SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2555
บทที่ 2
หลักการทางานและส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
เรียบเรียงโดย ผศ. พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์
วิทยาลัยเพาะช่าง มทร.รัตนโกสินทร์
Pipit.s@rmutr.ac.th
เนื้อหาในหน่วยนี้ จะประกอบด้วย
1) หลักการทางานของกล้องถ่ายภาพ
2) ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
3) เลนส์ถ่ายภาพ
4) อุปกรณ์เสริม (Camera accessories) และการบารุงรักษากล้อง
ถ่ายภาพ
1. หลักการทางานของกล้องถ่ายภาพ
หลักการบันทึกภาพของกล้อง อาศัยหลักการเดียวกันกับการมองเห็นของนัยน์ตามนุษย์
นั่นคือ การรับภาพจากแสงที่สะท้อนวัตถุมายังตาเรา และแสงที่ว่านี้หมายรวมถึงแสงจากธรรมชาติ
และจากไฟประดิษฐ์ทั้งหลายทั้งมวล
ตอนกลางวันแสงหลักที่เราใช้ในการถ่ายภาพ คือ แสงจากดวงอาทิตย์ ยกเว้นการถ่ายภาพ
ใน อาคารที่อาศัยแสงจากหลอดไฟ ส่วนตอนกลางคืนแสงหลักส่วนใหญ่จะเป็นแสงจากหลอดไฟฟ้า
ต่างๆ
แสงสว่างจากแหล่งกาเนิดแสงต่างๆ ที่เราเห็นเป็นแสงสีขาว เกิดจากการรวมตัวของแสงสี
ต่างๆ หรือที่เรียกว่า "สเปคตรัม" ของแสง เราพิสูจน์เรื่องนี้ได้โดยใช้แท่งแก้วปริซึมใส (Prism) มา
ช่วยทาการหักเหแสง เพื่อให้เห็นปรากฏการณ์ที่ว่านี้ โดยใช้ไฟฉายส่องผ่านปริซึม เมื่อแสงส่องผ่าน
ออกมาอีกด้านของปริซึม เราจะเห็นเป็นสีต่างๆ คล้ายกับสีของรุ้งกินน้าตอนฝนตก
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 2
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
(ที่มา : http://www.zmos.net/howto/87-basic-photography/141-basic-photography)
สีสันของวัตถุต่างๆ ที่เราเห็นอธิบายได้จากปรากฏการณ์ที่ว่านี้ วัตถุแต่ละชนิดมีคุณสมบัติ
การดูดซับและสะท้อนแสงสีที่ต่างกัน เช่นวัตถุที่เราเห็นเป็นสีแดง หมายถึงวัตถุนั้นสามารถดูดซับแสง
สีอื่นไว้ได้ยกเว้นแสงสีแดง จึงสะท้อนออกมาทาให้เรามองเห็นวัตถุนั้นเป็นสีแดง วัตถุสีขาวก็คือวัตถุที่
มีคุณสมบัติสะท้อนแสงได้ดี จึงสะท้อนแสงสีต่างๆ ออกมาเกือบทั้งหมด เราจึงเห็นวัตถุนั้นเป็นสีขาว
ตรงกันข้ามวัตถุบางอย่างสามารถดูดซับแสงสีต่างๆ ได้เกือบทั้งหมด และแทบจะไม่สะท้อนแสงสีใดๆ
ออกมาเลย เราก็จะมองเห็นวัตถุนั้นเป็นสีดา นั่นเป็นเหตุผลว่าทาไมเราจึงได้รับคาแนะนาว่าไม่ควรใส่
เสื้อผ้าสีดาออกแดดใน ตอนกลางวัน ก็เพราะมันไม่มีคุณสมบัติในการสะท้อนแสงเลย มันจึงเก็บรับ
เอาความร้อนจากแสงไว้ และทาให้เรารู้สึกร้อนมากขึ้นนั่นเอง (www.zmos.net.2551)
(ที่มา : http://www.zmos.net/howto/87-basic-photography/141-basic-photography)
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 3
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
กลไกและการทางานของกล้อง DSLR (Digital Single-Lens Reflect)
การทางานของกล้องถ่ายภาพก็อาศัยหลักการนี้เช่นเดียวกัน นั่นคือเมื่อแสงส่องกระทบวัตถุ
สะท้อนมายังกล้อง เลนส์ของกล้องซึ่งทาหน้าที่แทนเลนส์ตาของมนุษย์ จะทาหน้าที่รวมแสงและ
