SlideShare a Scribd company logo
1 of 75
เอกสารประกอบการเร ี ย น
        กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
 รายวิชาประวัติศาสตร รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๓ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑


                           หนวยที่ ๓ เรื่อง




นางภัทรานิษฐ อิ่มศิล
ตำแหนง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ
                                   โรงเรียนวังบอวิทยา
                สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒
    สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ก



                                            คำนำ
              ในปจจุบันสภาพการจัดการเรียนการสอน มุงเนนให
ผูเรียนไดศึกษาหาความรูดวยตนเองใหมากที่สุด เพื่อใหผูเรียน
มีนิสัย ใฝเรียน ใฝรู อยูเสมอ ดังนั้นการจัดทำเอกสารประกอบ
การเรียน เปนแนวทางหนึ่งที่สงเสริมใหผูเรียนคนควาหาคำตอบ
ดวยตนเอง
              เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาประวัติศาสตร
ส ๒๑๑๐๓ เรื่อง สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย ประกอบดวย
หัวขอเรื่อง ความนำ สาระสำคัญ จุดประสงคการเรียนรู แบบทดสอบ
กอนเรียน เนื้อหา กิจกรรม แบบฝก และแบบทดสอบหลังเรียน
พรอมเฉลย ซึ่งจะทำใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดวยตนเองและมี
ความเขาใจในเนื้อหาสาระไดเปนอยางดี อีกทั้งทำใหผูเรียนสะดวก
ต อ การศึ ก ษาหาความรู ไ ด ด ว ยตนเอง จึ ง นั บ ได ว า เป น เอกสาร
ประกอบการเรียนที่มีประโยชนตอการเรียนการสอนเปนอยางยิ่ง
              ขอขอบคุณเจาของตำราที่นำมาอางอิงไวในเอกสาร
และนายเชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ ศึกษานิเทศกเชี่ยวชาญ สำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒ ที่ใหคำปรึกษาจนเอกสาร
ฉบับนี้มีความชัดเจนและสมบูรณยิ่งขึ้น


                                ภัทรานิษฐ อิ่มศิล
ข

                                    สารบัญ
เรื่อง                                                        หนา
หนา
คำนำ                                                            ก
สารบัญ                                                          ข
คำชี้แจง                                                        ค
หนวยที่ ๓ สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย                           ๑
            แบบทดสอบกอนเรียน                                   ๒
            เฉลยคำตอบแบบทดสอบกอนเรียน                          ๕
         ตอนที่ ๑ เรื่องราวสมัยกอนประวัติศาสตรในดินแดนไทย      ๖
            กิจกรรมที่ ๑                                        ๒๐
            แนวตอบกิจกรรมที่ ๑                                  ๒๑
            กิจกรรมที่ ๒                                        ๒๒
            แนวตอบกิจกรรมที่ ๒                                  ๒๓
            กิจกรรมที่ ๓                                        ๒๔
            แนวตอบกิจกรรมที่ ๓                                  ๒๕
         ตอนที่ ๒ พัฒนาการจากชุมชนมาสูรัฐโบราณ                 ๒๖
            กิจกรรมที่ ๔                                        ๓๒
            แนวตอบกิจกรรมที่ ๔                                  ๓๓
         ตอนที่ ๓ รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย                 ๓๔
            กิจกรรมที่ ๕                                       ๖๑
            แนวตอบกิจกรรมที่ ๕                                 ๖๒
            กิจกรรมที่ ๖                                       ๖๓
            แนวตอบกิจกรรมที่ ๖                                 ๖๔
            กิจกรรมที่ ๗                                       ๖๕
            แนวตอบกิจกรรมที่ ๗                                 ๖๖
            แบบทดสอบหลังเรียน                                  ๖๗
            เฉลยคำตอบแบบทดสอบหลังเรียน                         ๗๐
บรรณนุกรม                                                      ๗๑
ค




                คำชี้แจงสำหรับนักเรียน
             เอกสารประกอบการเรียนเลมนี้ นักเรียนสามารถศึกษา
และเรียนรูไดดวยตนเอง กอนที่จะศึกษาและเรียนรูใหนักเรียนอาน
คำชี้แจง ดังนี้
๑. ศึกษา หัวขอเรื่อง ความนำ สาระสำคัญ จุดประสงคการเรียนรู
      เพื่อใหทราบวา เมื่อจบบทเรียน นักเรียนสามารถเรียนรูอะไร
      ไดบาง
๒. ทำแบบทดสอบกอนเรียน จำนวน ๒๐ ขอแลวตรวจคำตอบ
      จากเฉลย
๓. ศึกษาเนื้อหา สาระ รายละเอียดในตอนที่ ๑ ถึงตอนที่ ๓
๔. ทำกิจกรรมตามที่กำหนดใหดวยตนเอง ถาทำไมได หรือสงสัย
      ใหอานทบทวนเนื้อเรื่องใหม แลวตรวจคำตอบจากเฉลย
๕. ทำแบบทดสอบหลังเรียน แลวตรวจคำตอบจากเฉลย
หนวยที่
    สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย
                                                                                    ๓
                                                                       สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย




                                                                             เวลา ๗ คาบ
                                                                                                              1




             หัวขอเรื่อง
          ๑. เรื่องราวสมัยกอนประวัติศาสตรในดินแดนไทย
          ๒. พัฒนาการจากชุมชนมาสูรัฐโบราณ
          ๓. รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย
             ความนำ
         การตั้ ง ถิ่ น ฐานของชุ ม ชนในดิ น แดนประเทศไทย จะมี พั ฒ นาการแบบค อ ยเป น ค อ ยไป
กลาวคือจากชุมชนขนาดเล็ก ก็คอยๆ พัฒนาจนเปนเมือง แวนแควน และอาณาจักรในที่สุด ซึ่งจาก
สภาพภูมิศาสตรและสิ่งแวดลอมที่เอื้ออำนวย ทำใหมีการตั้งถิ่นฐานกอตัวเปนรัฐหรืออาณาจักรขึ้น
ทั่วทุกภาคของประเทศไทย ซึ่งอาณาจักรบางแหงก็เสื่อมสูญสลายไปตามกาลเวลา และบางอาณาจักร
ก็มีพัฒนาการตอเนื่องเรื่อยมา และไดผนวกรวมเขาเปนประเทศไทยในที่สุด

             สาระสำคัญ
              ดินแดนที่เปนประเทศไทยในปจจุบันมีมนุษยอาศัยอยูตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร
และได มี พั ฒ นาการในการดำรงชี วิ ต เรื่ อ ยมา นั บ ตั้ ง แต ก ารรู จั ก พั ฒ นาเครื่ อ งมื อ หิ น มาใช โ ลหะ
รูจักสรางบานเรือน เพาะปลูก เลี้ยงสัตว และรวมตัวกันเปนชุมชน จากชุมชนเล็กๆ ก็สามารถพัฒนา
จนเปนเมือง เปนแวนแควนหรือรัฐ และเปนอาณาจักรในที่สุด โดยมีรัฐตางๆ ถือกำเนิดขึ้นในทุกภาค
ของไทย ซึ่งรัฐเหลานั้นนอกจากจะสรางสรรคความเจริญขึ้นจนเปนมรดกทางวัฒนธรรมแลว บางรัฐ
ก็ไดเปนรากฐานของประเทศไทยในปจจุบันนี้ดวย

             จุดประสงคการเรียนรู
          หลังจากศึกษาเนื้อหาและทำกิจกรรมในหนวยนี้แลว ผูเรียนจะสามารถทำสิ่งตอไปนี้ได
          ๑. อธิบายเรื่องราวสมัยกอนประวัติศาสตรในดินแดนไทยโดยสังเขปได
          ๒. อธิบายพัฒนาการจากชุมชนมาสูรัฐโบราณไดอยางถูกตอง
          ๓. อธิบายพัฒนาการของอาณาจักรโบราณในภาคตางๆ ในดินแดนไทยได
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย        2




                                                ประจำหนวยที่ ๓
คำชี้แจง         ขอสอบเปนแบบปรนัย ชนิด ๔ ตัวเลือก จำนวน ๒๐ ขอ

คำสั่ง        จงเลือกคำตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคำตอบเดียว แลวกากบาท ( ) ลงใน
              กระดาษคำตอบ
๑. “มนุ ษ ย เร ร อ นเก็ บ หาอาหาร ล า สั ต ว   ๔. บริ เวณที่ เ หมาะสมกั บ การตั้ ง ถิ่ น ฐาน
   ใชเพิงผาหรือถ้ำเปนที่หลับนอน รูจัก               ของชุมชนโบราณควรจะเปนที่ใด
   เพาะปลู ก และนำสั ต ว ป า มาเลี้ ย ง”             ก. ที่ราบสูง
                                                       ข. หุบเขา
   ขอความดังกลาวแบงตามเกณฑขอใด                    ค. ที่ราบเชิงเขา
   ก. แบงตามอาชีพ                                     ง. ที่ราบลุมแมน้ำและชายฝงทะเล
   ข. แบงตามทำเลที่ตั้ง                            ๕. การสรางเครื่องมือเครื่องใชของชุมชน
   ค. แบงตามลักษณะการดำรงชีวิตของ                     มนุษยยุคหินเกาจะมีลักษณะตามขอใด
        มนุษย                                         ก. ประดิษฐกลองมโหระทึก
                                                       ข. ทำเครื่องประดับจากแกว
   ง. แบงตามเทคโนโลยีการทำเครื่องมือ
                                                       ค. ทำขวานกำปนกะเทาะหนาเดียว
        เครื่องใช                                     ง. ทำเครื่องปนดินเผาแบบสามขา
๒. สุวรรณภูมิหรือดินแดนแหงทองคำ                    ๖. การดำรงชีวิตของมนุษยในยุคแรกเริ่ม
   เปนชื่อเดิมของดินแดนใด                             นาจะมีลักษณะสอดคลองกับขอใด
   ก. เอเชียใต                                        ก. เพาะปลูกขาว
   ข. เอเชียตะวันออก                                   ข. ลาสัตวปาเปนอาหาร
                                                       ค. คาขายกับชุมชนใกลเคียง
   ค. เอเชียตะวันตกเฉียงใต                            ง. ทำภาชนะดินเผาไวใสอาหาร
   ง. เอเชียตะวันออกเฉียงใต                        ๗. “มีการพบโครงกระดูกมนุษยและสัตว
๓. ลักษณะการดำรงชีวิตของมนุษยในชวง                   ภาชนะดินเผาลายเขียนสีทั้งลายเชือก
   แรกๆ ตรงตามขอใด                                    ทาบ ลายขูดขีดบนผิวขัดมัน เครื่อง-
   ก. ลาสัตว เก็บหาของปา                            ประดับทำจากลูกปด” แสดงใหเห็นถึง
                                                       พัฒนาการของชุมชนในขอใด
   ข. อาศัยกันอยูเปนชุมชน
                                                       ก. บานเชียง จังหวัดอุดรธานี
   ค. เพาะปลูกพืชธัญญาหาร                              ข. บานเกา จังหวัดกาญจนบุรี
   ง. ใชเงินตราเปนสื่อกลางในการแลก                   ค. ถ้ำผีแมน จังหวัดแมฮองสอน
        เปลี่ยน                                        ง. บานดอนตาเพชรจังหวัดกาญจนบุรี
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย     3
 ๘. ป จ จั ย สำคั ญ ในการพั ฒ นาชุ ม ชนไปสู   ๑๓. รากฐานของวัฒนธรรมละโวมาจากที่ใด
    การเปนแควนหรืออาณาจักรคือขอใด                ก. จีน
    ก. เกิดชนชั้นในสังคม                            ข. อินเดีย
    ข. มีการจัดระเบียบการปกครอง                     ค. สรางขึ้นเอง
    ค. มีการติดตอคาขายกับชุมชนอื่น                ง. ทวารวดีและขอม
    ง. มีการรับอารยธรรมจากตางชาติ
                                                ๑๔. ผลงานของอาณาจักรใดที่ทำใหพระพุทธ
 ๙. เหตุผลสำคัญที่ทำใหอาณาจักรโบราณ
    มักตั้งอยูริมแมน้ำหรือชายฝงทะเลคือ          ศาสนาหยั่งรากลึกในดินแดนไทยมาจน
    อะไร                                            ถึงปจจุบัน
    ก. ประชาชนใชเรือเปนพาหนะ                      ก. ละโว
    ข. ปองกันไมใหขาศึกลอมเมือง                 ข. หริภุญชัย
    ค. สะดวกในการคาขายและเพาะปลูก                  ค. นครศรีธรรมราช
    ง. ฝกฝนกองทัพทางทะเลใหมีประสิทธิ              ง. โคตรบูรณ
            ภาพมากขึ้น                          ๑๕. เรื่ อ งราวของ พระนางจามเทวี มี
๑๐. ขอใดกลาวไดถูกตอง                            ความเกี่ยวของกับอาณาจักรในขอใด
    ก. ชุมชนทุกแหงจะตองอยูริมน้ำ                 ก. ลานนา
    ข. ชุมชนจะเจริญไดตองใชสำริดกอน
                                                    ข. หริภุญชัย
    ค. ชุมชนทุกแหงจะตองขยายไปเปน
            แควน                                   ค. ทวาราวดี
    ง. ชุมชนแตละแหงมีพัฒนาการไมเทากัน           ง. ลังกาสุกะ
๑๑. เพราะเหตุใดจึงสันนิษฐานวาศูนยกลาง         ๑๖. เพราะเหตุใดอาณาจักรโยนกเชียงแสน
    ของทวาราวดีนาจะอยูที่จังหวัดนครปฐม            จึ ง ต อ งย า ยศู น ย ก ลางการปกครอง
    ก. พบพระพุทธรูปปางนาคปรกสำริด                   หลายครั้ง
    ข. ปรากฎเรื่ อ งราวอยู ใ นตำนานมู ล            ก. ถูกศัตรูรุกราน
            ศาสนา                                   ข. ไดรับภัยธรรมชาติ
    ค. จดหมายเหตุจีนเรียกอาณาจักรนี้วา             ค. ทำเลที่ตั้งไมเหมาะสม
            “หลอหู”                                 ง. ตองการหาทางออกทะเลเพื่อคาขาย
    ง. พบเหรียญเงินที่มีคำจารึกเปนภาษา
                                                ๑๗. จากหลักฐานที่พบ ชุมชนใดนาจะเปน
            สันสกฤต
๑๒. งานศิลปกรรมในขอใดที่ไมพบในศิลปะ               แหลงเริ่มตนของพัฒนาการการตั้งถิ่น
    ทวาราวดี                                        ฐานในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    ก. พระปรางคสามยอด                              ก. พิมาย จังหวัดนครราชสีมา
    ข. พระพุทธรูปศิลาขาว                            ข. บานเชียง จังหวัดอุดรธานี
    ค. จุลประโทณเจดีย                              ค. ฟาแดดสงยาง จังหวัดกาฬสินธุ
    ง. ธรรมจักรศิลาและกวางหมอบ                      ง. หนองหารหลวง จังหวัดสกลนคร
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย      4
๑๘. มรดกที่สังคมไทยไดรับจากนครศรีธรรมราช   ๒๐. เหตุ ผ ลสำคั ญ ที่ ท ำให พ ระยามั ง ราย
    คือขอใด                                    มหาราชทรงสรางราชธานีที่เชียงใหม
    ก. การเขียนอักษรไทย                         นาจะเปนเพราะอะไร
    ข. การนับถือพระโพธิสัตว                    ก. มีธรรมชาติที่สวยงาม
    ค. การสรางเจดียทรงพุมขาวบิณฑ           ข. ปองกันการรุกรานจากทางใต
    ง. การนั บ ถื อ พระพุ ท ธศาสนานิ ก าย       ค. จะไดดูแลอาณาจักรอยางทั่วถึง
         เถรวาทลัทธิลังกาวงศ                   ง. ตองการใหเปนเมืองทาคาขาย
๑๙. ปราสาทหิ น ของขอม สั น นิ ษ ฐานว า
    สรางขึ้นเพื่อจุดประสงคใด
    ก. เปนที่ประกอบศาสนพิธี
    ข. เปนแหลงทองเที่ยวพักผอน
    ค. เปนศูนยกลางการปกครอง
    ง. เปนที่ประทับของพระมหากษัตริย
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย   5



