SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
ใบความรู
                                     สูโลกอินเตอรเน็ต

กวาจะมาเปนอินเตอรเน็ต
          อินเตอรเน็ตมีพัฒนาการมาจาก อารพาเน็ต (ARPAnet เรียกสั้นๆ วา อารพา) ที่ตั้งขึ้นในป
2512 เปนเครือขายคอมพิวเตอรของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ที่ใชในงานวิจัยดานทหาร
(ARPA : Advanced Research Project Agency)
          มาถึงป 2515 หลังจากที่เครือขายทดลองอารพาประสบความสําเร็จอยางสูง และไดมีการ
ปรับปรุงหนวยงานจากอารพาเปนดาหพา (Defense Advanced Research Project Agency :
DARPA) และในป 2518 อรพาเน็ตก็ขึ้นตรงกับหนวยการสื่อสารของกองทัพ (Defense
Communication Agency)
          ในป 2526 อารพาเน็ตไดแบงออกเปน 2 เครือขาย คือเครือขายดานงานวิจัย ใชชื่ออาร
พาเน็ตเหมือนเดิม สวนเครือขายของกองทัพใชชื่อวา มิลเน็ต(MILNET : Military Network) มีการ
เชื่อมตอโดยใช โพรโตคอล TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เปนครั้ง
แรก
          ในป 2528 มูลนิธิวิทยาศาสตรแหงชาติของอเมริกา (NSF) ไดใหเงินทุนในการสรางศูนยซุ
เปอรคอมพิวเตอร 6 แหง และใชชื่อวา NSFNET และในป 2533 อารพาเน็ตรองรับภาระที่เปน
กระดูกสันหลัง (Backbone) ของระบบไมได จึงไดยุติอารพาเน็ต และเปลี่ยนไปใช NSFNET และ
เครือขายอื่นๆแทน และไดมีกรเชื่อมตอรวมกับเครือขายอื่นๆ จนมาเปนเครือขายขนาดมหึมา จนถึง
ทุกวันนี้ และเรียกเครือขายนี้วา อินเตอรเน็ต โดยเครือขายสวนใหญจะอยูในอเมริกา และปจจุบันนี้
มีเครือขายยอยมากถึง 50,000 เครือขายทีเดียว และคาดวา ภายในป 2543 จะมีผูใชอินเตอรเน็ตทั้ง
โลกประมาณ 100 ลานคน หรือใกลเคียงกับประชากรโลกทั้งหมด
          สําหรับประเทศไทยนั้น อินเตอรเน็ตเริ่มมีบทบาทอยางมากในชวงป 2530-2535 โดยเริ่ม
จากการเปนเครือขายในระบบคอมพิวเตอรระดับมหาวิทยาลัย (Campus Network) แลวจึงเชื่อมตอ
เขาสูอินเตอรเน็ตอยางสมบูรณเมื่อเดือนสิงหาคม 2538 ก็มีการเปดใหบริการอินเตอรเน็ตในเชิง
พาณิชย (รายแรกคือ อินเตอรเน็ตเคเอสซี) ซึ่งขณะนั้น เวิลลดไวดเว็บกําลังไดรับความนิยมอยาง
มากในอเมริกา
          อยางไรก็ตาม อินเตอรเน็ต บางครั้งก็มีการเรียกยอยเปน เน็ต (Net) หรือ The Net ดวย
เชนเดียวกันร อีกคําหนึ่งที่หมายถึงอินเตอรเน็ตก็คือ เว็บ (Web) และ เวิลลดไวดเว็บ (World-Wide-
Web)
ความหมายของอินเตอรเน็ต
        1. อินเตอรเน็ตเปนเทคโนโลยีที่มีคอมพิวเตอรชนิดตางๆ เชื่อมตอซึ่งกันและกัน มีการ
           ติดตอสื่อสาร แลกเปลี่ยนขอมูลตางๆ
        2. การใชอินเตอรเน็ต จะตองใชคอมพิวเตอรที่เรียกวา ไคลเอนต(Client) โดยไคลเอนต
           ของคุณจะติดตอกับคอมพิวเตอรที่อยูหางไกลที่เรียกวา เซิรฟเวอร (Server) หรือโฮสต
           (Host) โดยเซิรฟเวอรนั้นจะใหขอมูลที่คุณตองการและสงผานมายังไคลเอนตที่แสดง
           ใหเห็นขอมูลเหลานั้นบนจอภาพของคุณ
        3. เครื่องมือของอินเตอรเน็ตชิ้นหนึ่งที่เรียกวา World-Wide-Web เรียกสั้นๆ วา เว็บ ก็ได
           จะเปนวิธีที่ดีที่สุดในการเขาถึงทรัพยากรตางๆของอินเตอรเน็ตไดเต็มที่

