แต่ยังอยู่ในระดับสูง เฉลี่ยต่อปี ร้อยละ 19.10
  • 13. ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ . ศ . 2554-2559 เป้าประสงค์ ( ต่อ ) 2. ส่งเสริมให้มีการใช้กล้วยไม้ไทยอย่างแพร่หลายมากขึ้นและเกิดประโยชน์ ต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศไทย 3. ส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมกล้วยไม้
  • 14. พันธกิจ 1. ผลักดันให้มีการส่งออกกล้วยไม้เพิ่มมากขึ้น 2. ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้ที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการส่งออก 3. ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดคลัสเตอร์กล้วยไม้ที่เข้มแข็ง 4. พัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางนวัตกรรมกล้วยไม้ ศูนย์กลาง ข้อมูลและตลาดข้อมูลกล้วยไม้ระดับโลก ( World Orchid Net) 5. ส่งเสริมให้มีการใช้กล้วยไม้มากขึ้นในการประดับตกแต่งทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ . ศ . 2554-2559
  • 15. ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ . ศ . 2554-2559 กลยุทธ์ 1 . เพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้านการตลาดส่งออก 2 . ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้คุณภาพ 3 . พัฒนาและสร้างสรรค์นวัตกรรม 4 . พัฒนาองค์กร 5. ส่งเสริมการใช้และสนับสนุนการส่งออก
  • 16. งบประมาณ รวม 305.239 ล้านบาท กลยุทธ์ งบประมาณ ( ล้านบาท ) รวม ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 1 . เพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้านการตลาดส่งออก 177.13 36.828 33.164 29.164 26.664 22.664 26.646 2 . ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้คุณภาพ 17.7 3.0 5.2 5.0 2.9 0.8 0.8 3 . พัฒนาและสร้างสรรค์นวัตกรรม 63.6 10.60 10.60 10.60 10.60 10.60 10.60 4 . พัฒนาองค์กร 41.219 8.644 6.737 6.265 6.812 6.506 6.255 5. ส่งเสริมการใช้และสนับสนุนการส่งออก - - - - - - - 6 . บริหารจัดการโครงการ 5.59 0.932 0.932 0.932 0.932 0.932 0.932
  • 17.
  • 18.
  • 19. สรุปแผนผังยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ . ศ . 2554-2559 เป้าประสงค์ : 1. เพิ่มมูลค่าการส่งออกกล้วยไม้ จาก 2 ,834.5 ล้านบาท ในปี 2551 เป็น 10 , 000 ล้านบาท ในปี 2559 2. ส่งเสริมให้มีการใช้กล้วยไม้ไทยอย่างแพร่หลายมากขึ้นและเกิดประโยชน์ต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศไทย 3. ส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมกล้วยไม้ 1. สร้างตลาดเชิงรุก 1.1 ขยายช่องทางการตลาด - ศึกษาวิเคราะห์ตลาดและแนวทางการขยายตลาด ในตลาดใหม่ - ศึกษาวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่มีต่อ การส่งออกในตลาดคู่ค้าเดิม - โครงการนำร่องจากผลการศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่มีต่อการส่งออกในตลาดคู่ค้าเดิม 