      Ẻ·´Êͺ¡‹Í¹àÃÕÂ
       ประจำหนวยที่ ๓




                         ¹
ขอ    คำตอบ       ขอ              คำตอบ
๑        ค         ๑๑                  ง
๒        ง         ๑๒                  ก
๓        ก         ๑๓                  ง
๔        ง         ๑๔                  ข
๕        ค         ๑๕                  ข
๖        ข         ๑๖                  ก
๗        ข         ๑๗                  ก
๘        ค         ๑๘                  ง
๙        ค         ๑๙                  ก
๑๐       ง         ๒๐                  ค
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย        6


                                                             µÍ¹·Õè                     ñ
                      เรื่องราวสมัยกอนประวัติศาสตร
                                       ในดินแดนไทย
           กอนที่ชนชาติไทยจะเขามาตั้งรัฐไทยในดินแดนที่เปนประเทศไทยปจจุบันนั้น ไดมีหลาย
กลุมชนตั้งหลักแหลงอาศัยอยูมากอนแลว โดยกระจายอยูทั่วทุกภูมิภาคของไทย กลุมชนเหลานี้
ไดสรางความเจริญของตนจนมีพัฒนาการมากขึ้น โดยเติบโตจากชุมชนเปนบานเมือง จากบานเมือง
เปนแควนหรือรัฐ และจากแควนเปนอาณาจักร
           การศึกษาพัฒนาการของชุมชนโบราณกอนประวัติศาสตรในดินแดนประเทศไทย จะทำให
เขาใจรากฐานอารยธรรมไทยมากขึ้น เพราะไทยไดรับมรดกทางวัฒนธรรมจากชุมชนโบราณตางๆ
เมื่อไทยตั้งอาณาจักรขึ้นมา ขอมูลที่ใชศึกษาเรื่องราวเหลานี้มาจากหลักฐานทางโบราณคดี เชน รองรอย
การอยูอาศัย เครื่องมือเครื่องใช ตลอดจนโบราณสถานและโบราณวัตถุตางๆ

         ๑. หลักเกณฑการแบงยุคสมัยกอนประวัติศาสตรในประเทศไทย
             เราทราบมาแลววา ดินแดนที่เปนประเทศไทยปจจุบันมีผูคนอาศัยอยูมากมาย เครื่องมือหิน
ที่เกาที่สุดที่พบมีอายุประมาณ ๗๐๐,๐๐๐ ป แตหลักฐานเกี่ยวกับมนุษยที่เกาที่สุดที่พบมีมนุษยอายุ
ประมาณ ๑๘๐,๐๐๐ ป
             สมัยประวัติศาสตรในดินแดนที่เปนประเทศไทยเริ่มเมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๑๘๐ ซึ่งถานับ
มาถึงปจจุบัน สมัยประวัติศาสตรในประเทศไทยจะมีอายุไมถึง ๑,๔๐๐ ป ซึ่งนับวาสั้นมากเมื่อเทียบ
กับการที่มนุษยตั้งถิ่นฐานในดินแดนประเทศไทย และกอนที่มนุษยในประเทศไทยจะรูจักใชตัวหนังสือ
ยาวนานมาก คือ ประมาณ ๗๐๐,๐๐๐ ป สมัยนี้เรียกวา “สมัยกอนประวัติศาสตร” ชวงเวลาที่เปน
สมัยกอนประวัติศาสตรที่ยาวนานมากขึ้น จึงตองมีหลักฐานการแบงยุคสมัยเพื่อใหชัดเจนและใหงาย
แกการทำความเขาใจใหตรงกัน ซึ่งแบงเปน ๒ ประเภท ดังนี้
             ๑. แบงตามเทคโนโลยีการทำเครื่องมือ เครื่องใช
             ๒. แบงตามลักษณะการดำรงชีวิตของผูคน ยุคหินเกากับยุคหินใหมหมูบานเกษตรกรรม
จากชีวิตที่เรรอนเก็บหาอาหาร ลาสัตว เมื่อเย็นค่ำก็หาเพิงผาหรือถ้ำเปนที่หลับนอน มาเปนการตั้ง
ถิ่นฐานทำการเพาะปลูก และนำสัตวปามาเลี้ยง ทำใหมีการอยูรวมกันเปนชุมชน เปนหมูบาน
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย             7



                                                                    มนุษยสมัยกอนประวัติศาสตร
                                                                    จะอาศัยอยูตามถ้ำหรือเพิงผา
                                                                    มีการใชเครื่องมือหินแบบตางๆ




ที่มา : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=261132

           การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของผูคนดังกลาวนี้ เกิดขึ้นในประเทศไทยเมื่อประมาณ ๔,๓๐๐
ป ล ว งมาแล ว ซึ่ ง นั บ ว า อยู ใ นเวลาใกล เ คี ย งกั น มากกั บ ความก า วหน า ของมนุ ษ ยชาติ ใ นภู มิ ภ าค
อื่นของโลก และมีการเรียกกันวา “การปฏิวัติเกษตรกรรม” และถือกันวา “เปนคลื่นลูกที่หนึ่ง” ใน
ความกาวหนาของมนุษยชาติ (คลื่นลูกที่สอง คือ การปฏิวัติอุตสาหกรรม เมื่อตนพุทธศตวรรษที่ ๒๔
เริ่มในทวีปยุโรป คลื่นลูกที่สาม คือ การปฏิวัติทางเทคโนโลยีโดยเฉพาะดานการสื่อสาร ในตนพุทธ
ศตวรรษที่ ๒๖ เริ่มในสหรัฐอเมริกา)

          ๒. การขยายตัวของชุมชนในสุวรรณภูมิ
          สุวรรณภูมิเปนชื่อเดิมของดินแดนเอเชียตะวันออกเชียงใต หรือโดยเฉพาะดินแดนที่เปน
ประเทศไทย สุวรรณภูมิ แปลวา “ดินแดนแหงทองคำ” หมายถึง ดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณ
มากเหมาะแกการตั้งหลักแหลงของชุมชน จากรองรอยการตั้งถิ่นฐานของชุมชนที่พบในดินแดนนี้
ปรากฏวามนุษยไมไดเขาไปตั้งหลักแหลงในทุกทองถิ่นทุกพื้นที่พรอมกัน เนื่องจากในบริเวณนี้เปน
ดินแดนที่มีผูคนอาศัยอยูนอยมาตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตรแลว ดินแดนหลายแหงจึงไมมีมนุษยเขา
ไปอาศัยอยู และหลายแหงเพิ่งมีสภาพเปนชุมชน เปนเมืองมาเมื่อไมกี่รอยปที่ผานมา
          การขยายตัวของชุมชนในสุวรรณภูมิ มีลักษณะการขยายตัวของชุมชนอื่นๆ คือ ตั้งแตสมัย
กอนประวัติศาสตรดินแดนหลายแหงมีกลุมชนเล็กๆ อาศัยอยู ตอมาเมื่อบริเวณนั้นไมอุดมสมบูรณ
ก็ จ ะอพยพเคลื่ อ นย า ยไปหาแหล ง อาหารแหล ง ใหม เมื่ อ มนุ ษ ย รู จั ก การเพาะปลู ก ทำให อ ยู เ ป น
หลักแหลงมากขึ้น ชุมชนบางแหงไดขยายเปนชุมชนขนาดใหญ มีการติดตอแลกเปลี่ยนสิ่งของกับชุมชน
ใกลเคียงและชุมชนที่อยูหางไกล ดังเห็นไดจากหลักฐานทางโบราณคดีที่พบของมีคาจากตางถิ่นหรือ
ของที่ไมมีในทองถิ่นนั้นๆ
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย                  8


                                                สุวรรณภูมิ
                                                          สุวรรณภูมิ เปนชื่อเดิมของภูมิภาคเอเชีย
                                                ตะวันออกเฉียงใตที่คนอินเดียเรียก แตนักวิชาการ
                                                หลายคนมี ค วามเห็ น สุ ว รรณภู มิ คื อ ดิ น แดนที่
                                                เป น ประเทศไทยในป จ จุ บั น เพราะมี อ ำเภอและ
                                                จังหวัดหลายแหง มีชื่อหรือมีความหมายเชนเดียว
                                                กั บ สุ ว รรณภู มิ เช น อำเภอสุ ว รรณภู มิ (จั ง หวั ด
                                                ร อ ยเอ็ ด ) อำเภออู ท อง (จั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี )
                                                จังหวัดกาญจนบุรี และจีนเคยเรียกรัฐแหงหนึ่งวา
ตุกตารูปบุคคลจูงลิง พบที่เมือง                 “จี น หลิ น ” หมายถึ ง ดิ น แดนแห ง ทองคำ หรื อ
โบราณอูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี                   สุ ว รรณภู มิ ซึ่ ง นั ก วิ ช าการหลายคนเชื่ อ ว า คื อ
ที่มา : http://www.sujitwongthes.com
/suvarnabhumi                                   เมืองอูทอง



                                                          การขยายตัวของชุมชนในดินแดนสุวรรณ
                                                ภู มิ นี้ มี ทั้ ง การเคลื่ อ นย า ยอพยพของกลุ ม ชน
                                                ที่ อ าศั ย อยู ม าตั้ ง แต ยุ ค หิ น และมี ก ลุ ม ชนอื่ น
                                                อพยพจากภายนอกนอกเข า มาตั้ ง หลั ก แหล ง
                                                ผสมผสานอยู ด ว ย โดยเป น การอพยพเข า มาใน
                                                ชวงเวลาที่ตางกัน และกระจายกันอยูตามที่ตางๆ
                                                ทั่ ว ทุ ก ภาคของผื น แผ น ดิ น ไทย เห็ น ได จ ากการ
                                                ขุดพบหลักฐานทางดานโบราณคดีตางๆ บริเวณที่ราบ
                                                ภาคกลาง ตลอดจนบริ เ วณคาบสมุ ท รภาคใต
ตะเกียงโรมัน พบที่ตำบลพงตึก อำเภอ               มีการสันนิษฐานวา การกอตัวของชุมชนเหลานี้
ท า มะกา จั ง หวั ด กาญจนบุ รี เป น หลั ก
ฐานแสดงให เ ห็ น ถึ ง การติ ด ต อ ระหว า ง   น า จะเกิ ด จากป จ จั ย ทางด า นการค า เป น สำคั ญ
ชุมชน ในสุวรรณภูมิกับชุมชนที่อยูทาง            เมื่ อ ชุ ม ชนเหล า นี้ มี ผู ค นอาศั ย อยู ม ากขึ้ น และ
ดินแดน ดานตะวันตกที่หางไกล
ที่มา : http://www.kayasit.com/bbs/fo-          มี ค วามเจริ ญ มากขึ้ น ก็ จ ะพั ฒ นาเป น บ า นเมื อ ง
rum.php?mod=viewthread&tid=1109                 เปนแควนและเปนอาณาจักรในที่สุด
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย      9
         ๓. พัฒนาการของชุมชนโบราณในภาคตางๆ ของไทย
                 ๑) พัฒนาการของชุมชนโบราณบริเวณภาคกลาง ชุมชนโบราณสมัยกอนประวัติ
ศาสตรในภาคกลาง สวนใหญจะพบอยูตามฝงตะวันออกและตะวันตกของภาค โดยมีพัฒนาการ
ที่สำคัญ ดังนี้
                     (๑) ชุมชนยุคหินเกา ที่ถ้ำพระ อำเภอไทรโยค ถ้ำเขาทะลุและถ้ำเมน อำเภอ
บานเกา จังหวัดกาญจนบุรี พบเครื่องมือหินที่เปนเครื่องมือหินที่เปนเครื่องมือขุด เครื่องมือสับ ตัด
และขวานที่มีขนาดใหญและหนัก สันนิษฐานวาเปนเครื่องมือที่ใชปรับแตงไมเพื่อนำไปทำอาวุธลาสัตว
                     (๒) ชุมชนยุคหินกลาง ที่บานหนองโน อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี พบเครื่องมือ
หิน เครื่องปนดินเผาลายขีดและขัดมัน ถ้ำหีบ จังหวัดกาญจนบุรี พบกระดูกปลาฉลามปลาโลมา
กวาง วัวปา ที่เปนเครื่องมือเครื่องใช เชน เครื่องมือปลายแหลม เบ็ดตกปลา และภาชนะดินเผา
ลายเชือกทาบ
                     (๓) ชุมชนยุคหินใหม บานเกา อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี พบโครงกระดูก
มนุษยยุคหินใหม ขวานหินขัด เครื่องประดับทำจากเปลือกหอย และภาชนะดินเผาที่คลายกับที่พบใน
ประเทศจีน เชน หมอสามขา หมอกนกลม โดยมีการตกแตงลวดลายภาชนะ ทั้งลายเชือกทาบ ลายขูด
ลายเสนโคง รูปงู ที่หุบเขาวงพระจันทร จังหวัดลพบุรี พบโครงกระดูกมนุษยฝงรวมอยูกับภาชนะ
ดินเผา ซึ่งมีทั้งลายเชือกทาบลายขูดขีด และเคลือบผิวดวยน้ำโคลนสีแดง เครื่องประดับที่พบอยูกับ
โครงกระดูก มีลูกปด กำไลขอมือและแหวนทำจากเปลือกหอยทะเลและหิน