การเชื่อมตอกับอินเตอรเน็ต
         อินเตอรเน็ต คือ อภิมหาเครือขายโลกที่มีคอมพิวเตอรเชื่อมตอกัน ซึ่งการเชื่อมตอนั้น
เปรียบเสมือนกับใยแมงมุม โดยจุดตัดของใยแมงมุมจะเสมือนเปนคอมพิวเตอรแตละตัวที่โยงใยกัน
เปนเครือขาย ซึ่งการเชื่อมตอบนรอินเตอรเน็ตนั้นจะใชมาตรฐานการเชื่อมตอที่เรียกวา TCP/IP
(Transmission Control Protocol/Internet Protocol) โดย Transmission Control Protocol จะเปน
โพรโตคอลที่ใชในการสงผานขอมูลบนสายตางๆ เชน สายโทรศัพท สายวงจรพิเศษ และ Internet
Protocol ก็คือโพรโตคอลที่ใชในการสื่อสารบนอินเตอรเน็ต และดวยโพรโตคอล TCP/IP นี้เองทํา
ใหอินเตอรเน็ตไดรับความนิยมอยางสูง เนื่องจากคอมพิวเตอรที่เชื่อมตออินเตอรเน็ตทั้งโลกนี้พูด
ภาษเดียวกันก็คือ TCP/IP นั่นเอง

เครื่องมือที่ใชในการสื่อสารบนอินเตอรเน็ต
           โดยปกติแลว หากตองการขอมูลบนอินเตอรเน็ต จะตองเขาไปสืบคนขอมูลบนอินเตอรเน็ต
ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอรของคุณที่ใชบริการจะเปนไคลเอนต และเครื่องที่ใหบริหารในการคนหาจะ
เรียกวา เซิรฟเวอร ซึ่งระบบอินเตอรเน็ตจริงๆแลว ก็คือ ระบบไคลเอนต เซิรฟเวอร (Client/Server)
           ดังนั้นการใชบริการอินเตอรเน็ต ก็คือ การใชบริการในลักษณะที่เปนไคลเอนต เซิรฟเวอร
ซึ่งเครื่องมือที่ใชในการสื่อสารบนอินเตอรเน็ตนั้น จะมีอยูตัวหนึ่งที่เรียกวา เว็บบราวเซอร (Web
Browser) ที่จะเปนโปรแกรมที่ใชในการ เลือกดูเอกสารในระบบอินเตอรเน็ตที่เปนเวิรลดไวดเว็บ
ซึ่งเว็บบราวเซอรนั้น จะตองเชื่อมตอไปที่ เว็บเซิรฟเวอร (หรืออาจเรียกวาโฮสต) เพื่อขอขอมูลใน
การใชงานตางๆ
ขอดีของเว็บบราวเซอรก็คือ สามารถดูเอกสารภายในเว็บเซิรฟเวอรไดอยางสวยงาม มีการ
แสดงขอความ รูปภาพ และระบบมัลติมีเดียตางๆ ทําใหการดูเอกสารบนเว็บนั้น นาตื่นเตนและ
สนุกสนาน
เว็บ : เครื่องมือที่ดีที่สุดสําหรับทุกคน
          ในบรรดาซอรฟ แวรที่จั ดวาเปนเครื่องมือในการใชงานอินเตอรเน็ ตนั้น เครื่องมือ
สําหรับเวิรลดไวดเว็บ ถือวาเปนเครื่องมือที่ดีที่สุดที่สามารถใชไดกับทุกคน โดยจะอํานวยความ
สะดวกสบายในดานตางๆ คือ
          งายในการใชงาน
          ระบบเวิรลดไวดเว็บหรือเว็บนั้น ซอนความซับซอนของอินเตอรเน็ตเอาไวขางในทั้งหมด
ในการใชงานหรือดูเอกสารบนเว็บนั้น เพียงแตใชพอยนเตอรของเมาสชี้ไปที่รูปภาพหรือขอความที่
ขีดเสนใตแลวคลิกเทานั้น (จริงๆ แลวการใชงานเว็บก็คลายกับการเปดดูหนังสืออิเล็กทรอนิกส ที่ใช
เพียงแคเปด แลวพลิกหนากระดาษเทานั้น)
          สามารถทําอะไรไดหลายอยาง
          การใชเว็บบราวเซอรนั้นจะชวยใหสามารถดูเอกสารและเว็บไซตเปนลานชุด สามารถเขา
ไปในแหลงขอมูลตางๆ มากมาย รวมทั้งสามารถดาวนโหลดฟรีแวร (วอรฟแวรฟรี) และแชรแวร
(วอรฟแวรที่ใหทดลองใชกอน หากพอใจก็ลงทะเบียนเสียเงิน แลวจะไดเวอรชนจริง) ไดฟรีจาก
                                                                             ั
อินเตอรเน็ต โดยที่ไมตองออกจากบานไปไหนเลย
                            