1.2 รณรงค์ประชาสัมพันธ์กล้วยไม้ไทยทั้งในและ ต่างประเทศ 1.3 ส่งเสริมการส่งออกกล้วยไม้ที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน การส่งออกและตรวจสอบย้อนกลับได้ 2. พัฒนาระบบการบริหารจัดการในการส่งออกและโลจิสติกส์ - ศึกษาวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาและลดต้นทุนโลจิสติกส์ - โครงการนำร่องจากผลการศึกษาแก้ไขปัญหาและ ลดต้นทุนโลจิสติกส์ กลยุทธ์พัฒนาและสร้างสรรค์นวัตกรรม 1. ส่งเสริมงานวิจัยเชิงบูรณาการ ระหว่างเกษตรกร ผู้ประกอบการ และนักวิจัย 2. จัดประกวดนวัตกรรม 3. จัดงานนวัตกรรมกล้วยไม้ นานาชาติ กลยุทธ์พัฒนาองค์กร งบประมาณรวม : 305. 239 ล้านบาท 1. ส่งเสริมการสร้างคลัสเตอร์ กล้วยไม้ที่เข้มแข็ง 2. สร้างศูนย์กลางการให้บริการ กล้วยไม้แบบเบ็ดเสร็จ - จัดสร้างระบบเครือข่ายข้อมูล กล้วยไม้ระดับโลก ( World Orchid Net ) - จัดตั้งศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยี และฝึกอาชีพกล้วยไม้ - จัดตั้งศูนย์บริการด้านการตลาด กล้วยไม้ กลยุทธ์เพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้านการตลาดและการส่งออก วิสัยทัศน์ : เป็นผู้นำในการส่งออกกล้วยไม้ของโลก 1. ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้ให้มีความ หลากหลาย 2. ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้ที่มี คุณภาพตามมาตรฐานการส่งออก 15 กลยุทธ์ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้คุณภาพ กลยุทธ์ส่งเสริมการใช้และสนับสนุนการส่งออก 1. ส่งเสริมให้มีการใช้กล้วยไม้ภายในประเทศอย่างแพร่หลายเพื่อให้ประเทศไทยเป็น Land of Orchid 2. ให้หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องให้การสนับสนุนและผลักดันการใช้และการส่งออกกล้วยไม้ตามภารกิจและศักยภาพที่มีอยู่ 3. ให้ใช้กล้วยไม้เป็นหลักในการประดับตกแต่งสถานที่ ได้แก่ สนามบินนานาชาติ สวนสาธารณะ โรงแรม รีสอร์ท หน่วยงานราชการ เอกชน รวมทั้งการจัดงานพิธี การจัดประชุมสัมมนาต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
  • 20. Road Map ยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก พ . ศ . 2554-2559 Strategy Activity Output Input Outcome เพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้านการตลาดส่งออก พัฒนาองค์กร พัฒนาและสร้างสรรค์นวัตกรรม 1. เพิ่มมูลค่าการส่งออกกล้วยไม้ จาก 2 , 834.51 ล้านบาท ในปี 2551 เป็น 10 , 000 ล้านบาท ในปี 25 5 9 2. ส่งเสริมให้มีการใช้กล้วยไม้ไทยอย่างแพร่หลายมากขึ้น และเกิดประโยชน์ต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศไทย 3. ส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมกล้วยไม้ 1. การสร้างตลาดเชิงรุก 1.1 ขยายช่องทางการตลาด - ศึกษาวิเคราะห์ตลาดและแนวทางขยายตลาดในตลาดใหม่ - ศึกษาวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่มีต่อการส่งออกในตลาดคู่ค้าเดิม - โครงการนำร่องจากผลการศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่มีต่อการส่งออกในตลาดคู่ค้าเดิม 1.2 รณรงค์ประชาสัมพันธ์กล้วยไม้ไทยทั้งในและต่างประเทศ 1.3 ส่งเสริมการส่งออกกล้วยไม้ที่มีคุณภาพได้มาตรฐานการส่งออกและตรวจสอบย้อนกลับได้ 2. พัฒนาระบบการบริหารจัดการใน การส่งออกและโลจิสติกส์ 2.1 ศึกษาวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาและลดต้นทุนโลจิสติกส์ 2.2 โครงการนำร่องจากผลการศึกษาแก้ไขปัญหาและลดต้นทุนโลจิสติกส์ 2. จัดประกวดนวัตกรรม 1. ส่งเสริมงานวิจัยเชิง บูรณาการระหว่างเกษตรกร ผู้ประกอบการและนักวิจัย 2. สร้างศูนย์กลางการให้บริการกล้วยไม้แบบเบ็ดเสร็จ 2.1 จัดสร้างระบบเครือข่ายข้อมูลกล้วยไม้ระดับโลก ( World Orchid Net ) 2.2 จัดตั้งศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีและฝึกอาชีพกล้วยไม้ 2.3 จัดตั้งศูนย์บริการด้านการตลาดกล้วยไม้ 1. ส่งเสริมการสร้าง คลัสเตอร์กล้วยไม้ที่ เข้มแข็ง 3. จัดงานนวัตกรรมกล้วยไม้นานาชาติ 1. สามารถรักษาตลาดคู่ค้าเดิม 2. ขยายการส่งออกสู่ ตลาดใหม่ 3. ส่งออกกล้วยไม้ที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐานตรวจสอบย้อนกลับได้ 4. มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น 3 0 % ( 500 ล้านบาทต่อปี ) 1. สินค้ากล้วยไม้มีความหลากหลาย 2. สวนกล้วยไม้และโรงงานได้รับ GAP และ GMP 3. มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น 20 % (333.3 ล้านบาทต่อปี ) 16 ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้คุณภาพ 2. ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการส่งออก 1. ส่งเสริมการผลิตกล้วยไม้ให้มีความหลากหลาย 1. มีคลัสเตอร์ที่เข้มแข็ง 2. ผู้เกี่ยวข้องได้พัฒนาความรู้ 3. มีศูนย์ให้บริการข้อมูลการผลิตการตลาด 4. มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น 20 % (333.3 ล้านบาทต่อปี ) 1. มีนวัตกรรมเกิดมากขึ้น 2. มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น 20 % (333.3 ล้านบาทต่อปี ) 177.13 ล้านบาท 41.219 ล้านบาท 63.6 ล้านบาท 17.7 ล้านบาท ส่งเสริมการใช้และสนับสนุนการส่งออก ไม่ใช้งบประมาณ 1. ส่งเสริมการใช้ภายในประเทศอย่างแพร่หลาย ( Land of Orchid) 2. ทุกหน่วยงานให้การสนับสนุนและผลักดันการใช้และส่งออกตามภารกิจและศักยภาพ 3. ใช้กล้วยไม้ที่มีคุณภาพเป็นหลักในการประดับตกแต่งสถานที่ เช่น สนามบินนานาชาติ สวนสาธารณะ งานพิธีต่าง ๆ 1. มีการใช้กล้วยไม้ในประเทศ เพิ่มขึ้น 2. ส่งเสริมภาพลักษณ์การเป็นดินแดน แห่งกล้วยไม้ 3. มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น 1 0 % ( 166.7 ล้านบาทต่อปี )