                                                          ภาชนะดินเผา พบที่บานเกา จังหวัด
                                                          กาญจนบุรี เปรียบเทียบกับภาชนะ
                                                          ดินเผาสามขา พบที่มณฑลชานตุง
                                                          ประเทศจีน




           ที่มา : http://www.gotoknow.org/blogs/posts/4954



                     (๔) ชุมชนยุคสำริด ที่บานหนองโน อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี มีมนุษยอาศัย
อยูตั้งแตยุคหินกลาง พบหลุมศพจำนวนมาก ในหลุมมีภาชนะดินเผาเคลือบน้ำโคลนสีแดงรูปทรงคลาย
พาน สันนิษฐานวาใชบรรจุอาหารเซนไหวคนตาย เพราะมีกระดูกสัตววางอยู และพบกำไลหินออน
กำไล สรอยทำจากสำริดและเปลือกหอยทะเล ตุมหูทำจากดีบุก และของที่มาจากตางถิ่น เชน ทองแดง
หินทราย หินมีคา แสดงวามีการติดตอกับชุมชนตางถิ่น
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย            10




     โครงการดูกมนุษยในหลุมฝงศพ พบที่บานเกา                  โครงกระดูกมนุษย มีอายุราว ๓.๐๐๐ ป
     อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี                                มาแลว ขุดพบที่บานโคกพนมดี อำเภอ
                                                                พนัสนิคม จังหวัดชลบุรี
   ที่มา : http://kanchanapisek.or.th/kp6/New/sub/          ที่มา : http://kanchanapisek.or.th/kp6/New/sub/
   book/ book.php? book=8&chap=1&page=picture_              book/ php?book=15&chap=6&page=picture_
   detail8_1.html                                           detail15_6.html

                     (๕) ชุมชนยุคเหล็ก ที่บานดอนตาเพชร อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี
จากการขุดพบหลุดศพที่บรรจุสิ่งของฝงรวมกันมากมาย เชน ภาชนะดินเผา เครื่องประดับอาวุธและ
เครื่องมือเครื่องใชที่ทำจากเหล็ก นอกจากนี้ ยังพบของมีคาจากตางถิ่น เชน เศษผาฝาย ผาปาน
จากอินเดีย ตุกตาสิงโตแกะจากหินมีคาจากอินเดีย ลูกปดแกว ซึ่งจะแสดงใหเห็นวามีการติดตอกับ
ชุมชนภายนอกแลว




             เครื่องมือเครื่องใช และของมีคาตางๆ ไดแก เครื่องประดับลูกปด เครื่องมือเหล็ก
             นกยูงสำริดและไกสำริด พบที่บานดอนตาเพชร อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี
                   ที่มา : http://www.sujitwongthes.com/2011/07/weekly15072554/
         ที่ถ้ำองบะ อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี พบโลงไมมีลักษณะคลายเรือทำจากไมเนื้อแข็ง
ที่ปลายและหัวแกะเปนรูปหัวนก ภายในโลงพบของมีคา เชน เครื่องมือเหล็ก หินมีคา ลูกปดแกว เปนตน
         ชุมชนในภาคกลางหลายแหงไดมีการพัฒนาการจากชุมชนเล็กๆ เปนหมูบาน เปนเมือง เปน
แควน และเปนอาณาจักร
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย          11
               ๒) พัฒนาการของชุมชนโบราณบริเวณภาคเหนือ ภูมิประเทศสวนใหญบริเวณ
ภาคเหนือของไทยเปนเทือกเขา ภูเขา หุบเขา และที่ราบระหวางภูเขา บริเวณเทือกเขา เชน เทือกเขา
แดนลาว เทือกเขาหลวงพระบาง เทือกเขาผีปนน้ำ เปนตนกำเนิดของแมน้ำหลายสาย เชน ปง วัง
ยม นาน และเปนดินแดนที่มีมนุษยอาศัยอยูมาตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร โดยพบการอยูอาศัย
ของมนุษยหลายแหง เชน
                   (๑) ชุมชนยุคหินเกา ที่ถ้ำผีแมน จังหวัดแมฮองสอน พบเครื่องมือหิน ใบหอกหิน
ที่บานแมทะ บานดอนมูล จังหวัดลำปาง พบเครื่องมือหินกะเทาะ และยังพบเครื่องมือหินกะเทาะ
ที่แหลงโบราณคดีผาบุง อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม
                   (๒) ชุมชนยุคหินกลาง ที่ถ้ำผีแมน จังหวัด
แมฮองสอน พบเครื่องมือหินที่เปนเครื่องมือขุด เครื่องมือสับ
ตัด ขนาดใหญ เครื่องมือหินขัด และเครื่องมือหินกะเทาะ

                                      เครื่องมือกะเทาะ พบที่
                                      แหลงโบราณคดีผาบุง
                                      อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม        ที่มา : www.thailandmuseum.
                                                                       com/nan/hilight2.htm


                  (๓) ชุมชนยุคหินใหม พบเครื่องมือยุคหินใหมซึ่งตอเนื่องถึงโลหะ โดยพบเครื่อง
มือหินของชุมชนยุคหินใหมกระจายอยูทั่วไปตามลุมแมน้ำตางๆ ในเขตจังหวัดแมฮองสอน เชียงใหม
ลำปาง นาน อุตรดิตถ เปนตน




          ถ้ำลอด ถ้ำผีแมน จังหวัดแมฮองสอน มีเรื่องราวลี้ลับหลังความตาย ที่กลายมาเปน
          แหลงโบราณคดีล้ำคาจากการสำรวจคนพบเครื่องมือเครื่องใชโบราณในถ้ำ สันนิษฐาน
          ไดวามีอายุประมาณ 2,000 ปมาแลว

        ที่มา : http://www.muangthai.com/mmnews/index.php?mod=article&cat=alltravel&article=660
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย         12
                   (๔) ชุมชนยุคสำริด พบรองรอยชุมชนกสิกรรมที่มีพัฒนาการตอเนื่องมาตั้งแต
ยุคหินใหมมาถึงยุคสำริดในเขตจังหวัดแมฮองสอน เชียงใหม เชียงราย นาน อุตรดิตถ ตาก ลำพูน
โดยพบวามีการใชทั้งเครื่องมือสำริดและหินขัด เครื่องมือเครื่องใชหลายชนิดของชุมชนในภาคนี้
แสดงใหเห็นวามีการผสมผสานแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมระหวางชุมชนตางๆดวย




                            หลุมฝงศพและกำไลสำริด ขุดพบที่บานยางทองใต อำเภอดอยสะเก็ด
                            จังหวัดเชียงใหม
                                 ที่มา : http://gist.soc.cmu.ac.th/lanna/chapter03/c03_p08.html



                                    กลองมโหระทึกหรือกลองสำริด อายุราว ๒,๕๐๐ ป
                                    พบที่ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ


                                    ที่มา : http://www.sujitwongthes.com/
                                    suvarnabhumi/2011/06/03062554/



                    (๕) ชุมชนยุคเหล็ก ไดพบแหลงชุมชนโบราณที่ใชเครื่องมือทำจากเหล็ก กระจาย
อยูตามลุมแมน้ำสายตางๆในเขตจังหวัดแมฮองสอน เชียงใหม เชียงราย นาน อุตรดิตถ ลำพูน
                        หลักฐานทางโบราณคดีตางๆ แสดงใหเห็นวาชุมชนในบริเวณภาคเหนือมี
พัฒนาการชากวาภูมิภาคอื่น แตถึงกระนั้นในภาคเหนือก็มีการตั้งหลักแหลงอยูอาศัยกันอยางตอเนื่อง
และสามารถพัฒนาจากชุมชนเปนบานเมือง เปนแควน และเปนอาณาจักรเชนเดียวกัน
              ๓) พัฒนาการของชุมชนโบราณบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พื้นที่สวนใหญ
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปนที่ราบสูงที่ยกตัวสูงจากตะวันตกและลาดเอียงไปทางตะวันออกลงสู
แมน้ำโขง ตอนกลางของภาคมีลักษณะเปนแองคลายกนกระทะ มีแมน้ำชีและแมน้ำมูลไหลผาน มี
แนวเทือกเขากั้นเปนขอบของภาคทางดานตะวันตกและดานใต
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย            13
                บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยเปนแหลงที่มีมนุษยอาศัยอยูตั้งแตสมัย
กอนประวัติศาสตร โดยพบหลักฐานหลายแหง เชน
                (๑) ชุมชนยุคหินเกา ที่อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย และอำเภอดอนตาล จังหวัด
มุกดาหาร พบเครื่องมือหินกะเทาะเปนเครื่องขุด สับ และตัด
                (๒) ชุมชนยุคหินกลาง ที่อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย และอำเภอดอนตาล จังหวัด
มุกดาหาร พบเครื่องมือขุดและเครื่องมือสับ ตัด ซึ่งตอเนื่องมาจากยุคหินเกา
                (๓) ชุมชนยุคหินใหม ที่บานโนนนกทา อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน พบภาชนะ
ดินเผาลูกปดทำจากเปลือกหอย ขวานหินขัด หินสับ
                (๔) ชุมชนยุคสำริด ที่บานเชียง อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ซึ่งไดรับประกาศ
ใหเปนมรดกโลก เปนแหลงสำริดที่เกาแกและสำคัญที่สุดในประเทศไทย สิ่งของที่พบคือ ภาชนะ
ดินเผาลายเขียนสีแดงบนพื้นสีนวล มีทั้งลายเชือกทาบ ลายขูดขีดบนผิวขัดมัน โครงกระดูกมนุษย
โครงกระดูกสัตว เครื่องประดับทำจากลูกปด สิ่งของเครื่องใชทำจากหินและโลหะภาชนะและ
เครื่องมือเครื่องใชที่ทำจากสำริด แมพิมพ หินทรายที่ใชหลอสำริด นอกจากนี้ยังพบภาพเขียนสี
สมัยกอนประวัติศาสตร เชน ภาพเขียนสีที่ผาแตม ผาหมอนนอย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
ภาพเขียนสีที่เขาจันทรงาม อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา เปนตน



                                                               เครื่องปนดินเผาเขียนสีแดง
                                                               พบที่บานเชียง จังหวัดอุดรธานี
                                                               แสดงพัฒนาการของชุมชน
                                                               ในสมัยกอนประวัติศาสตร ใน
                                                               การประดิษฐเครื่องมือเครื่องใช
                                                               เพื่อการดำรงชีวิต



ที่มา : http://travel.thaiza.com/%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%
B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8
%A2%E0%B8%87-%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%
B8%94%E0%B8%A3%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0
%B8%B5/127576/
                  (๕) ชุมชนยุคเหล็ก ชุมชนโบราณที่บานเชียง จังหวัดอุดรธานี นาจะเปนผูนำในการ
ใชเหล็กกอนที่อื่น ซึ่งจากหลักฐานทางดานโบราณคดีแสดงใหเห็นวาชุมชนที่บานเชียงมีความกาวหนา
ดานโลหกรรมมาก นอกจากที่บานเชียงแลวยังคนพบเครื่องมือยุคเหล็กในที่อื่นๆ อีก เชน ที่บานนาดี
บานโนนนกทา จังหวัดขอนแกน เนินอุโลก จังหวัดนครราชสีมา เปนตน นอกจากนี้ยังพบแหลงแร
เหล็กในเขตจังหวัดเลยที่มีอายุประมาณ ๒,๘๐๐ ป ลวงมาแลว
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย            14




    หอกและขวานสำริ ด พบที่
    บานเชียง อำเภอหนองหาน
    จังหวัดอุดรธานี

                                          ที่มา : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=141740


                 ๔) พัฒนาการของชุมชนโบราณบริเวณภาคใต บริเวณภาคใตเปนแหลงที่มีมนุษย
อาศัยอยูตั้งแตกอนประวัติศาสตรเชนกัน ซึ่งมีพัฒนาการ ดังนี้
                     (๑) ชุมชนยุคหินเกา ที่จังหวัดกระบี่ พบเครื่องมือยุคหินเกาที่ทำเปนเครื่องขุด
เครื่องมือสับ ตัด โดยเฉพาะที่ถ้ำหลังโรงเรียนทับปริก ตำบลทับปริก อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ พบ
หลักฐานการพำนักอาศัยของมนุษยเกาแกที่สุดในดินแดนไทยตั้งแต ๓๗,๐๐๐ - ๒๗,๐๐๐ ปลวงมา แลว
และยังพำนักอาศัยตอมาอีกหลายสมัย
                     (๒) ชุมชนยุคหินกลาง พบเครื่องมือหินกะเทาะ ที่จังหวัดกระบี่ เชนเดียวกับที่
พบเครื่องมือในยุคหินเกา และพบขวานหิน ที่แหลงโบราณคดีบานพลีควาย ตำบลกระดังงา อำเภอ
สทิงพระ จังหวัดสงขลา
                     (๓) ชุมชนยุคหินใหม พบภาชนะดินเผาที่ทำเปนหมอสามขาแบบเดียวกับในเขต
จังหวัดกาญจนบุรี แสดงใหเห็นการติดตอกันระหวางชุมชน และพบขวานหินขัดชนิดมีบาและไมมีบา
ในจังหวัดกระบี่ และพังงา
                     (๔) ชุมชนยุคสำริด ที่ถ้ำผีหัวโต จังหวัดกระบี่ พบภาพเขียนสีสมัยกอนประวัติ
ศาสตรเปนภาพคนสวมชุดยาว ที่ศีรษะมีรูปรางคลายเขาสัตว แยกเปน ๒ แฉกพบรองรอยการกอตั้ง
ชุมชนบริเวณอาว ริมทะเล และริมแมน้ำ ในเขตจังหวัดสุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา
สงขลา เปนตน หลักฐานทางดานโบราณคดีที่สำรวจพบ เชน ขวานหินขัด หมอดินเผาสามขา ภาชนะ
ดินเผาลายเขียนสีแดง ใบมีด กำไล แหวน ลูกปด กลองมโหระทึกสำริด เปนตน
                     (๕) ชุมชนยุคเหล็ก ทีอำเภอคลองทอม จังหวัดกระบี่ พบลูกปดพืนเมืองจำนวนมาก
                                         ่                                      ้
และพบชิ้นสวนเครื่องมือเหล็กในสภาพสึกกรอนและชำรุดมาก นอกจากยังพบที่จังหวัดพังงา นครศรี-
ธรรมราช สุราษฎรธานี และสงขลาดวย
                      การตั้งหลักแหลงของชุมชนในภาคใต พบวามีการอาศัยกันอยางตอเนื่องและ
สามารถพัฒนาเปนชุมชน เปนบานเมือง เปนแควน และเปนอาณาจักรในที่สุด
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย        15