          ระบบมัลติมีเดีย
          เอกสารบนเว็บนอกจากจะเปนเอกสารที่ดสวยงามทั้งขอความและรูปแบบแลว เอกสารเว็บ
                                                     ู
ยังสามารถเพิ่มเติมเสียง วิดโอ และแอนิเมชันเขาไปใหมีชีวิตชีวามากขึ้นดวย
                                ี
          ฟรี
          ขอมูลตางๆ บนเว็บสวนใหญน้น สามารถคนควาหามาไดโดยที่ไมเสียคาใชจายใดๆ แตก็
                                         ั
ไมควรไปละเมิดลิขสิทธิ์ หากขอมูลเหลานีมลิขสิทธิ์ปกปองอยู
                                           ้ ี

เขาใจระบบเวิรลดไวดเว็บ
         เว็บนั้นคืออะไร ทําไมจึงสามารถทําอะไรไดมากมาย จริงๆ แลว เว็บก็คือ ระบบ
ไฮเปอรเท็กซ (Hypertext) ที่ผูเขียนสามารถกําหนดใหผูใชอานเอกสารที่เตรียมเอาไวใหไดอยาง
สะดวกและรวดเร็ว คําบางคําที่มีความเกี่ยวของกับเนื้อหานั้น สามารถแสดงความหมายไดเพียงแค
ไฮไลต (เลือกทําใหเดนขึ้นมา) คําหรือวลีนั้นๆ และเมื่อใชเมาสคลิกไปที่คําหรือวลีที่ไฮไลตก็จะพา
ไปยังคําหรือวลีที่เกี่ยวของ ซึ่งจะเรียกการเชื่อมตอแบบนี้วา ไฮเปอรลิงก (Hyperlink) และเว็บ
บราวเซอรที่เปนเครื่องมือตัวหนึ่งบนอินเตอรเน็ตนั้น จะเปนเครื่องมือในการแสดงเอกสารของเว็บ
ที่เปนไฮเปอรเท็กซ และมีไฮเปอรลิงก ที่เปนตัวอักษรหรือรูปภาพที่ขีดเสนใตอยู จะสังเกตไดวา ไม
วาจะเปนรูปภาพหรือขอความที่เปนไฮเปอรลิงก เมื่อนําพอยนเตอรไปชี้ที่รูปภาพหรือขอความ
เหลานั้นพอยนเตอรจะเปลี่ยนจากรูปลูกศรเปนรูปมือแทน
         จากเอกสารเว็บที่มีไฮเปอรลิงกที่มีอยูมากมายในแตละหนา (หรือเว็บเพจ) ที่เขาไปชมนั้น
สามารถที่จะคลิกแลวเขาไปยังเว็บเพจหนาอื่นๆ ไดเรื่อยๆ ซึ่งหากเว็บเพจเหลานั้นมีการลิงกหรือ
เชื่อมตอกันไมสิ้นสุด คุณก็สามารถดูเอกสารไดเรื่อยๆ ไมมีวันหมด และจัดหนาการใชงานแบบนี้
นั่นเอง จึงเกิดคําศัพทใหม ที่เรียกการไปยังเว็บเพจที่ลิงกตอไปเรื่อยๆไมสิ้นสุดวา การ Surf (หรือ
โตคลื่น) ไปบนอินเตอรเน็ตนั่นเอง