ส่งผ่านไปยังเซนเซอร์รับภาพ โดยมีกลีบม่านหรือไดอะแฟรมในตัวเลนส์ทาหน้าที่หรี่หรือขยายออก
เพื่อควบคุมปริมาณแสงที่จะส่งผ่านไปยังเซนเซอร์รับภาพ คล้ายกับม่านตาของมนุษย์ เราเรียกขนาด
ของไดอะแฟรมนี้ว่า "รูรับแสง (Aperture)" นอกจากนี้ยังมีม่านชัตเตอร์ในตัวกล้องคอยคุมเวลาเปิด-
ปิดการรับแสงเช่นเดียว กับเปลือกตาของคนเรา เราเรียกช่วงเวลาการเปิด-ปิดของม่านชัตเตอร์ว่า
"ความเร็วชัตเตอร์ (Shutter Speed)"
เมื่อแสงส่องผ่านรูรับแสงและม่านชัตเตอร์ไปยังเซนเซอร์รับภาพ แสงสีต่างๆจะถูกแปลงให้
เป็นสัญญาณไฟฟ้าและเปลี่ยนเป็นสัญญาณภาพในรหัสดิจิตอล เพื่อส่งผ่านไปเก็บบันทึกไว้ในเมโมรี่
การ์ดต่อไป
สาหรับ กล้องประเภท DSLR จะแตกต่างจากกล้องคอมแพคทั่วไป กล้องคอมแพคขนาด
เล็กออกแบบให้สามารถมองเห็นภาพจากจอ LCD ได้โดยตรง ส่วนกล้อง DSLR จะใช้การมองภาพ
จากช่องมอง (Viewfinder) เป็นหลัก โดยอาศัยกระจกสะท้อนภาพซึ่งอยู่หน้าม่านชัตเตอร์ วางเฉียง
สะท้อนภาพขึ้นด้านบนเพื่อส่งภาพมายังช่องมอง
ดังนั้น จะเห็นว่าแสงคือปัจจัยหลักที่ทาให้เราสามารถมองเห็นสิ่งต่างๆ และทาให้เรา
สามารถบันทึกภาพได้ ปริมาณแสงจึงมีส่วนสาคัญอย่างยิ่งต่อกระบวนการทั้งหมด สายตาของมนุษย์
สามารถควบคุมปริมาณแสงได้ด้วยการสั่งงานของระบบสมองและประสาท ตา ในสภาพแสงที่เจิดจ้า
ม่านตาเราจะหรี่ลงโดยอัตโนมัติเพื่อลดปริมาณแสงให้พอเหมาะต่อการเห็นภาพ แต่ถ้าหากปริมาณ
แสงมีมากเกินจนอาจเป็นอันตรายต่อนัยน์ตาได้ สมองก็จะสั่งให้เราหลับตาลงทันที ตรงกันข้ามเมื่ออยู่
ในที่แสงน้อยหรือในตอนกลางคืน ม่านตาเราจะขยายเพื่อเปิดรับแสงให้มากที่สุดเพื่อให้เราสามารถ
มองเห็นแม้แต่ในที่ที่มีแสงน้อยมากในตอนกลางคืน กลไกทั้งหมดเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติจากการสั่งงาน
ของสมอง
ในการถ่ายภาพถึงแม้ว่ากล้องจะไม่มีสมองสั่งการเช่นเดียวกับคนเรา แต่บรรดาผู้ผลิตต่างก็
พยายามคิดค้นสมองกลเพื่อช่วยในการควบคุมการเปิดรับแสง ของกล้องให้รองรับการใช้งานในทุก
สภาวะแสงได้อย่างเหมาะสม กล้องในปัจจุบันมีระบบคานวณค่าแสงอัจฉริยะที่ทางานได้อย่างยอด
เยี่ยม พร้อมระบบควบคุมการเปิดรับแสงอัตโนมัติที่มีให้เลือกใช้มากมาย เพื่อให้ได้ผลของภาพที่
สมบูรณ์แบบ
บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 4
การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554
เอกสารอ้างอิง : หลักการทางานของกล้องถ่ายภาพ
หน่วยรังสีรักษา คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. มปพ. ส่วนประกอบของกล้อง
ถ่ายภาพ. [ออนไลน์]. รายละเอียดทางการพิมพ์ (ถ้ามี). เข้าถึงได้จาก :
http://medinfo.psu.ac.th/radiology/rt/camera/content2.html. (วันที่ค้นข้อมูล :
15 มิถุนายน 2555).
www.zmos.net. 4 ต.ค. 2551. หลักการทางานของกล้องถ่ายภาพ. [ออนไลน์]. รายละเอียด
ทางการพิมพ์ (ถ้ามี). เข้าถึงได้จาก : http://www.zmos.net/howto/87-basic-
photography/141-basic-photography. (วันที่ค้นข้อมูล / : 8 พ.ค. 2555).