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24. ปัญหา แนวทางแก้ไข หน่วยงานเจ้าภาพหลัก งบประมาณ ( บาท ) กรอบระยะเวลา ด้านการผลิต ( กรมส่งเสริมการเกษตร เป็นหน่วยงานประสานงาน ) ๑ . คุณภาพกล้วยไม้ ไม่สม่ำเสมอ และไม่ได้มาตรฐาน - ส่งเสริมการจัดทำสวน GAP เพื่อให้ได้ มาตรฐานตามระบบ GAP สำหรับกล้วยไม้ตัดดอก และมาตรฐานช่อดอกกล้วยไม้ กสก . ๔๕๑ , ๐๐๐ มี . ค . – ก . ย . ๕๔ กวก . ๒๕๐ , ๐๐๐ มี . ค . – ก . ย . ๕๔ มกอช . ๑ , ๘๐๐ , ๐๐๐ พ . ค . ๕๓ – ก . ค . ๕๔ - รณรงค์การให้ความรู้แก่ผู้บริโภคให้ใช้ประโยชน์จากกล้วยไม้ที่มีคุณภาพ กสก . มี . ค . – ก . ย . ๕๔
  • 25. ปัญหา แนวทางแก้ไข หน่วยงานเจ้าภาพหลัก งบประมาณ ( บาท ) กรอบระยะเวลา ๒ . โรคแมลง เพลี้ยไฟ และบั่วกล้วยไม้ ( ไอ้ฮวบ ) ระบาดในสวนกล้วยไม้ - วิจัยความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในเพลี้ยไฟและกลไกความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในเพลี้ยไฟ กวก . ๓๒๐ , ๐๐๐ เริ่มปี ๒๕๕๔ - วิจัยช่วงเวลาที่เหมาะสมในการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟฝ้าย กวก . ๑๒๐ , ๐๐๐ เริ่มปี ๒๕๕๔ ๓ . ขาดพันธุ์ใหม่ / ความต้องการพันธุ์ใหม่ วิจัยการปรับปรุงพันธุ์กล้วยไม้หวาย แวนดา กวก . ๕๑๐ , ๐๐๐ เริ่มปี ๒๕๕๔
  • 26. ปัญหา แนวทางแก้ไข หน่วยงานเจ้าภาพหลัก งบประมาณ ( บาท ) กรอบระยะเวลา ๓ . ขาดพันธุ์ใหม่ / ความต้องการพันธุ์ใหม่ ( ต่อ ) - วิจัยและพัฒนาพันธุ์ กล้วยไม้ไทยที่มีศักยภาพทางการค้าสกุลอื่นๆ ( จำนวน ๖ สกุล ) กวก . ๑ , ๙๒๗ , ๓๑๔ เริ่มปี ๒๕๕๔ - วิจัยการอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมกล้วยไม้ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ กวก . ๑ , ๔๗๒ , ๐๐๐ เริ่มปี ๒๕๕๔ - สนับสนุนการจัดตั้งกลุ่มพัฒนาพันธุ์ ( ๗ กลุ่ม x ๒๐ ราย ) กสก . ๑๑๒ , ๐๐๐ มี . ค . – ก . ย . ๕๔ กวก .
  • 27. ปัญหา แนวทางแก้ไข หน่วยงานเจ้าภาพหลัก งบประมาณ ( บาท ) กรอบระยะเวลา ๓ . ขาดพันธุ์ใหม่ / ความต้องการพันธุ์ใหม่ ( ต่อ ) - จัดประกวดกล้วยไม้พันธุ์ใหม่ กสก . ก . ค . ๕๔ อตก . ๔ . ขาดการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว ที่มีประสิทธิภาพ - วิจัยการจัดการคุณภาพกล้วยไม้สกุลหวายเพื่อการส่งออก : เพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว กวก . ๓๔๐ , ๐๐๐ เริ่มปี ๒๕๕๔
  • 28. ปัญหา แนวทางแก้ไข หน่วยงานเจ้าภาพหลัก งบประมาณ ( บาท ) กรอบระยะเวลา ๕ . ขาดแคลนแรงงาน ให้มีการจดทะเบียนแรงงานต่างด้าวเพิ่มขึ้น ( อยู่ระหว่างการรวบรวมข้อมูลนำเสนอคณะกรรมการบริหาร แรงงานต่างด้าว ) กระทรวงแรงงาน เริ่มปี ๒๕๕๔ รวมงบประมาณด้านการผลิต ๗ , ๓๐๒ , ๓๑๔
  • 29. ปัญหา แนวทางแก้ไข หน่วยงานเจ้าภาพหลัก งบประมาณ ( บาท ) กรอบระยะเวลา ด้านการตลาด / ส่งออก ( กรมส่งเสริมการส่งออก เป็นหน่วยงานประสานงาน ) ๑ . ตลาดคู่ค้าเดิมมีการขยายตัวน้อย - ศึกษาวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่มีต่อการส่งออกในตลาดคู่ค้าเดิม ( เช่น ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน อิตาลี เนเธอร์แลนด์ ) สอ . มี . ค . – ก . ย . ๕๔