                                                                            ที่มา : http://www.siamsouth.com/
                                                                            smf/index php?topic=24094.0

    หลักฐานทางโบราณคดีตางชาติ ที่เกาแกที่สุด มีอายุราวพุทธศตวรรษ
    ที่ ๑ – ๓ ไดแก ลูกปดแกวมีตาของโรมัน พบในแหลงโบราณคดี
    คลองทอม จังหวัดกระบี่


        ๔. การสรางสรรคภูมิปญญาของมนุษยกอนประวัติศาสตร
           ในดินแดนประเทศไทย
                การศึกษาเกี่ยวกับการสรางสรรคภูมิปญญาของมนุษยกอนประวัติศาสตรในดินแดน
ประเทศไทย ก็เพื่อใหเขาใจถึงภูมิปญญาของมนุษยในสมัยนั้น อันจะเปนตัวอยางในการนำไปใช
ในการดำเนินชีวิตของคนไทยในปจจุบันได
                ๑) ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการสรางสรรคภูมิปญญาของมนุษยกอนประวัติศาสตร
การสรางสรรคภูมิปญญาของมนุษยกอนประวัติศาสตรเกิดจากปจจัยที่สำคัญๆดังนี้
                       ๑. ความตองการความมั่นคงในการดำรงดำรงชีวิตประจำวันในเรื่องอาหาร
ที่อยูอาศัย เครื่องนุงหม และยารักษาโรค
                       ๒. สภาพภูมิศาสตรและสิ่งแวดลอม เชน การเกิดภัยธรรมชาติ โรคระบาด
                       ๓. คติความเชื่อ เชน ความตาย ความเชื่อในเรื่องวิญญาณ เปนตน
                ๒) การสรางสรรคภูมิปญญาของมนุษยกอนประวัติศาสตร การสรางสรรคภูมิปญญา
ของมนุษยกอนประวัติศาสตร เปนการสรางสรรคภูมิปญญาเพื่อดำเนินชีวิตเปนหลักโดยมีพัฒนา
การขึ้นเปนลำดับ ที่เห็นไดชัดเจนมีดังนี้
                       (๑) ดานเกษตรกรรม จาการขุดคนทางโบราณคดีสันนิษฐานไดวามนุษยใน
ยุ ค หิ นใหมมีการเพาะปลูกแบบทำไรเลื่อนลอย บางแหงมีการเพาะปลูกขาวในที่ลุม โดยจะยาย
แหลงเพาะปลูกไปเรื่อยๆ ขณะเดียวกันก็มีการลาสัตวเปนอาหาร การปลูกขาวเริ่มเมื่อ ๔,๓๐๐ ป
ลวงมาแลว
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย        16
                      ตอมาในยุคสำริดและยุคเหล็กมีการใชสำริดและเหล็กเปนเครื่องมือ เครื่องทุนแรง
ในการเพาะปลูก มีการรูจัก “การทดน้ำ” มาใชในการเกษตรกรรมอีกดวย
                      (๒) ดานโลหกรรม จากการศึกษาเกี่ยวกับมนุษยในสมัยกอนประวัติศาสตรพบวา
มนุษยในสมัยนี้รูจักการทำเครื่องมือ เครื่องใชสำริดและเหล็กในยุคโลหะ




                    มนุษยยุคเริ่มแรกทำนาปลูกขาว ดังคนพบหลักฐานปรากฏในภาพเขียนสี
                    ที่ผาหมอนนอย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
                               ที่มา : http://bjw539.freeoda.com/archeology.html




                 พบเปลือกขาวของมนุษยยุค
                 เริ่มแรกทำนาปลูกขาวที่ถ้ำปุงฮุง
                 จังหวัดแมฮองสอน
               ที่มา : http://www.sujitwongthes.com
               /2011/07/weekly08072554/


                      ในยุคสำริด มนุษยรูจักนำทองแดงผสมกับดีบุกหลอหลอมออกมาเปนสำริด
และนำมาทำเปนเครื่องมือ เครื่องใช เครื่องประดับ เชน ขวาน หมอ กำไล เปนตน ตอมามีการผลิต
สำริดที่มีดีบุกผสมปริมาณมาก อันเปนโลหะที่มีความแข็ง และมีสีนวลบางกวาสำริดสามัญ
                                                    แมพิมพใบหอกสำริดและขวาน เปนแบบแมพิมพ 2 ชิ้น
                                                    ทำจากหินทราย พบจากแหลงโบราณคดีบานเชียง
                                                    อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี
                                                    ที่มา : http://www.google.co.th/imgres?q=%E0%B8%82%E0
                                                    %B8%A7%E0%B8%B2%
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย           17




        เครื่องมือหิน พบที่บานโคกไมเดน                 เครื่องมือเหล็ก พบที่บานดอนตาเพชร
        อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค                  อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี
    ที่มา : http://www.sujitwongthes.com/suvarnabhu    ที่มา : http://www.sujitwongthes.com/2011/07/
    mi/ 2011/03/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8               weekly15072554/
    %81%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B9%88%
    E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B9
    %88%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%
    E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9
    %89%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%AD%
    E0%B8%87%E0%B8%96-2/


                       ในยุคเหล็ก การใชเหล็กในดินแดนประเทศไทยนั้น ในระยะแรกๆ มีการประดิษฐ
ใบหอกที่มีสวนบองเปนสำริด แตสวนปลายเปนเหล็ก ตอมาเหล็กกลายเปนวัตถุหลักในการทำ
เครื่องมือเครื่องใช เหล็กที่ใชในสมัยนี้ไดจากการถลุงแรเหล็ก และการทำเครื่องมือเหล็ก
                       คนในสมัยนั้นรูจักการถลุงแรเหล็ก โดยการนำแรเหล็กที่ทำความสะอาดเรียบรอย
แล ว และเตรียมใหไดขนาด มาผสมคลุกเคลากับถานแลวใสลงในเตาถลุงเพื่อเปลี่ยนใหแรเหล็ก
เปนโลหะเหล็ก รูจักใชปูนขาวหรือวัสดุที่มีหินปูน เชน กระดูกหรือเปลือกหอยใสลงไปในถลุงเหล็ก
การถลุงเหล็กแบบนี้เหล็กจะไมหลอมเหลว แตจะรวมตัวกันเกาะเปนกอนเหล็ก หลังจากนั้นจะนำเหล็ก
นี้ไป เผาใหรอนแดง แลวตีเหล็กซ้ำไปมา เพื่อขับไลขี้แรที่ยังเหลืออยูออกมาใหมากที่สุดสำหรับนำมา
ประดิษฐเปนเครื่องมือเครื่องใชตอไป
                      (๓) ดานหัตถกรรม สำหรับภูมิปญญาสมัยกอนประวัติศาสตรทางดานหัตถกรรม
ไดแก การทอผา จากการศึกษาคนควาทางดานโบราณคดีพบวา ผูคนในสมัยกอนประวัติศาสตร
ในดินแดนประเทศไทยรูจักนำเสนใยจากพืช คือ ปาน กัญชา และเสนใยจากสัตว คือ ไหม มาทอ
เปนผืนผา ดวยเทคนิคการทอแบบงายๆ นอกจากนี้ยังพบหลักฐานอื่นๆ อีก เชน หินทุบ เปลือกไม
ซึ่งสันนิษฐานวานาจะใชสำหรับผลิตเสนใยในการทอผาในแหลงโบราณคดีกอนประวัติศาสตรอีกดวย
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย              18
                       (๔) ดานการสรางที่อยูอาศัย ในยุคหินใหม มนุษยไดมีการดัดแปลงสภาพแวดลอม
เพื่อใชเปนที่อยูอาศัย ดวยการใชถ้ำหรือเพิงเผาเปนที่ปองกันอันตรายจากภัยธรรมชาติและสัตวปา
อันเปนการเริ่มตนการตั้งถิ่นฐานของมนุษย
                           ตอมาในยุคโลหะ ไดพบรองรอยของหลุมเสาในแหลงโบราณคดีหลายแหง
ในประเทศไทย กอใหเกิดขอสันนิษฐานในยุคนี้นาจะเริ่มมีการคิดคนวิธีการสรางที่อยูอาศัยบางแลว




                                                                     ในยุคหินใหม มนุษยรูจักเพาะปลูก
                                                                     และสรางที่อยูอาศัย




     ที่มา : http://civedu.0catch.com/china/preciv.htm




    ยุคหินใหมตอนตน มีการสราง
    กระทอมดินดิบมุงหลังคาดวย
    ใบไม



                                                         ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/45752

                 (๕) ดานการรักษาโรค นักโบราณคดีไดขุดคนแหลงโบราณคดีที่เปนแหลงชุมชน
พบหัวกะโหลกมนุษยที่เจาะเปนรูกลมและแตงขอบรูเรียบ สันนิษฐานวา เปนวิธีการรักษาโรคปวด
ศีรษะหรือโรคลมบาหมู แตนักมานุษยวิทยาเชื่อวาเปนการกระทำเพื่อปลดปลอยผีรายที่ทำใหเกิด
อาการเจ็บปวดใหออกไปจากศีรษะมนุษย เพื่อลดอาการปวดศีรษะ
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย   19

สรุปเวลาแสดงความเจริญของมนุษยกอนประวัติศาสตรในดินแดนประเทศไทย


     ราว ๗๐๐,๐๐๐ ปลวงมาแลว
           พบเครื่องหิน




     ราว ๑๘๐,๐๐๐ ปลวงมาแลว
      พบหลักฐานเกี่ยวกับมนุษย




    ราว ๓๗,๐๐๐ ปลวงมาแลว
 พบหลักฐานการพักพิงอาศัยของมนุษย




       ราว ๔,๓๐๐ ปลวงมาแลว
        เริ่มปลูกขาว ตั้งถิ่นฐาน




        ราว ๓,๕๐๐ ปลวงมาแลว
  เริ่มนำสำริดมาทำเครื่องมือ เครื่องใช




        ราว ๒,๐๐๐ ปลวงมาแลว
  เริ่มนำเหล็กมาทำเครืื่องมือ เครื่องใช
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย                                        20



                                                               กิจกรรมที่ ๑
คำสั่ง    ใหนักเรียนวิเคราะหพัฒนาการของมนุษยกอนประวัติศาสตรในดินแดน
          ประเทศไทย


                                      สรุปพัฒนาการ .......................................................
    มนุษยยังตองอาศัย                ......................................................................................
        ธรรมชาติ                      ......................................................................................

                                      ......................................................................................




                                       สรุปพัฒนาการ .......................................................
                                       ......................................................................................
    มนุษยเริ่มตั้งถิ่นฐาน
                                       ......................................................................................

                                       ......................................................................................




                                      สรุปพัฒนาการ .......................................................
     มนุษยเริ่มพัฒนา                 ......................................................................................
       เปนชุมชน                      ......................................................................................

                                      ......................................................................................
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย                                       21

                         á¹ÇµÍº¡Ô¨¡ÃÃÁ·Õè ñ
                                                  มนุ ษ ย มี ชี วิ ต ที่ เร ร อ น
                            สรุปพัฒนาการ .......................................................
                              เก็ บ อาหาร ล า สั ต ว ทำอาวุ ธ หรื อ เครื่ อ งมื อ
                            ......................................................................................
มนุษยยังตองอาศัย
    ธรรมชาติ                  เครื่องใช ดวยหิน กระดูกสัตว อาศัยอยูตาม
                            ......................................................................................
                              ถ้ำหรือเพิงผา
                            ......................................................................................




                                                        พั ฒ นาการมนุ ษ ย เริ่ ม
                            สรุปพัฒนาการ .......................................................
                               เคลื่ อ นย า ยที่ อ ยู อ าศั ย จากถ้ ำ หรื อ เพิ ง ผามา
                            ......................................................................................
มนุษยเริ่มตั้งถิ่นฐาน
                               เปนอยูใกลแหลงน้ำ หรือที่ราบลุม เริ่มมีการตั้ง
                            ......................................................................................
                               ถิ่นฐาน ทำการเพาะปลูก
                            ......................................................................................




                                                 เกิดการเคลื่อนยายอพยพ
                            สรุปพัฒนาการ .......................................................
 มนุษยเริ่มพัฒนา                 หาแหลงอาหารใหมของกลุมชนที่อาศัยอยูมา
                            ......................................................................................
   เปนชุมชน                      ตั้งแตยุคหิน ผสมผสานกับกลุมชนที่อพยพมา
                            ......................................................................................
                                  จากที่อื่น
                            ......................................................................................
สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย                                        22



                                                                                                    กิจกรรมที่ ๒
คำสั่ง               ใหนักเรียนยกตัวอยางชุมชนโบราณในภูมิภาคตางๆ ของประเทศไทย
                     ลงในชองวาง


                                         ภาคเหนือ                                                                  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                            ...................................................                               ...................................................
                            ...................................................                               ...................................................
 ...............................................................................   ...............................................................................
 ...............................................................................   ...............................................................................
 ...............................................................................   ...............................................................................
 ...............................................................................   ...............................................................................
 ...............................................................................   ...............................................................................
 ...............................................................................   ...............................................................................
 ........................................................................          ........................................................................