More Related Content

More from Pipit Sitthisak

การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพการใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพPipit Sitthisak
 
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์Pipit Sitthisak
 
1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์Pipit Sitthisak
 
การเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressการเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressPipit Sitthisak
 
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อกPipit Sitthisak
 
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันการใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันPipit Sitthisak
 
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshareการสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slidesharePipit Sitthisak
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2Pipit Sitthisak
 
Unit 3 1 basic to television pdf
Unit 3 1  basic to television pdfUnit 3 1  basic to television pdf
Unit 3 1 basic to television pdfPipit Sitthisak
 
Unit 3 2 basic to video-pdf
Unit 3 2  basic to video-pdfUnit 3 2  basic to video-pdf
Unit 3 2 basic to video-pdfPipit Sitthisak
 
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554Pipit Sitthisak
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพPipit Sitthisak
 
Project 2 final project -p3
Project 2  final project -p3Project 2  final project -p3
Project 2 final project -p3Pipit Sitthisak
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพPipit Sitthisak
 
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdfChapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdfPipit Sitthisak
 
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdf
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdfChapter7 5-pr5-mac-title-pdf
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdfPipit Sitthisak
 
Chapter7 3-pr5-mac-transition
Chapter7 3-pr5-mac-transitionChapter7 3-pr5-mac-transition
Chapter7 3-pr5-mac-transitionPipit Sitthisak
 
Chapter7 2-pr5-mac-capturing-importing
Chapter7 2-pr5-mac-capturing-importingChapter7 2-pr5-mac-capturing-importing
Chapter7 2-pr5-mac-capturing-importingPipit Sitthisak
 
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdfChapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdfPipit Sitthisak
 
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5Pipit Sitthisak
 

More from Pipit Sitthisak (20)

การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพการใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
 
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
 
1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์
 
การเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressการเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpress
 
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
 
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันการใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
 
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshareการสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
 
Unit 3 1 basic to television pdf
Unit 3 1  basic to television pdfUnit 3 1  basic to television pdf
Unit 3 1 basic to television pdf
 
Unit 3 2 basic to video-pdf
Unit 3 2  basic to video-pdfUnit 3 2  basic to video-pdf
Unit 3 2 basic to video-pdf
 
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
 
Project 2 final project -p3
Project 2  final project -p3Project 2  final project -p3
Project 2 final project -p3
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
 
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdfChapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
 
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdf
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdfChapter7 5-pr5-mac-title-pdf
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdf
 
Chapter7 3-pr5-mac-transition
Chapter7 3-pr5-mac-transitionChapter7 3-pr5-mac-transition
Chapter7 3-pr5-mac-transition
 
Chapter7 2-pr5-mac-capturing-importing
Chapter7 2-pr5-mac-capturing-importingChapter7 2-pr5-mac-capturing-importing
Chapter7 2-pr5-mac-capturing-importing
 
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdfChapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf
 