ประโยชนที่ไดจากเว็บ
         ปจจุบันนี้ มีผูที่พัฒนาเอกสารบนเว็บไวบนเว็บเซิรฟเวอร ตามสถานที่ตางๆ มากมาย
เอกสารเหลานั้นสวนใหญมักจะไดรับการพัฒนาจากผูเชี่ยวชาญในดานตางๆ ในเฉพาะสาขาอาชีพ
ทําใหขอมูลหรือเอกสารบนเว็บที่มีในอินเตอรเน็ตมีความหลากหลาย สามารถนํามาใชประโยชนใน
ดานตางๆ ไดตามความตองการ เชน
         Discovery Channel Online (http://www.discovery.com) จะเปนขอมูลที่เกี่ยวกับรายการ
Discovery Channel ที่ใหประโยชนในดานตางๆ ไมวาจะเปนประวัติศาสตร เหตุการณนาสนใจ
เทคโนโลยี วิทยาศาสตร โดยภายในเอกสารเว็บนี้จะใหขอมูลที่อยูในรูปมัลติมีเดียที่มีทั้งเสียงและ
วิดีโอชวยในการดูเอกสารมีชีวิตชีวามากขึ้น
         Mercury Center (http://www.mercurrycenter.com) จะเปนเว็บไซตที่บรรจุเรื่องราวตางๆ
ที่นาสนใจรวมทั้งจะมีการตูนที่ไดรับความนิยมใหอานกันดวย
         CNNfn – The Financial Network (http://cnnfn.com) ที่ใหขอมูลตางๆเกี่ยวกับการเงินและ
การลงทุนตางๆ
         นอกจากนี้ยังมีเว็บไซตตางๆ อีกมากมายที่ใหประโยชนในดานตางๆ ทั้งดานความบันเทิง
การศึกษาและอื่นๆ อีกมากมาย

เครื่องมืออื่นๆ บนอินเตอรเน็ต
          นอกจากเวิรลดไวดเว็บ เครื่องมือที่ไดรับความนิยมที่สุดในการเขาถึงขอมูลตางๆบน
อินเตอรเน็ตแลว ยังมีเครื่องมืออื่นๆ ที่นาสนใจที่ชวยใหสามารถใชงานอินเตอรเน็ตไดดียิ่งขึ้น โดย
เครื่องมือเหลานี้สวนใหญจะพัฒนามากอนหนาที่จะมีการใชเวิรลดไวดเว็บอยางจริงจัง เครื่องมือ
เหลานี้ก็คือ
          Gopher เครื่องมือที่ใชในการเขาถึงเซิรฟเวอร Gopher ที่จะใหอินเฟอรเม-ชันและทรัพยากร
                                                 