                                         ภาคกลาง                                                                                      ภาคใต
                            ...................................................                                ...................................................
                            ...................................................                                ...................................................
 ...............................................................................   ...............................................................................
 ...............................................................................   ...............................................................................
 ...............................................................................   ...............................................................................
 ...............................................................................   ...............................................................................
 ...............................................................................   ...............................................................................
 ...............................................................................   ...............................................................................
 ........................................................................          ........................................................................
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfakke1881
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน FBangon Suyana
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรมkrupornpana55
 

What's hot (20)

ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 

Viewers also liked

เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์พัน พัน
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Pracha Wongsrida
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยchakaew4524
 
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)พัน พัน
 
เมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชยเมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชย4lifesecret
 
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์kulrisa777_999
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์Kruorawan Kongpila
 
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์chakaew4524
 
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์Thanawut Rattanadon
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)พัน พัน
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกSompak3111
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 

Viewers also liked (19)

เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
 
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
 
นำเสนอทวีปเอเชีย
นำเสนอทวีปเอเชียนำเสนอทวีปเอเชีย
นำเสนอทวีปเอเชีย
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
 
เมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชยเมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชย
 
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
 
รัฐโบราณ
รัฐโบราณรัฐโบราณ
รัฐโบราณ
 
ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
 
ช่วยเหลือ
ช่วยเหลือช่วยเหลือ
ช่วยเหลือ
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 

Similar to เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3

บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยairja
 
ไทย
ไทยไทย
ไทยPum Pep
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยjannieaek
 
ข้อสอบ O net วิชาภาษาไทย
ข้อสอบ O net วิชาภาษาไทยข้อสอบ O net วิชาภาษาไทย
ข้อสอบ O net วิชาภาษาไทยPerm Ton
 
O net ภาษาไทย
O net ภาษาไทยO net ภาษาไทย
O net ภาษาไทยSendai' Toktak
 
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922a
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922aB7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922a
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922aHarun Fight
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยeroscover
 
ข้อสอบ O net ไทย ปี2553
ข้อสอบ O net ไทย ปี2553ข้อสอบ O net ไทย ปี2553
ข้อสอบ O net ไทย ปี2553Lupin F'n
 
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922a
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922aB7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922a
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922aNoot Ting Tong
 
ข้อสอบภาษาไทย
ข้อสอบภาษาไทยข้อสอบภาษาไทย
ข้อสอบภาษาไทยWanwipa Jindamart
 

Similar to เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3 (20)

บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
 
Onet m6 52 thai
Onet m6 52  thaiOnet m6 52  thai
Onet m6 52 thai
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ข้อสอบ O net วิชาภาษาไทย
ข้อสอบ O net วิชาภาษาไทยข้อสอบ O net วิชาภาษาไทย
ข้อสอบ O net วิชาภาษาไทย
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
M6thai2552
M6thai2552M6thai2552
M6thai2552
 
O net ภาษาไทย
O net ภาษาไทยO net ภาษาไทย
O net ภาษาไทย
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922a
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922aB7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922a
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922a
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
M6thai2552
M6thai2552M6thai2552
M6thai2552
 
ข้อสอบ O net ไทย ปี2553
ข้อสอบ O net ไทย ปี2553ข้อสอบ O net ไทย ปี2553
ข้อสอบ O net ไทย ปี2553
 
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922a
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922aB7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922a
B7d2410ba9cd01dfad361f8fb27b922a
 
ข้อสอบภาษาไทย
ข้อสอบภาษาไทยข้อสอบภาษาไทย
ข้อสอบภาษาไทย
 
onet53 thai
onet53 thaionet53 thai
onet53 thai
 

More from ชิตชัย โพธิ์ประภา

รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยารายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยาชิตชัย โพธิ์ประภา
 
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 25566รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียนคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียนชิตชัย โพธิ์ประภา
 
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...ชิตชัย โพธิ์ประภา
 

More from ชิตชัย โพธิ์ประภา (20)

รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยารายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
 
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
 
ทหารหาญ
ทหารหาญทหารหาญ
ทหารหาญ
 
ยีราฟกลับใจ
ยีราฟกลับใจยีราฟกลับใจ
ยีราฟกลับใจ
 
วานรขาวเจ้าปัญญา
วานรขาวเจ้าปัญญาวานรขาวเจ้าปัญญา
วานรขาวเจ้าปัญญา
 
สมบัติวิเศษ
สมบัติวิเศษสมบัติวิเศษ
สมบัติวิเศษ
 
วิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้งวิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้ง
 
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
 
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
 
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
 
1โครงการขยายผล สอวน
1โครงการขยายผล สอวน1โครงการขยายผล สอวน
1โครงการขยายผล สอวน
 
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 25566รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
 
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียนคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
 
ตารางการนำเสนอโครงงาน
ตารางการนำเสนอโครงงานตารางการนำเสนอโครงงาน
ตารางการนำเสนอโครงงาน
 
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงานรายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
 