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5
 

Part 2.1 หลักการทำงานและส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ

  • 1. การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2555 บทที่ 2 หลักการทางานและส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ เรียบเรียงโดย ผศ. พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ วิทยาลัยเพาะช่าง มทร.รัตนโกสินทร์ Pipit.s@rmutr.ac.th เนื้อหาในหน่วยนี้ จะประกอบด้วย 1) หลักการทางานของกล้องถ่ายภาพ 2) ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ 3) เลนส์ถ่ายภาพ 4) อุปกรณ์เสริม (Camera accessories) และการบารุงรักษากล้อง ถ่ายภาพ 1. หลักการทางานของกล้องถ่ายภาพ หลักการบันทึกภาพของกล้อง อาศัยหลักการเดียวกันกับการมองเห็นของนัยน์ตามนุษย์ นั่นคือ การรับภาพจากแสงที่สะท้อนวัตถุมายังตาเรา และแสงที่ว่านี้หมายรวมถึงแสงจากธรรมชาติ และจากไฟประดิษฐ์ทั้งหลายทั้งมวล ตอนกลางวันแสงหลักที่เราใช้ในการถ่ายภาพ คือ แสงจากดวงอาทิตย์ ยกเว้นการถ่ายภาพ ใน อาคารที่อาศัยแสงจากหลอดไฟ ส่วนตอนกลางคืนแสงหลักส่วนใหญ่จะเป็นแสงจากหลอดไฟฟ้า ต่างๆ แสงสว่างจากแหล่งกาเนิดแสงต่างๆ ที่เราเห็นเป็นแสงสีขาว เกิดจากการรวมตัวของแสงสี ต่างๆ หรือที่เรียกว่า "สเปคตรัม" ของแสง เราพิสูจน์เรื่องนี้ได้โดยใช้แท่งแก้วปริซึมใส (Prism) มา ช่วยทาการหักเหแสง เพื่อให้เห็นปรากฏการณ์ที่ว่านี้ โดยใช้ไฟฉายส่องผ่านปริซึม เมื่อแสงส่องผ่าน ออกมาอีกด้านของปริซึม เราจะเห็นเป็นสีต่างๆ คล้ายกับสีของรุ้งกินน้าตอนฝนตก
  • 2. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 2 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 (ที่มา : http://www.zmos.net/howto/87-basic-photography/141-basic-photography) สีสันของวัตถุต่างๆ ที่เราเห็นอธิบายได้จากปรากฏการณ์ที่ว่านี้ วัตถุแต่ละชนิดมีคุณสมบัติ การดูดซับและสะท้อนแสงสีที่ต่างกัน เช่นวัตถุที่เราเห็นเป็นสีแดง หมายถึงวัตถุนั้นสามารถดูดซับแสง สีอื่นไว้ได้ยกเว้นแสงสีแดง จึงสะท้อนออกมาทาให้เรามองเห็นวัตถุนั้นเป็นสีแดง วัตถุสีขาวก็คือวัตถุที่ มีคุณสมบัติสะท้อนแสงได้ดี จึงสะท้อนแสงสีต่างๆ ออกมาเกือบทั้งหมด เราจึงเห็นวัตถุนั้นเป็นสีขาว ตรงกันข้ามวัตถุบางอย่างสามารถดูดซับแสงสีต่างๆ ได้เกือบทั้งหมด และแทบจะไม่สะท้อนแสงสีใดๆ ออกมาเลย เราก็จะมองเห็นวัตถุนั้นเป็นสีดา นั่นเป็นเหตุผลว่าทาไมเราจึงได้รับคาแนะนาว่าไม่ควรใส่ เสื้อผ้าสีดาออกแดดใน ตอนกลางวัน ก็เพราะมันไม่มีคุณสมบัติในการสะท้อนแสงเลย มันจึงเก็บรับ เอาความร้อนจากแสงไว้ และทาให้เรารู้สึกร้อนมากขึ้นนั่นเอง (www.zmos.net.2551) (ที่มา : http://www.zmos.net/howto/87-basic-photography/141-basic-photography)