  • 30. ปัญหา แนวทางแก้ไข หน่วยงานเจ้าภาพหลัก งบประมาณ ( บาท ) กรอบระยะเวลา ๒ . ขาดการขยายตลาดใหม่ - เข้าร่วมงานแสดงสินค้า IPM ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สอ . 3 ,269,300 กันยายน 2554 - เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ และศึกษาวิเคราะห์ตลาดและแนวทางการขยายตลาดใหม่ ( เช่น ไต้หวัน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อิหร่าน แคนาดา สอ . มี . ค . – ก . ย . ๕๔
  • 31. ปัญหา แนวทางแก้ไข หน่วยงานเจ้าภาพหลัก งบประมาณ ( บาท ) กรอบระยะเวลา ๒ . ขาดการขยายตลาดใหม่ ( ต่อ ) - จัดแสดงศักยภาพกล้วยไม้ไทยในการแสดงกล้วยไม้ระดับนานาชาติ : งาน Taipei International Flora Expo ประเทศไต้หวัน : งาน International Flower Expo (IFEX 2010) ณ ประเทศญี่ปุ่น กสก . 1, ๓ 00 , 000 500 ,000 พ . ย . 53 – เม . ย . 54 ต . ค . 2554
  • 32. ปัญหา แนวทางแก้ไข หน่วยงานเจ้าภาพหลัก งบประมาณ ( บาท ) กรอบระยะเวลา ๓ . ข้อจำกัดด้านการขนส่ง ระวางไม่เพียงพอในบางช่วง และต้นทุนการขนส่งสูง - การพัฒนาระบบการบริหารจัดการในการส่งออกและโลจิสติกส์ ** ข้อชี้แจงท้ายตาราง สศก . ๔ . ไม่มีตลาดกลาง - การศึกษาความเป็น ไปได้โครงการจัดตั้งศูนย์กลางกล้วยไม้แบบครบวงจร สศก . ( กสส ./ กสก .) ปี 2554 ๕ . บรรจุภัณฑ์ยังไม่ ได้มาตรฐาน จัดประกวดบรรจุภัณฑ์ สอ . ปี 2554 รวมงบประมาณด้านการตลาด / ส่งออก 5 , ๐ 69 , 300
  • 33. มูลค่าการส่งออกไม้ดอกไม้ประดับของไทย ปี 2553 รวม 3,569 ล้านบาท (-0.1 %) ( ที่มา : กรมศุลกากร ) สัดส่วน (%) รายการ มูลค่า ปริมาณ ( ล้านบาท ) %  หน่วย %  64.6 ดอกกล้วยไม้ 2,305.2 - 2.6 25,269.8 ตัน 2.72 11.8 ต้นกล้วยไม้ 422.4 13.5 30.0 ล้านหน่วย - 2.95 10.0 ต้นไม้อื่น ๆ 357.0 - 20.3 24.5 ล้านหน่วย - 14.87 7.1 ดอกไม้แห้ง 252.0 24.9 2,263.3 ตัน 1.59 1.9 ใบไม้กิ่งไม้แห้ง 67.6 - 1.5 2,107.5 ตัน 9.66 1.3 ใบไม้กิ่งไม้สด 47.2 59.7 993.7 ตัน 26.46 0.9 หัว 31.9 8.1 3.5 ล้านหน่วย 2.83 0.8 ดอกไม้สดอื่น ๆ 27.0 - 7.7 635.4 ตัน 19.87 1.6 เมล็ดดอกไม้ 58.5 118.7 52.7 ตัน 9.24
  • 34. ที่มา : กรมศุลกากร ผ่าน สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
  • 35. ข้อมูล : กรมวิชาการเกษตร ( อัตราแปลง 33 ช่อ = 1 กก .) W=2 4-10 ม . ค . 98.7 T W=11 8-14 มี . ค . 86.0 T W=18 26 เม . ย . – 2 พ . ค . 84.0 T W=32 1-7 ส . ค . 116.9 T W=38 12-18 ก . ย . 117.9 T W=52 19-25 ธ . ค . 151.7 T
  • 36. ข้อมูล : กรมวิชาการเกษตร ( อัตราแปลง 33 ช่อ = 1 กก .) W=6 1-7 ก . พ . 39.3 T W=18 26 เม . ย . – 2 พ . ค . 41.5 T
  • 37. ข้อมูล : กรมวิชาการเกษตร ( อัตราแปลง 33 ช่อ = 1 กก .) W=44 24-30 ต . ค . 163.9 T