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
 
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
 
ปอซอ
ปอซอปอซอ
ปอซอ
 
ฮารีรายอ
ฮารีรายอฮารีรายอ
ฮารีรายอ
 

เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3

  • 1. เอกสารประกอบการเร ี ย น กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชาประวัติศาสตร รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๓ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ หนวยที่ ๓ เรื่อง นางภัทรานิษฐ อิ่มศิล ตำแหนง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ โรงเรียนวังบอวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คำนำ ในปจจุบันสภาพการจัดการเรียนการสอน มุงเนนให ผูเรียนไดศึกษาหาความรูดวยตนเองใหมากที่สุด เพื่อใหผูเรียน มีนิสัย ใฝเรียน ใฝรู อยูเสมอ ดังนั้นการจัดทำเอกสารประกอบ การเรียน เปนแนวทางหนึ่งที่สงเสริมใหผูเรียนคนควาหาคำตอบ ดวยตนเอง เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาประวัติศาสตร ส ๒๑๑๐๓ เรื่อง สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย ประกอบดวย หัวขอเรื่อง ความนำ สาระสำคัญ จุดประสงคการเรียนรู แบบทดสอบ กอนเรียน เนื้อหา กิจกรรม แบบฝก และแบบทดสอบหลังเรียน พรอมเฉลย ซึ่งจะทำใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดวยตนเองและมี ความเขาใจในเนื้อหาสาระไดเปนอยางดี อีกทั้งทำใหผูเรียนสะดวก ต อ การศึ ก ษาหาความรู ไ ด ด ว ยตนเอง จึ ง นั บ ได ว า เป น เอกสาร ประกอบการเรียนที่มีประโยชนตอการเรียนการสอนเปนอยางยิ่ง ขอขอบคุณเจาของตำราที่นำมาอางอิงไวในเอกสาร และนายเชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ ศึกษานิเทศกเชี่ยวชาญ สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๔๒ ที่ใหคำปรึกษาจนเอกสาร ฉบับนี้มีความชัดเจนและสมบูรณยิ่งขึ้น ภัทรานิษฐ อิ่มศิล
  • 3. สารบัญ เรื่อง หนา หนา คำนำ ก สารบัญ ข คำชี้แจง ค หนวยที่ ๓ สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย ๑ แบบทดสอบกอนเรียน ๒ เฉลยคำตอบแบบทดสอบกอนเรียน ๕ ตอนที่ ๑ เรื่องราวสมัยกอนประวัติศาสตรในดินแดนไทย ๖ กิจกรรมที่ ๑ ๒๐ แนวตอบกิจกรรมที่ ๑ ๒๑ กิจกรรมที่ ๒ ๒๒ แนวตอบกิจกรรมที่ ๒ ๒๓ กิจกรรมที่ ๓ ๒๔ แนวตอบกิจกรรมที่ ๓ ๒๕ ตอนที่ ๒ พัฒนาการจากชุมชนมาสูรัฐโบราณ ๒๖ กิจกรรมที่ ๔ ๓๒ แนวตอบกิจกรรมที่ ๔ ๓๓ ตอนที่ ๓ รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย ๓๔ กิจกรรมที่ ๕ ๖๑ แนวตอบกิจกรรมที่ ๕ ๖๒ กิจกรรมที่ ๖ ๖๓ แนวตอบกิจกรรมที่ ๖ ๖๔ กิจกรรมที่ ๗ ๖๕ แนวตอบกิจกรรมที่ ๗ ๖๖ แบบทดสอบหลังเรียน ๖๗ เฉลยคำตอบแบบทดสอบหลังเรียน ๗๐ บรรณนุกรม ๗๑
  • 4. คำชี้แจงสำหรับนักเรียน เอกสารประกอบการเรียนเลมนี้ นักเรียนสามารถศึกษา และเรียนรูไดดวยตนเอง กอนที่จะศึกษาและเรียนรูใหนักเรียนอาน คำชี้แจง ดังนี้ ๑. ศึกษา หัวขอเรื่อง ความนำ สาระสำคัญ จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหทราบวา เมื่อจบบทเรียน นักเรียนสามารถเรียนรูอะไร ไดบาง ๒. ทำแบบทดสอบกอนเรียน จำนวน ๒๐ ขอแลวตรวจคำตอบ จากเฉลย ๓. ศึกษาเนื้อหา สาระ รายละเอียดในตอนที่ ๑ ถึงตอนที่ ๓ ๔. ทำกิจกรรมตามที่กำหนดใหดวยตนเอง ถาทำไมได หรือสงสัย ใหอานทบทวนเนื้อเรื่องใหม แลวตรวจคำตอบจากเฉลย ๕. ทำแบบทดสอบหลังเรียน แลวตรวจคำตอบจากเฉลย
  • 5. หนวยที่ สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย ๓ สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย เวลา ๗ คาบ 1 หัวขอเรื่อง ๑. เรื่องราวสมัยกอนประวัติศาสตรในดินแดนไทย ๒. พัฒนาการจากชุมชนมาสูรัฐโบราณ ๓. รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทย ความนำ การตั้ ง ถิ่ น ฐานของชุ ม ชนในดิ น แดนประเทศไทย จะมี พั ฒ นาการแบบค อ ยเป น ค อ ยไป กลาวคือจากชุมชนขนาดเล็ก ก็คอยๆ พัฒนาจนเปนเมือง แวนแควน และอาณาจักรในที่สุด ซึ่งจาก สภาพภูมิศาสตรและสิ่งแวดลอมที่เอื้ออำนวย ทำใหมีการตั้งถิ่นฐานกอตัวเปนรัฐหรืออาณาจักรขึ้น ทั่วทุกภาคของประเทศไทย ซึ่งอาณาจักรบางแหงก็เสื่อมสูญสลายไปตามกาลเวลา และบางอาณาจักร ก็มีพัฒนาการตอเนื่องเรื่อยมา และไดผนวกรวมเขาเปนประเทศไทยในที่สุด สาระสำคัญ ดินแดนที่เปนประเทศไทยในปจจุบันมีมนุษยอาศัยอยูตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร และได มี พั ฒ นาการในการดำรงชี วิ ต เรื่ อ ยมา นั บ ตั้ ง แต ก ารรู จั ก พั ฒ นาเครื่ อ งมื อ หิ น มาใช โ ลหะ รูจักสรางบานเรือน เพาะปลูก เลี้ยงสัตว และรวมตัวกันเปนชุมชน จากชุมชนเล็กๆ ก็สามารถพัฒนา จนเปนเมือง เปนแวนแควนหรือรัฐ และเปนอาณาจักรในที่สุด โดยมีรัฐตางๆ ถือกำเนิดขึ้นในทุกภาค ของไทย ซึ่งรัฐเหลานั้นนอกจากจะสรางสรรคความเจริญขึ้นจนเปนมรดกทางวัฒนธรรมแลว บางรัฐ ก็ไดเปนรากฐานของประเทศไทยในปจจุบันนี้ดวย จุดประสงคการเรียนรู หลังจากศึกษาเนื้อหาและทำกิจกรรมในหนวยนี้แลว ผูเรียนจะสามารถทำสิ่งตอไปนี้ได ๑. อธิบายเรื่องราวสมัยกอนประวัติศาสตรในดินแดนไทยโดยสังเขปได ๒. อธิบายพัฒนาการจากชุมชนมาสูรัฐโบราณไดอยางถูกตอง ๓. อธิบายพัฒนาการของอาณาจักรโบราณในภาคตางๆ ในดินแดนไทยได
  • 6. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 2 ประจำหนวยที่ ๓ คำชี้แจง ขอสอบเปนแบบปรนัย ชนิด ๔ ตัวเลือก จำนวน ๒๐ ขอ คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคำตอบเดียว แลวกากบาท ( ) ลงใน กระดาษคำตอบ ๑. “มนุ ษ ย เร ร อ นเก็ บ หาอาหาร ล า สั ต ว ๔. บริ เวณที่ เ หมาะสมกั บ การตั้ ง ถิ่ น ฐาน ใชเพิงผาหรือถ้ำเปนที่หลับนอน รูจัก ของชุมชนโบราณควรจะเปนที่ใด เพาะปลู ก และนำสั ต ว ป า มาเลี้ ย ง” ก. ที่ราบสูง ข. หุบเขา ขอความดังกลาวแบงตามเกณฑขอใด ค. ที่ราบเชิงเขา ก. แบงตามอาชีพ ง. ที่ราบลุมแมน้ำและชายฝงทะเล ข. แบงตามทำเลที่ตั้ง ๕. การสรางเครื่องมือเครื่องใชของชุมชน ค. แบงตามลักษณะการดำรงชีวิตของ มนุษยยุคหินเกาจะมีลักษณะตามขอใด มนุษย ก. ประดิษฐกลองมโหระทึก ข. ทำเครื่องประดับจากแกว ง. แบงตามเทคโนโลยีการทำเครื่องมือ ค. ทำขวานกำปนกะเทาะหนาเดียว เครื่องใช ง. ทำเครื่องปนดินเผาแบบสามขา ๒. สุวรรณภูมิหรือดินแดนแหงทองคำ ๖. การดำรงชีวิตของมนุษยในยุคแรกเริ่ม เปนชื่อเดิมของดินแดนใด นาจะมีลักษณะสอดคลองกับขอใด ก. เอเชียใต ก. เพาะปลูกขาว ข. เอเชียตะวันออก ข. ลาสัตวปาเปนอาหาร ค. คาขายกับชุมชนใกลเคียง ค. เอเชียตะวันตกเฉียงใต ง. ทำภาชนะดินเผาไวใสอาหาร ง. เอเชียตะวันออกเฉียงใต ๗. “มีการพบโครงกระดูกมนุษยและสัตว ๓. ลักษณะการดำรงชีวิตของมนุษยในชวง ภาชนะดินเผาลายเขียนสีทั้งลายเชือก แรกๆ ตรงตามขอใด ทาบ ลายขูดขีดบนผิวขัดมัน เครื่อง- ก. ลาสัตว เก็บหาของปา ประดับทำจากลูกปด” แสดงใหเห็นถึง พัฒนาการของชุมชนในขอใด ข. อาศัยกันอยูเปนชุมชน ก. บานเชียง จังหวัดอุดรธานี ค. เพาะปลูกพืชธัญญาหาร ข. บานเกา จังหวัดกาญจนบุรี ง. ใชเงินตราเปนสื่อกลางในการแลก ค. ถ้ำผีแมน จังหวัดแมฮองสอน เปลี่ยน ง. บานดอนตาเพชรจังหวัดกาญจนบุรี
  • 7. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 3 ๘. ป จ จั ย สำคั ญ ในการพั ฒ นาชุ ม ชนไปสู ๑๓. รากฐานของวัฒนธรรมละโวมาจากที่ใด การเปนแควนหรืออาณาจักรคือขอใด ก. จีน ก. เกิดชนชั้นในสังคม ข. อินเดีย ข. มีการจัดระเบียบการปกครอง ค. สรางขึ้นเอง ค. มีการติดตอคาขายกับชุมชนอื่น ง. ทวารวดีและขอม ง. มีการรับอารยธรรมจากตางชาติ ๑๔. ผลงานของอาณาจักรใดที่ทำใหพระพุทธ ๙. เหตุผลสำคัญที่ทำใหอาณาจักรโบราณ มักตั้งอยูริมแมน้ำหรือชายฝงทะเลคือ ศาสนาหยั่งรากลึกในดินแดนไทยมาจน อะไร ถึงปจจุบัน ก. ประชาชนใชเรือเปนพาหนะ ก. ละโว ข. ปองกันไมใหขาศึกลอมเมือง ข. หริภุญชัย ค. สะดวกในการคาขายและเพาะปลูก ค. นครศรีธรรมราช ง. ฝกฝนกองทัพทางทะเลใหมีประสิทธิ ง. โคตรบูรณ ภาพมากขึ้น ๑๕. เรื่ อ งราวของ พระนางจามเทวี มี ๑๐. ขอใดกลาวไดถูกตอง ความเกี่ยวของกับอาณาจักรในขอใด ก. ชุมชนทุกแหงจะตองอยูริมน้ำ ก. ลานนา ข. ชุมชนจะเจริญไดตองใชสำริดกอน ข. หริภุญชัย ค. ชุมชนทุกแหงจะตองขยายไปเปน แควน ค. ทวาราวดี ง. ชุมชนแตละแหงมีพัฒนาการไมเทากัน ง. ลังกาสุกะ ๑๑. เพราะเหตุใดจึงสันนิษฐานวาศูนยกลาง ๑๖. เพราะเหตุใดอาณาจักรโยนกเชียงแสน ของทวาราวดีนาจะอยูที่จังหวัดนครปฐม จึ ง ต อ งย า ยศู น ย ก ลางการปกครอง ก. พบพระพุทธรูปปางนาคปรกสำริด หลายครั้ง ข. ปรากฎเรื่ อ งราวอยู ใ นตำนานมู ล ก. ถูกศัตรูรุกราน ศาสนา ข. ไดรับภัยธรรมชาติ ค. จดหมายเหตุจีนเรียกอาณาจักรนี้วา ค. ทำเลที่ตั้งไมเหมาะสม “หลอหู” ง. ตองการหาทางออกทะเลเพื่อคาขาย ง. พบเหรียญเงินที่มีคำจารึกเปนภาษา ๑๗. จากหลักฐานที่พบ ชุมชนใดนาจะเปน สันสกฤต ๑๒. งานศิลปกรรมในขอใดที่ไมพบในศิลปะ แหลงเริ่มตนของพัฒนาการการตั้งถิ่น ทวาราวดี ฐานในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ก. พระปรางคสามยอด ก. พิมาย จังหวัดนครราชสีมา ข. พระพุทธรูปศิลาขาว ข. บานเชียง จังหวัดอุดรธานี ค. จุลประโทณเจดีย ค. ฟาแดดสงยาง จังหวัดกาฬสินธุ ง. ธรรมจักรศิลาและกวางหมอบ ง. หนองหารหลวง จังหวัดสกลนคร
  • 8. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 4 ๑๘. มรดกที่สังคมไทยไดรับจากนครศรีธรรมราช ๒๐. เหตุ ผ ลสำคั ญ ที่ ท ำให พ ระยามั ง ราย คือขอใด มหาราชทรงสรางราชธานีที่เชียงใหม ก. การเขียนอักษรไทย นาจะเปนเพราะอะไร ข. การนับถือพระโพธิสัตว ก. มีธรรมชาติที่สวยงาม ค. การสรางเจดียทรงพุมขาวบิณฑ ข. ปองกันการรุกรานจากทางใต ง. การนั บ ถื อ พระพุ ท ธศาสนานิ ก าย ค. จะไดดูแลอาณาจักรอยางทั่วถึง เถรวาทลัทธิลังกาวงศ ง. ตองการใหเปนเมืองทาคาขาย ๑๙. ปราสาทหิ น ของขอม สั น นิ ษ ฐานว า สรางขึ้นเพื่อจุดประสงคใด ก. เปนที่ประกอบศาสนพิธี ข. เปนแหลงทองเที่ยวพักผอน ค. เปนศูนยกลางการปกครอง ง. เปนที่ประทับของพระมหากษัตริย
  • 9. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 5 Ẻ·´Êͺ¡‹Í¹àÃÕ ประจำหนวยที่ ๓ ¹ ขอ คำตอบ ขอ คำตอบ ๑ ค ๑๑ ง ๒ ง ๑๒ ก ๓ ก ๑๓ ง ๔ ง ๑๔ ข ๕ ค ๑๕ ข ๖ ข ๑๖ ก ๗ ข ๑๗ ก ๘ ค ๑๘ ง ๙ ค ๑๙ ก ๑๐ ง ๒๐ ค
  • 10. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 6 µÍ¹·Õè ñ เรื่องราวสมัยกอนประวัติศาสตร ในดินแดนไทย กอนที่ชนชาติไทยจะเขามาตั้งรัฐไทยในดินแดนที่เปนประเทศไทยปจจุบันนั้น ไดมีหลาย กลุมชนตั้งหลักแหลงอาศัยอยูมากอนแลว โดยกระจายอยูทั่วทุกภูมิภาคของไทย กลุมชนเหลานี้ ไดสรางความเจริญของตนจนมีพัฒนาการมากขึ้น โดยเติบโตจากชุมชนเปนบานเมือง จากบานเมือง เปนแควนหรือรัฐ และจากแควนเปนอาณาจักร การศึกษาพัฒนาการของชุมชนโบราณกอนประวัติศาสตรในดินแดนประเทศไทย จะทำให เขาใจรากฐานอารยธรรมไทยมากขึ้น เพราะไทยไดรับมรดกทางวัฒนธรรมจากชุมชนโบราณตางๆ เมื่อไทยตั้งอาณาจักรขึ้นมา ขอมูลที่ใชศึกษาเรื่องราวเหลานี้มาจากหลักฐานทางโบราณคดี เชน รองรอย การอยูอาศัย เครื่องมือเครื่องใช ตลอดจนโบราณสถานและโบราณวัตถุตางๆ ๑. หลักเกณฑการแบงยุคสมัยกอนประวัติศาสตรในประเทศไทย เราทราบมาแลววา ดินแดนที่เปนประเทศไทยปจจุบันมีผูคนอาศัยอยูมากมาย เครื่องมือหิน ที่เกาที่สุดที่พบมีอายุประมาณ ๗๐๐,๐๐๐ ป แตหลักฐานเกี่ยวกับมนุษยที่เกาที่สุดที่พบมีมนุษยอายุ ประมาณ ๑๘๐,๐๐๐ ป สมัยประวัติศาสตรในดินแดนที่เปนประเทศไทยเริ่มเมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๑๘๐ ซึ่งถานับ มาถึงปจจุบัน สมัยประวัติศาสตรในประเทศไทยจะมีอายุไมถึง ๑,๔๐๐ ป ซึ่งนับวาสั้นมากเมื่อเทียบ กับการที่มนุษยตั้งถิ่นฐานในดินแดนประเทศไทย และกอนที่มนุษยในประเทศไทยจะรูจักใชตัวหนังสือ ยาวนานมาก คือ ประมาณ ๗๐๐,๐๐๐ ป สมัยนี้เรียกวา “สมัยกอนประวัติศาสตร” ชวงเวลาที่เปน สมัยกอนประวัติศาสตรที่ยาวนานมากขึ้น จึงตองมีหลักฐานการแบงยุคสมัยเพื่อใหชัดเจนและใหงาย แกการทำความเขาใจใหตรงกัน ซึ่งแบงเปน ๒ ประเภท ดังนี้ ๑. แบงตามเทคโนโลยีการทำเครื่องมือ เครื่องใช ๒. แบงตามลักษณะการดำรงชีวิตของผูคน ยุคหินเกากับยุคหินใหมหมูบานเกษตรกรรม จากชีวิตที่เรรอนเก็บหาอาหาร ลาสัตว เมื่อเย็นค่ำก็หาเพิงผาหรือถ้ำเปนที่หลับนอน มาเปนการตั้ง ถิ่นฐานทำการเพาะปลูก และนำสัตวปามาเลี้ยง ทำใหมีการอยูรวมกันเปนชุมชน เปนหมูบาน