ตางๆ ที่มีการจัดการในรูปของเมนู (คนหาขอมูลในรูปของเมนู)
File Transfer Protocol (FTP) เครื่องมือที่ใชในการล็อกออนบนคอมพิวเตอรที่อยูหางไกล
ออกไป แลวเขาไปในไดเรกทอรีของไฟลในเครื่องนั้น จากนั้นก็ดาวนโหลดไฟลที่ตองการเขาสู
คอมพิวเตอรของคุณ นอกจากนี้คุณยังสามารถอัพโหลดไฟลจากคอมพิวเตอรของคุณไปที่
คอมพิวเตอรที่อยูหางไกลไดดวย การใช FTP จะตองรันโปรแกรมไคลเอนต FTP แลวเชื่อมตอ
กับเวิรฟเวอร FTP โดยใชซอรฟแวร FTP
          Archie จะเปนเครื่องมือที่ชวยใหคุณคนหาไฟลที่ตองการในอินเตอรเน็ตได แตเปน
เครื่องมือที่นาเบื่อและชา ดังนั้นผูคนสวนใหญมักจะใชเครื่องมือในการเขาถึงเว็บที่เรียกวา Virtual
Software Library (VSL) แทน
          Telnet จะเปนเครื่องมือที่ใชในการติดตอกับเครื่องคอมพิวเตอรที่อยูหางไกลเสมือนกับ
โทรศัพทเขาไปคุยกับเครื่องโดยคุณจะตองใชซอรฟแวร ที่เปนไคลเอนตของ Telnet เชื่อมตอไปยัง
เครื่องที่ตองการ
          WAIS (Wide Area information Service) จะเปนเครื่องมือในการคนหาฐานขอมูลบน
อินเตอรเน็ต โดยการพิมพคียเวิรดบางคําลงไป ซึ่งขอมูลเหลานั้นจะบรรจุอินฟอรเมชันที่นาสนใจ
มากมาย
          อยางไรก็ตาม เครื่องมือหรือบริการบนอินเตอรเน็ตบางตัวนั้น สามารถใชงานผานระบบ
เวิรลดไวดเว็บ โดยใชโปรแกรมเว็บบราวเซอร เชน Netscape Navigator, Internet Explorer ได เชน
FTP, Gopher สวน Telnet ก็สามารถใชบริการไดจากภายใน Windows 95 โดยตรง

สิ่งที่จําเปนตองรูบนอินเตอรเน็ต
          ที่อยูบนอินเตอรเน็ต
          ที่อยูบนอินเตอรเน็ต (internet Address) หรืออีเมลแอดเดรส จะประกอบดวยชื่อของผูใช
คอมพิวเตอร (user) และชื่อของอินเตอรเน็ต (Internet Name) โดยจะมีรูปแบบคือ
          ผูใช@โฮสตของอินเตอรเน็ต
          ตัวอยาง เชน saharath@mail.ksc.net.th. จะหมายถึงผูใชชื่อ saharath เปนสมาชิกของ
คอมพิวเตอรที่ชื่อ mail ที่มีชื่ออินเตอรเน็ตเปน ksc.net.th หรือ sayam@internet.th.com จะหมายถึงผูใช
                                                                                                   
ชื่อ sayam เปนสมาชิกของเครื่องที่ศนยคอมพิวเตอรที่มีชื่อเปน internet.th.com
                                       ู
          หมายเลขอินเตอรเน็ต
          หมายเลขอินเตอรเน็ตหรือ IP Address จะเปนรหัสไมซ้ํากัน ประกอบดวยตัวเลข 4 ชุด ที่
คั่นดวย เครื่องหมายจุด (.) ตัวอยางเชน 203.155.33.1 จะเปน IP Address ของเครื่อง ksc.net.th (แต
ละชุดจะไมเกิน 255)
ชื่ออินเตอรเน็ต
         ชื่ออินเตอรเน็ต (DNS : Domain Name Server) จะเปนชื่อที่อางถึงคอมพิวเตอรที่ตอเขากับ
อินเตอรเน็ตไดงายขึ้น เชน mail.ksc.net.th, jupiter.ksc.net.th



ความหมายของโดเมน
         com กลุมองคการคา (Commercial) เชน www.ibm.com
         edu กลุมการศึกษา (Education) เชน www.chula.edu
         gov กลุมองคการรัฐบาล (Government) เชน www.whitehouse.gov
         mit กลุมองคการทหาร (Military ) เชน http://www.dtic.mil
         net กลุมองคการบริการเครือขาย (Network Services)
         org กลุมองคกรอื่นๆ (Organizations) เชน www.greenpeace.org
         ถาสังเกตดีๆ จะเห็นวา ในอเมริกาเทานั้น ที่จะมีโดเมนเปนตัวอักษร 3 ตัว ในกรณีที่
ประเทศอื่นๆ เชน ประเทศไทย จะเปนเพียงแค 2 ตัว ตัวอยางคือ www.microsoft.com ของอเมริกา
กับ ksc.net.th ของไทย
         นอกจากนี้ในบานเรานั้น มีการกําหนดโดเมนขึ้นมาใหมเพื่อความสะดวกสะบายในการ
ทํางานดวย แตไมไดใชเปนมาตรฐาน