  • 3. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 3 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 กลไกและการทางานของกล้อง DSLR (Digital Single-Lens Reflect) การทางานของกล้องถ่ายภาพก็อาศัยหลักการนี้เช่นเดียวกัน นั่นคือเมื่อแสงส่องกระทบวัตถุ สะท้อนมายังกล้อง เลนส์ของกล้องซึ่งทาหน้าที่แทนเลนส์ตาของมนุษย์ จะทาหน้าที่รวมแสงและ ส่งผ่านไปยังเซนเซอร์รับภาพ โดยมีกลีบม่านหรือไดอะแฟรมในตัวเลนส์ทาหน้าที่หรี่หรือขยายออก เพื่อควบคุมปริมาณแสงที่จะส่งผ่านไปยังเซนเซอร์รับภาพ คล้ายกับม่านตาของมนุษย์ เราเรียกขนาด ของไดอะแฟรมนี้ว่า "รูรับแสง (Aperture)" นอกจากนี้ยังมีม่านชัตเตอร์ในตัวกล้องคอยคุมเวลาเปิด- ปิดการรับแสงเช่นเดียว กับเปลือกตาของคนเรา เราเรียกช่วงเวลาการเปิด-ปิดของม่านชัตเตอร์ว่า "ความเร็วชัตเตอร์ (Shutter Speed)" เมื่อแสงส่องผ่านรูรับแสงและม่านชัตเตอร์ไปยังเซนเซอร์รับภาพ แสงสีต่างๆจะถูกแปลงให้ เป็นสัญญาณไฟฟ้าและเปลี่ยนเป็นสัญญาณภาพในรหัสดิจิตอล เพื่อส่งผ่านไปเก็บบันทึกไว้ในเมโมรี่ การ์ดต่อไป สาหรับ กล้องประเภท DSLR จะแตกต่างจากกล้องคอมแพคทั่วไป กล้องคอมแพคขนาด เล็กออกแบบให้สามารถมองเห็นภาพจากจอ LCD ได้โดยตรง ส่วนกล้อง DSLR จะใช้การมองภาพ จากช่องมอง (Viewfinder) เป็นหลัก โดยอาศัยกระจกสะท้อนภาพซึ่งอยู่หน้าม่านชัตเตอร์ วางเฉียง สะท้อนภาพขึ้นด้านบนเพื่อส่งภาพมายังช่องมอง ดังนั้น จะเห็นว่าแสงคือปัจจัยหลักที่ทาให้เราสามารถมองเห็นสิ่งต่างๆ และทาให้เรา สามารถบันทึกภาพได้ ปริมาณแสงจึงมีส่วนสาคัญอย่างยิ่งต่อกระบวนการทั้งหมด สายตาของมนุษย์ สามารถควบคุมปริมาณแสงได้ด้วยการสั่งงานของระบบสมองและประสาท ตา ในสภาพแสงที่เจิดจ้า ม่านตาเราจะหรี่ลงโดยอัตโนมัติเพื่อลดปริมาณแสงให้พอเหมาะต่อการเห็นภาพ แต่ถ้าหากปริมาณ แสงมีมากเกินจนอาจเป็นอันตรายต่อนัยน์ตาได้ สมองก็จะสั่งให้เราหลับตาลงทันที ตรงกันข้ามเมื่ออยู่ ในที่แสงน้อยหรือในตอนกลางคืน ม่านตาเราจะขยายเพื่อเปิดรับแสงให้มากที่สุดเพื่อให้เราสามารถ มองเห็นแม้แต่ในที่ที่มีแสงน้อยมากในตอนกลางคืน กลไกทั้งหมดเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติจากการสั่งงาน ของสมอง ในการถ่ายภาพถึงแม้ว่ากล้องจะไม่มีสมองสั่งการเช่นเดียวกับคนเรา แต่บรรดาผู้ผลิตต่างก็ พยายามคิดค้นสมองกลเพื่อช่วยในการควบคุมการเปิดรับแสง ของกล้องให้รองรับการใช้งานในทุก สภาวะแสงได้อย่างเหมาะสม กล้องในปัจจุบันมีระบบคานวณค่าแสงอัจฉริยะที่ทางานได้อย่างยอด เยี่ยม พร้อมระบบควบคุมการเปิดรับแสงอัตโนมัติที่มีให้เลือกใช้มากมาย เพื่อให้ได้ผลของภาพที่ สมบูรณ์แบบ
  • 4. บ ท ที่ 2 ห ลั ก ก า ร ทา ง า น แ ล ะ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ อ ง ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า | 4 การถ่ายภาพเพื่องานออกแบบนิเทศศิลป์ | พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะช่าง | Last update : 18 พ.ค. 2554 เอกสารอ้างอิง : หลักการทางานของกล้องถ่ายภาพ หน่วยรังสีรักษา คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. มปพ. ส่วนประกอบของกล้อง ถ่ายภาพ. [ออนไลน์]. รายละเอียดทางการพิมพ์ (ถ้ามี). เข้าถึงได้จาก : http://medinfo.psu.ac.th/radiology/rt/camera/content2.html. (วันที่ค้นข้อมูล : 15 มิถุนายน 2555). www.zmos.net. 4 ต.ค. 2551. หลักการทางานของกล้องถ่ายภาพ. [ออนไลน์]. รายละเอียด ทางการพิมพ์ (ถ้ามี). เข้าถึงได้จาก : http://www.zmos.net/howto/87-basic- photography/141-basic-photography. (วันที่ค้นข้อมูล / : 8 พ.ค. 2555).