  • 11. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 7 มนุษยสมัยกอนประวัติศาสตร จะอาศัยอยูตามถ้ำหรือเพิงผา มีการใชเครื่องมือหินแบบตางๆ ที่มา : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=261132 การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของผูคนดังกลาวนี้ เกิดขึ้นในประเทศไทยเมื่อประมาณ ๔,๓๐๐ ป ล ว งมาแล ว ซึ่ ง นั บ ว า อยู ใ นเวลาใกล เ คี ย งกั น มากกั บ ความก า วหน า ของมนุ ษ ยชาติ ใ นภู มิ ภ าค อื่นของโลก และมีการเรียกกันวา “การปฏิวัติเกษตรกรรม” และถือกันวา “เปนคลื่นลูกที่หนึ่ง” ใน ความกาวหนาของมนุษยชาติ (คลื่นลูกที่สอง คือ การปฏิวัติอุตสาหกรรม เมื่อตนพุทธศตวรรษที่ ๒๔ เริ่มในทวีปยุโรป คลื่นลูกที่สาม คือ การปฏิวัติทางเทคโนโลยีโดยเฉพาะดานการสื่อสาร ในตนพุทธ ศตวรรษที่ ๒๖ เริ่มในสหรัฐอเมริกา) ๒. การขยายตัวของชุมชนในสุวรรณภูมิ สุวรรณภูมิเปนชื่อเดิมของดินแดนเอเชียตะวันออกเชียงใต หรือโดยเฉพาะดินแดนที่เปน ประเทศไทย สุวรรณภูมิ แปลวา “ดินแดนแหงทองคำ” หมายถึง ดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณ มากเหมาะแกการตั้งหลักแหลงของชุมชน จากรองรอยการตั้งถิ่นฐานของชุมชนที่พบในดินแดนนี้ ปรากฏวามนุษยไมไดเขาไปตั้งหลักแหลงในทุกทองถิ่นทุกพื้นที่พรอมกัน เนื่องจากในบริเวณนี้เปน ดินแดนที่มีผูคนอาศัยอยูนอยมาตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตรแลว ดินแดนหลายแหงจึงไมมีมนุษยเขา ไปอาศัยอยู และหลายแหงเพิ่งมีสภาพเปนชุมชน เปนเมืองมาเมื่อไมกี่รอยปที่ผานมา การขยายตัวของชุมชนในสุวรรณภูมิ มีลักษณะการขยายตัวของชุมชนอื่นๆ คือ ตั้งแตสมัย กอนประวัติศาสตรดินแดนหลายแหงมีกลุมชนเล็กๆ อาศัยอยู ตอมาเมื่อบริเวณนั้นไมอุดมสมบูรณ ก็ จ ะอพยพเคลื่ อ นย า ยไปหาแหล ง อาหารแหล ง ใหม เมื่ อ มนุ ษ ย รู จั ก การเพาะปลู ก ทำให อ ยู เ ป น หลักแหลงมากขึ้น ชุมชนบางแหงไดขยายเปนชุมชนขนาดใหญ มีการติดตอแลกเปลี่ยนสิ่งของกับชุมชน ใกลเคียงและชุมชนที่อยูหางไกล ดังเห็นไดจากหลักฐานทางโบราณคดีที่พบของมีคาจากตางถิ่นหรือ ของที่ไมมีในทองถิ่นนั้นๆ
  • 12. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 8 สุวรรณภูมิ สุวรรณภูมิ เปนชื่อเดิมของภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตที่คนอินเดียเรียก แตนักวิชาการ หลายคนมี ค วามเห็ น สุ ว รรณภู มิ คื อ ดิ น แดนที่ เป น ประเทศไทยในป จ จุ บั น เพราะมี อ ำเภอและ จังหวัดหลายแหง มีชื่อหรือมีความหมายเชนเดียว กั บ สุ ว รรณภู มิ เช น อำเภอสุ ว รรณภู มิ (จั ง หวั ด ร อ ยเอ็ ด ) อำเภออู ท อง (จั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี ) จังหวัดกาญจนบุรี และจีนเคยเรียกรัฐแหงหนึ่งวา ตุกตารูปบุคคลจูงลิง พบที่เมือง “จี น หลิ น ” หมายถึ ง ดิ น แดนแห ง ทองคำ หรื อ โบราณอูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี สุ ว รรณภู มิ ซึ่ ง นั ก วิ ช าการหลายคนเชื่ อ ว า คื อ ที่มา : http://www.sujitwongthes.com /suvarnabhumi เมืองอูทอง การขยายตัวของชุมชนในดินแดนสุวรรณ ภู มิ นี้ มี ทั้ ง การเคลื่ อ นย า ยอพยพของกลุ ม ชน ที่ อ าศั ย อยู ม าตั้ ง แต ยุ ค หิ น และมี ก ลุ ม ชนอื่ น อพยพจากภายนอกนอกเข า มาตั้ ง หลั ก แหล ง ผสมผสานอยู ด ว ย โดยเป น การอพยพเข า มาใน ชวงเวลาที่ตางกัน และกระจายกันอยูตามที่ตางๆ ทั่ ว ทุ ก ภาคของผื น แผ น ดิ น ไทย เห็ น ได จ ากการ ขุดพบหลักฐานทางดานโบราณคดีตางๆ บริเวณที่ราบ ภาคกลาง ตลอดจนบริ เ วณคาบสมุ ท รภาคใต ตะเกียงโรมัน พบที่ตำบลพงตึก อำเภอ มีการสันนิษฐานวา การกอตัวของชุมชนเหลานี้ ท า มะกา จั ง หวั ด กาญจนบุ รี เป น หลั ก ฐานแสดงให เ ห็ น ถึ ง การติ ด ต อ ระหว า ง น า จะเกิ ด จากป จ จั ย ทางด า นการค า เป น สำคั ญ ชุมชน ในสุวรรณภูมิกับชุมชนที่อยูทาง เมื่ อ ชุ ม ชนเหล า นี้ มี ผู ค นอาศั ย อยู ม ากขึ้ น และ ดินแดน ดานตะวันตกที่หางไกล ที่มา : http://www.kayasit.com/bbs/fo- มี ค วามเจริ ญ มากขึ้ น ก็ จ ะพั ฒ นาเป น บ า นเมื อ ง rum.php?mod=viewthread&tid=1109 เปนแควนและเปนอาณาจักรในที่สุด
  • 13. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 9 ๓. พัฒนาการของชุมชนโบราณในภาคตางๆ ของไทย ๑) พัฒนาการของชุมชนโบราณบริเวณภาคกลาง ชุมชนโบราณสมัยกอนประวัติ ศาสตรในภาคกลาง สวนใหญจะพบอยูตามฝงตะวันออกและตะวันตกของภาค โดยมีพัฒนาการ ที่สำคัญ ดังนี้ (๑) ชุมชนยุคหินเกา ที่ถ้ำพระ อำเภอไทรโยค ถ้ำเขาทะลุและถ้ำเมน อำเภอ บานเกา จังหวัดกาญจนบุรี พบเครื่องมือหินที่เปนเครื่องมือหินที่เปนเครื่องมือขุด เครื่องมือสับ ตัด และขวานที่มีขนาดใหญและหนัก สันนิษฐานวาเปนเครื่องมือที่ใชปรับแตงไมเพื่อนำไปทำอาวุธลาสัตว (๒) ชุมชนยุคหินกลาง ที่บานหนองโน อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี พบเครื่องมือ หิน เครื่องปนดินเผาลายขีดและขัดมัน ถ้ำหีบ จังหวัดกาญจนบุรี พบกระดูกปลาฉลามปลาโลมา กวาง วัวปา ที่เปนเครื่องมือเครื่องใช เชน เครื่องมือปลายแหลม เบ็ดตกปลา และภาชนะดินเผา ลายเชือกทาบ (๓) ชุมชนยุคหินใหม บานเกา อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี พบโครงกระดูก มนุษยยุคหินใหม ขวานหินขัด เครื่องประดับทำจากเปลือกหอย และภาชนะดินเผาที่คลายกับที่พบใน ประเทศจีน เชน หมอสามขา หมอกนกลม โดยมีการตกแตงลวดลายภาชนะ ทั้งลายเชือกทาบ ลายขูด ลายเสนโคง รูปงู ที่หุบเขาวงพระจันทร จังหวัดลพบุรี พบโครงกระดูกมนุษยฝงรวมอยูกับภาชนะ ดินเผา ซึ่งมีทั้งลายเชือกทาบลายขูดขีด และเคลือบผิวดวยน้ำโคลนสีแดง เครื่องประดับที่พบอยูกับ โครงกระดูก มีลูกปด กำไลขอมือและแหวนทำจากเปลือกหอยทะเลและหิน ภาชนะดินเผา พบที่บานเกา จังหวัด กาญจนบุรี เปรียบเทียบกับภาชนะ ดินเผาสามขา พบที่มณฑลชานตุง ประเทศจีน ที่มา : http://www.gotoknow.org/blogs/posts/4954 (๔) ชุมชนยุคสำริด ที่บานหนองโน อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี มีมนุษยอาศัย อยูตั้งแตยุคหินกลาง พบหลุมศพจำนวนมาก ในหลุมมีภาชนะดินเผาเคลือบน้ำโคลนสีแดงรูปทรงคลาย พาน สันนิษฐานวาใชบรรจุอาหารเซนไหวคนตาย เพราะมีกระดูกสัตววางอยู และพบกำไลหินออน กำไล สรอยทำจากสำริดและเปลือกหอยทะเล ตุมหูทำจากดีบุก และของที่มาจากตางถิ่น เชน ทองแดง หินทราย หินมีคา แสดงวามีการติดตอกับชุมชนตางถิ่น
  • 14. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 10 โครงการดูกมนุษยในหลุมฝงศพ พบที่บานเกา โครงกระดูกมนุษย มีอายุราว ๓.๐๐๐ ป อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี มาแลว ขุดพบที่บานโคกพนมดี อำเภอ พนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ที่มา : http://kanchanapisek.or.th/kp6/New/sub/ ที่มา : http://kanchanapisek.or.th/kp6/New/sub/ book/ book.php? book=8&chap=1&page=picture_ book/ php?book=15&chap=6&page=picture_ detail8_1.html detail15_6.html (๕) ชุมชนยุคเหล็ก ที่บานดอนตาเพชร อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี จากการขุดพบหลุดศพที่บรรจุสิ่งของฝงรวมกันมากมาย เชน ภาชนะดินเผา เครื่องประดับอาวุธและ เครื่องมือเครื่องใชที่ทำจากเหล็ก นอกจากนี้ ยังพบของมีคาจากตางถิ่น เชน เศษผาฝาย ผาปาน จากอินเดีย ตุกตาสิงโตแกะจากหินมีคาจากอินเดีย ลูกปดแกว ซึ่งจะแสดงใหเห็นวามีการติดตอกับ ชุมชนภายนอกแลว เครื่องมือเครื่องใช และของมีคาตางๆ ไดแก เครื่องประดับลูกปด เครื่องมือเหล็ก นกยูงสำริดและไกสำริด พบที่บานดอนตาเพชร อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี ที่มา : http://www.sujitwongthes.com/2011/07/weekly15072554/ ที่ถ้ำองบะ อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี พบโลงไมมีลักษณะคลายเรือทำจากไมเนื้อแข็ง ที่ปลายและหัวแกะเปนรูปหัวนก ภายในโลงพบของมีคา เชน เครื่องมือเหล็ก หินมีคา ลูกปดแกว เปนตน ชุมชนในภาคกลางหลายแหงไดมีการพัฒนาการจากชุมชนเล็กๆ เปนหมูบาน เปนเมือง เปน แควน และเปนอาณาจักร
  • 15. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 11 ๒) พัฒนาการของชุมชนโบราณบริเวณภาคเหนือ ภูมิประเทศสวนใหญบริเวณ ภาคเหนือของไทยเปนเทือกเขา ภูเขา หุบเขา และที่ราบระหวางภูเขา บริเวณเทือกเขา เชน เทือกเขา แดนลาว เทือกเขาหลวงพระบาง เทือกเขาผีปนน้ำ เปนตนกำเนิดของแมน้ำหลายสาย เชน ปง วัง ยม นาน และเปนดินแดนที่มีมนุษยอาศัยอยูมาตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร โดยพบการอยูอาศัย ของมนุษยหลายแหง เชน (๑) ชุมชนยุคหินเกา ที่ถ้ำผีแมน จังหวัดแมฮองสอน พบเครื่องมือหิน ใบหอกหิน ที่บานแมทะ บานดอนมูล จังหวัดลำปาง พบเครื่องมือหินกะเทาะ และยังพบเครื่องมือหินกะเทาะ ที่แหลงโบราณคดีผาบุง อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม (๒) ชุมชนยุคหินกลาง ที่ถ้ำผีแมน จังหวัด แมฮองสอน พบเครื่องมือหินที่เปนเครื่องมือขุด เครื่องมือสับ ตัด ขนาดใหญ เครื่องมือหินขัด และเครื่องมือหินกะเทาะ เครื่องมือกะเทาะ พบที่ แหลงโบราณคดีผาบุง อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม ที่มา : www.thailandmuseum. com/nan/hilight2.htm (๓) ชุมชนยุคหินใหม พบเครื่องมือยุคหินใหมซึ่งตอเนื่องถึงโลหะ โดยพบเครื่อง มือหินของชุมชนยุคหินใหมกระจายอยูทั่วไปตามลุมแมน้ำตางๆ ในเขตจังหวัดแมฮองสอน เชียงใหม ลำปาง นาน อุตรดิตถ เปนตน ถ้ำลอด ถ้ำผีแมน จังหวัดแมฮองสอน มีเรื่องราวลี้ลับหลังความตาย ที่กลายมาเปน แหลงโบราณคดีล้ำคาจากการสำรวจคนพบเครื่องมือเครื่องใชโบราณในถ้ำ สันนิษฐาน ไดวามีอายุประมาณ 2,000 ปมาแลว ที่มา : http://www.muangthai.com/mmnews/index.php?mod=article&cat=alltravel&article=660
  • 16. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 12 (๔) ชุมชนยุคสำริด พบรองรอยชุมชนกสิกรรมที่มีพัฒนาการตอเนื่องมาตั้งแต ยุคหินใหมมาถึงยุคสำริดในเขตจังหวัดแมฮองสอน เชียงใหม เชียงราย นาน อุตรดิตถ ตาก ลำพูน โดยพบวามีการใชทั้งเครื่องมือสำริดและหินขัด เครื่องมือเครื่องใชหลายชนิดของชุมชนในภาคนี้ แสดงใหเห็นวามีการผสมผสานแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมระหวางชุมชนตางๆดวย หลุมฝงศพและกำไลสำริด ขุดพบที่บานยางทองใต อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม ที่มา : http://gist.soc.cmu.ac.th/lanna/chapter03/c03_p08.html กลองมโหระทึกหรือกลองสำริด อายุราว ๒,๕๐๐ ป พบที่ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ ที่มา : http://www.sujitwongthes.com/ suvarnabhumi/2011/06/03062554/ (๕) ชุมชนยุคเหล็ก ไดพบแหลงชุมชนโบราณที่ใชเครื่องมือทำจากเหล็ก กระจาย อยูตามลุมแมน้ำสายตางๆในเขตจังหวัดแมฮองสอน เชียงใหม เชียงราย นาน อุตรดิตถ ลำพูน หลักฐานทางโบราณคดีตางๆ แสดงใหเห็นวาชุมชนในบริเวณภาคเหนือมี พัฒนาการชากวาภูมิภาคอื่น แตถึงกระนั้นในภาคเหนือก็มีการตั้งหลักแหลงอยูอาศัยกันอยางตอเนื่อง และสามารถพัฒนาจากชุมชนเปนบานเมือง เปนแควน และเปนอาณาจักรเชนเดียวกัน ๓) พัฒนาการของชุมชนโบราณบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พื้นที่สวนใหญ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปนที่ราบสูงที่ยกตัวสูงจากตะวันตกและลาดเอียงไปทางตะวันออกลงสู แมน้ำโขง ตอนกลางของภาคมีลักษณะเปนแองคลายกนกระทะ มีแมน้ำชีและแมน้ำมูลไหลผาน มี แนวเทือกเขากั้นเปนขอบของภาคทางดานตะวันตกและดานใต
  • 17. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 13 บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยเปนแหลงที่มีมนุษยอาศัยอยูตั้งแตสมัย กอนประวัติศาสตร โดยพบหลักฐานหลายแหง เชน (๑) ชุมชนยุคหินเกา ที่อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย และอำเภอดอนตาล จังหวัด มุกดาหาร พบเครื่องมือหินกะเทาะเปนเครื่องขุด สับ และตัด (๒) ชุมชนยุคหินกลาง ที่อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย และอำเภอดอนตาล จังหวัด มุกดาหาร พบเครื่องมือขุดและเครื่องมือสับ ตัด ซึ่งตอเนื่องมาจากยุคหินเกา (๓) ชุมชนยุคหินใหม ที่บานโนนนกทา อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน พบภาชนะ ดินเผาลูกปดทำจากเปลือกหอย ขวานหินขัด หินสับ (๔) ชุมชนยุคสำริด ที่บานเชียง อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ซึ่งไดรับประกาศ ใหเปนมรดกโลก เปนแหลงสำริดที่เกาแกและสำคัญที่สุดในประเทศไทย สิ่งของที่พบคือ ภาชนะ ดินเผาลายเขียนสีแดงบนพื้นสีนวล มีทั้งลายเชือกทาบ ลายขูดขีดบนผิวขัดมัน โครงกระดูกมนุษย โครงกระดูกสัตว เครื่องประดับทำจากลูกปด สิ่งของเครื่องใชทำจากหินและโลหะภาชนะและ เครื่องมือเครื่องใชที่ทำจากสำริด แมพิมพ หินทรายที่ใชหลอสำริด นอกจากนี้ยังพบภาพเขียนสี สมัยกอนประวัติศาสตร เชน ภาพเขียนสีที่ผาแตม ผาหมอนนอย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ภาพเขียนสีที่เขาจันทรงาม อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา เปนตน เครื่องปนดินเผาเขียนสีแดง พบที่บานเชียง จังหวัดอุดรธานี แสดงพัฒนาการของชุมชน ในสมัยกอนประวัติศาสตร ใน การประดิษฐเครื่องมือเครื่องใช เพื่อการดำรงชีวิต ที่มา : http://travel.thaiza.com/%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8% B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8 %A2%E0%B8%87-%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0% B8%94%E0%B8%A3%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0 %B8%B5/127576/ (๕) ชุมชนยุคเหล็ก ชุมชนโบราณที่บานเชียง จังหวัดอุดรธานี นาจะเปนผูนำในการ ใชเหล็กกอนที่อื่น ซึ่งจากหลักฐานทางดานโบราณคดีแสดงใหเห็นวาชุมชนที่บานเชียงมีความกาวหนา ดานโลหกรรมมาก นอกจากที่บานเชียงแลวยังคนพบเครื่องมือยุคเหล็กในที่อื่นๆ อีก เชน ที่บานนาดี บานโนนนกทา จังหวัดขอนแกน เนินอุโลก จังหวัดนครราชสีมา เปนตน นอกจากนี้ยังพบแหลงแร เหล็กในเขตจังหวัดเลยที่มีอายุประมาณ ๒,๘๐๐ ป ลวงมาแลว
  • 18. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 14 หอกและขวานสำริ ด พบที่ บานเชียง อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ที่มา : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=141740 ๔) พัฒนาการของชุมชนโบราณบริเวณภาคใต บริเวณภาคใตเปนแหลงที่มีมนุษย อาศัยอยูตั้งแตกอนประวัติศาสตรเชนกัน ซึ่งมีพัฒนาการ ดังนี้ (๑) ชุมชนยุคหินเกา ที่จังหวัดกระบี่ พบเครื่องมือยุคหินเกาที่ทำเปนเครื่องขุด เครื่องมือสับ ตัด โดยเฉพาะที่ถ้ำหลังโรงเรียนทับปริก ตำบลทับปริก อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ พบ หลักฐานการพำนักอาศัยของมนุษยเกาแกที่สุดในดินแดนไทยตั้งแต ๓๗,๐๐๐ - ๒๗,๐๐๐ ปลวงมา แลว และยังพำนักอาศัยตอมาอีกหลายสมัย (๒) ชุมชนยุคหินกลาง พบเครื่องมือหินกะเทาะ ที่จังหวัดกระบี่ เชนเดียวกับที่ พบเครื่องมือในยุคหินเกา และพบขวานหิน ที่แหลงโบราณคดีบานพลีควาย ตำบลกระดังงา อำเภอ สทิงพระ จังหวัดสงขลา (๓) ชุมชนยุคหินใหม พบภาชนะดินเผาที่ทำเปนหมอสามขาแบบเดียวกับในเขต จังหวัดกาญจนบุรี แสดงใหเห็นการติดตอกันระหวางชุมชน และพบขวานหินขัดชนิดมีบาและไมมีบา ในจังหวัดกระบี่ และพังงา (๔) ชุมชนยุคสำริด ที่ถ้ำผีหัวโต จังหวัดกระบี่ พบภาพเขียนสีสมัยกอนประวัติ ศาสตรเปนภาพคนสวมชุดยาว ที่ศีรษะมีรูปรางคลายเขาสัตว แยกเปน ๒ แฉกพบรองรอยการกอตั้ง ชุมชนบริเวณอาว ริมทะเล และริมแมน้ำ ในเขตจังหวัดสุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา สงขลา เปนตน หลักฐานทางดานโบราณคดีที่สำรวจพบ เชน ขวานหินขัด หมอดินเผาสามขา ภาชนะ ดินเผาลายเขียนสีแดง ใบมีด กำไล แหวน ลูกปด กลองมโหระทึกสำริด เปนตน (๕) ชุมชนยุคเหล็ก ทีอำเภอคลองทอม จังหวัดกระบี่ พบลูกปดพืนเมืองจำนวนมาก ่ ้ และพบชิ้นสวนเครื่องมือเหล็กในสภาพสึกกรอนและชำรุดมาก นอกจากยังพบที่จังหวัดพังงา นครศรี- ธรรมราช สุราษฎรธานี และสงขลาดวย การตั้งหลักแหลงของชุมชนในภาคใต พบวามีการอาศัยกันอยางตอเนื่องและ สามารถพัฒนาเปนชุมชน เปนบานเมือง เปนแควน และเปนอาณาจักรในที่สุด
  • 19. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 15 ที่มา : http://www.siamsouth.com/ smf/index php?topic=24094.0 หลักฐานทางโบราณคดีตางชาติ ที่เกาแกที่สุด มีอายุราวพุทธศตวรรษ ที่ ๑ – ๓ ไดแก ลูกปดแกวมีตาของโรมัน พบในแหลงโบราณคดี คลองทอม จังหวัดกระบี่ ๔. การสรางสรรคภูมิปญญาของมนุษยกอนประวัติศาสตร ในดินแดนประเทศไทย การศึกษาเกี่ยวกับการสรางสรรคภูมิปญญาของมนุษยกอนประวัติศาสตรในดินแดน ประเทศไทย ก็เพื่อใหเขาใจถึงภูมิปญญาของมนุษยในสมัยนั้น อันจะเปนตัวอยางในการนำไปใช ในการดำเนินชีวิตของคนไทยในปจจุบันได ๑) ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการสรางสรรคภูมิปญญาของมนุษยกอนประวัติศาสตร การสรางสรรคภูมิปญญาของมนุษยกอนประวัติศาสตรเกิดจากปจจัยที่สำคัญๆดังนี้ ๑. ความตองการความมั่นคงในการดำรงดำรงชีวิตประจำวันในเรื่องอาหาร ที่อยูอาศัย เครื่องนุงหม และยารักษาโรค ๒. สภาพภูมิศาสตรและสิ่งแวดลอม เชน การเกิดภัยธรรมชาติ โรคระบาด ๓. คติความเชื่อ เชน ความตาย ความเชื่อในเรื่องวิญญาณ เปนตน ๒) การสรางสรรคภูมิปญญาของมนุษยกอนประวัติศาสตร การสรางสรรคภูมิปญญา ของมนุษยกอนประวัติศาสตร เปนการสรางสรรคภูมิปญญาเพื่อดำเนินชีวิตเปนหลักโดยมีพัฒนา การขึ้นเปนลำดับ ที่เห็นไดชัดเจนมีดังนี้ (๑) ดานเกษตรกรรม จาการขุดคนทางโบราณคดีสันนิษฐานไดวามนุษยใน ยุ ค หิ นใหมมีการเพาะปลูกแบบทำไรเลื่อนลอย บางแหงมีการเพาะปลูกขาวในที่ลุม โดยจะยาย แหลงเพาะปลูกไปเรื่อยๆ ขณะเดียวกันก็มีการลาสัตวเปนอาหาร การปลูกขาวเริ่มเมื่อ ๔,๓๐๐ ป ลวงมาแลว
  • 20. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 16 ตอมาในยุคสำริดและยุคเหล็กมีการใชสำริดและเหล็กเปนเครื่องมือ เครื่องทุนแรง ในการเพาะปลูก มีการรูจัก “การทดน้ำ” มาใชในการเกษตรกรรมอีกดวย (๒) ดานโลหกรรม จากการศึกษาเกี่ยวกับมนุษยในสมัยกอนประวัติศาสตรพบวา มนุษยในสมัยนี้รูจักการทำเครื่องมือ เครื่องใชสำริดและเหล็กในยุคโลหะ มนุษยยุคเริ่มแรกทำนาปลูกขาว ดังคนพบหลักฐานปรากฏในภาพเขียนสี ที่ผาหมอนนอย อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ที่มา : http://bjw539.freeoda.com/archeology.html พบเปลือกขาวของมนุษยยุค เริ่มแรกทำนาปลูกขาวที่ถ้ำปุงฮุง จังหวัดแมฮองสอน ที่มา : http://www.sujitwongthes.com /2011/07/weekly08072554/ ในยุคสำริด มนุษยรูจักนำทองแดงผสมกับดีบุกหลอหลอมออกมาเปนสำริด และนำมาทำเปนเครื่องมือ เครื่องใช เครื่องประดับ เชน ขวาน หมอ กำไล เปนตน ตอมามีการผลิต สำริดที่มีดีบุกผสมปริมาณมาก อันเปนโลหะที่มีความแข็ง และมีสีนวลบางกวาสำริดสามัญ แมพิมพใบหอกสำริดและขวาน เปนแบบแมพิมพ 2 ชิ้น ทำจากหินทราย พบจากแหลงโบราณคดีบานเชียง อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ที่มา : http://www.google.co.th/imgres?q=%E0%B8%82%E0 %B8%A7%E0%B8%B2%
  • 21. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 17 เครื่องมือหิน พบที่บานโคกไมเดน เครื่องมือเหล็ก พบที่บานดอนตาเพชร อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี ที่มา : http://www.sujitwongthes.com/suvarnabhu ที่มา : http://www.sujitwongthes.com/2011/07/ mi/ 2011/03/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8 weekly15072554/ %81%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B9%88% E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B9 %88%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2% E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9 %89%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%AD% E0%B8%87%E0%B8%96-2/ ในยุคเหล็ก การใชเหล็กในดินแดนประเทศไทยนั้น ในระยะแรกๆ มีการประดิษฐ ใบหอกที่มีสวนบองเปนสำริด แตสวนปลายเปนเหล็ก ตอมาเหล็กกลายเปนวัตถุหลักในการทำ เครื่องมือเครื่องใช เหล็กที่ใชในสมัยนี้ไดจากการถลุงแรเหล็ก และการทำเครื่องมือเหล็ก คนในสมัยนั้นรูจักการถลุงแรเหล็ก โดยการนำแรเหล็กที่ทำความสะอาดเรียบรอย แล ว และเตรียมใหไดขนาด มาผสมคลุกเคลากับถานแลวใสลงในเตาถลุงเพื่อเปลี่ยนใหแรเหล็ก เปนโลหะเหล็ก รูจักใชปูนขาวหรือวัสดุที่มีหินปูน เชน กระดูกหรือเปลือกหอยใสลงไปในถลุงเหล็ก การถลุงเหล็กแบบนี้เหล็กจะไมหลอมเหลว แตจะรวมตัวกันเกาะเปนกอนเหล็ก หลังจากนั้นจะนำเหล็ก นี้ไป เผาใหรอนแดง แลวตีเหล็กซ้ำไปมา เพื่อขับไลขี้แรที่ยังเหลืออยูออกมาใหมากที่สุดสำหรับนำมา ประดิษฐเปนเครื่องมือเครื่องใชตอไป (๓) ดานหัตถกรรม สำหรับภูมิปญญาสมัยกอนประวัติศาสตรทางดานหัตถกรรม ไดแก การทอผา จากการศึกษาคนควาทางดานโบราณคดีพบวา ผูคนในสมัยกอนประวัติศาสตร ในดินแดนประเทศไทยรูจักนำเสนใยจากพืช คือ ปาน กัญชา และเสนใยจากสัตว คือ ไหม มาทอ เปนผืนผา ดวยเทคนิคการทอแบบงายๆ นอกจากนี้ยังพบหลักฐานอื่นๆ อีก เชน หินทุบ เปลือกไม ซึ่งสันนิษฐานวานาจะใชสำหรับผลิตเสนใยในการทอผาในแหลงโบราณคดีกอนประวัติศาสตรอีกดวย
  • 22. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 18 (๔) ดานการสรางที่อยูอาศัย ในยุคหินใหม มนุษยไดมีการดัดแปลงสภาพแวดลอม เพื่อใชเปนที่อยูอาศัย ดวยการใชถ้ำหรือเพิงเผาเปนที่ปองกันอันตรายจากภัยธรรมชาติและสัตวปา อันเปนการเริ่มตนการตั้งถิ่นฐานของมนุษย ตอมาในยุคโลหะ ไดพบรองรอยของหลุมเสาในแหลงโบราณคดีหลายแหง ในประเทศไทย กอใหเกิดขอสันนิษฐานในยุคนี้นาจะเริ่มมีการคิดคนวิธีการสรางที่อยูอาศัยบางแลว ในยุคหินใหม มนุษยรูจักเพาะปลูก และสรางที่อยูอาศัย ที่มา : http://civedu.0catch.com/china/preciv.htm ยุคหินใหมตอนตน มีการสราง กระทอมดินดิบมุงหลังคาดวย ใบไม ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/45752 (๕) ดานการรักษาโรค นักโบราณคดีไดขุดคนแหลงโบราณคดีที่เปนแหลงชุมชน พบหัวกะโหลกมนุษยที่เจาะเปนรูกลมและแตงขอบรูเรียบ สันนิษฐานวา เปนวิธีการรักษาโรคปวด ศีรษะหรือโรคลมบาหมู แตนักมานุษยวิทยาเชื่อวาเปนการกระทำเพื่อปลดปลอยผีรายที่ทำใหเกิด อาการเจ็บปวดใหออกไปจากศีรษะมนุษย เพื่อลดอาการปวดศีรษะ
  • 23. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 19 สรุปเวลาแสดงความเจริญของมนุษยกอนประวัติศาสตรในดินแดนประเทศไทย ราว ๗๐๐,๐๐๐ ปลวงมาแลว พบเครื่องหิน ราว ๑๘๐,๐๐๐ ปลวงมาแลว พบหลักฐานเกี่ยวกับมนุษย ราว ๓๗,๐๐๐ ปลวงมาแลว พบหลักฐานการพักพิงอาศัยของมนุษย ราว ๔,๓๐๐ ปลวงมาแลว เริ่มปลูกขาว ตั้งถิ่นฐาน ราว ๓,๕๐๐ ปลวงมาแลว เริ่มนำสำริดมาทำเครื่องมือ เครื่องใช ราว ๒,๐๐๐ ปลวงมาแลว เริ่มนำเหล็กมาทำเครืื่องมือ เครื่องใช
  • 24. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 20 กิจกรรมที่ ๑ คำสั่ง ใหนักเรียนวิเคราะหพัฒนาการของมนุษยกอนประวัติศาสตรในดินแดน ประเทศไทย สรุปพัฒนาการ ....................................................... มนุษยยังตองอาศัย ...................................................................................... ธรรมชาติ ...................................................................................... ...................................................................................... สรุปพัฒนาการ ....................................................... ...................................................................................... มนุษยเริ่มตั้งถิ่นฐาน ...................................................................................... ...................................................................................... สรุปพัฒนาการ ....................................................... มนุษยเริ่มพัฒนา ...................................................................................... เปนชุมชน ...................................................................................... ......................................................................................
  • 25. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 21 á¹ÇµÍº¡Ô¨¡ÃÃÁ·Õè ñ มนุ ษ ย มี ชี วิ ต ที่ เร ร อ น สรุปพัฒนาการ ....................................................... เก็ บ อาหาร ล า สั ต ว ทำอาวุ ธ หรื อ เครื่ อ งมื อ ...................................................................................... มนุษยยังตองอาศัย ธรรมชาติ เครื่องใช ดวยหิน กระดูกสัตว อาศัยอยูตาม ...................................................................................... ถ้ำหรือเพิงผา ...................................................................................... พั ฒ นาการมนุ ษ ย เริ่ ม สรุปพัฒนาการ ....................................................... เคลื่ อ นย า ยที่ อ ยู อ าศั ย จากถ้ ำ หรื อ เพิ ง ผามา ...................................................................................... มนุษยเริ่มตั้งถิ่นฐาน เปนอยูใกลแหลงน้ำ หรือที่ราบลุม เริ่มมีการตั้ง ...................................................................................... ถิ่นฐาน ทำการเพาะปลูก ...................................................................................... เกิดการเคลื่อนยายอพยพ สรุปพัฒนาการ ....................................................... มนุษยเริ่มพัฒนา หาแหลงอาหารใหมของกลุมชนที่อาศัยอยูมา ...................................................................................... เปนชุมชน ตั้งแตยุคหิน ผสมผสานกับกลุมชนที่อพยพมา ...................................................................................... จากที่อื่น ......................................................................................
  • 26. สมัยกอนสุโขทัยในดินแดนไทย 22 กิจกรรมที่ ๒ คำสั่ง ใหนักเรียนยกตัวอยางชุมชนโบราณในภูมิภาคตางๆ ของประเทศไทย ลงในชองวาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ........................................................................ ........................................................................ ภาคกลาง ภาคใต ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ........................................................................ ........................................................................