โดเมนที่เปนชื่อยอของประเทศที่นาสนใจ
          โดเมนเนมเหลานี้ จะใชตอตอนทายสุด เพื่อสะดวกในการอางอิงวาเปนโฮสตหรือเว็บไซต
ที่อยูในประเทศใด เชน www.ksc.net.th จะเห็นวา ลงทายดวย th จะเปนโดเมนของประเทศไทย
          au     ออสเตรเลีย               Austtralia
          fr     ฝรั่งเศส                 France
          hk     ฮองกง                   Hong Kong
          jp     ญี่ปุน                  Japan
          th     ไทย                      Thailand
          sg     สิงคโปร                 Singapore
          uk     อังกฤษ                   United Kingdom
ความหมายของซับโดเมน
        ซับโดเมนจะเปนสวนที่อยูถัดจากโดเมน เปนโดเมนยอยที่เจาะจงลงไปวาเปนหนวยงาน
หรือองคกรในดานใด เชน www.ksc.net.th ซับโดเมน คือ net จะเปนองคกรที่ใหบริการดารเครือขาย
หรือเน็ตเวิรค
            
        ac     สถาบันการศึกษา(Academic)
        co     องคกรธุรกิจ(Commercail)
        or     องคกรอื่นๆที่ไมแสวงหากําไร(Organizations)
        net ผูวางระบบเน็ตเวิรค(Networking)
        go     หนวยงานรัฐบาล(Government)

เตรียมอุปกรณและระบบใหพรอม
        1. คอมพิวเตอร ที่จะใชตอเขากับอินเตอรเน็ตควรเปนคอมพิวเตอรที่สามารถใชงาน
           Windows ไดอยางสะดวกสะบาย เนื่องจากระบบปฏิบัติการ Windows จะเปน
           ระบบปฏิบัติการที่ทํางานแบบมัลติทาสก
        2. สายโทรศัพท เปนสิ่งจําเปนที่จะทําใหคุณเขาสูโลกของอินเตอรเน็ตได ในระหวางที่
           คุณตอเขากับอินเตอรเน็ตจะไมมีมครสามารถโทรศัพทมาติดตอกับคุณได
        3. โมเด็ม ควรเลือกโมเด็มที่มีความเร็วอยงนอย 28.8 Kbps เพื่อที่จะสามารถใชงาน
           อินเตอรเน็ตไดในความเร็วที่ดีที่สุดที่สามารถใชงานในขณะนี้
        4. ศูนยบริการอินเตอรเน็ต เปรียบเสมือนเปนประตูเขาสูโลกอินเตอรเน็ต คุณจะตอง
           สมัครสมาชิกของศูนยบริการอินเตอรเน็ตเสียกอน จึงจะเขาสูอินเตอรเน็ตได
        5. ซอรฟแวรที่จําเปน ศูนยบริการอินเตอรเน็ตแตละแหงจะเปนผูจัดหาซอรฟแวรตางๆที่
           จําเปนใหกับคุณ ไมวาคุณจะใชระบบปฏิบัติการแบบใดก็ตาม

การใชงานอินเตอรเน็ต
        ขั้นตอนของการติดตั้ง เพื่อการใชงานอินเตอรเน็ต จะประกอบดวย
             ติดตั้งซอรฟแวรของแตละศูนยบริการอินเตอรเน็ต และโปรแกรมที่ใชหมุนโทรศัพทที่
             เชื่อมตอไปยังศูนยบริการอินเตอรเน็ต
             กําหนดคาตางๆ ของ Windows เพื่อใหเหมาะสมกับการใชงานอินเตอรเน็ต
             ติดตั้งซอรฟแวรอินเตอรเน็ต เชน เว็บบราวเซอร ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส โทรศัพท
             อินเตอรเน็ต ฯลฯ ตามตองการ
ที่มา : www.lpru.ac.th/webpage_tec/krison/internet.doc

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นxsitezaa
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตPp'dan Phuengkun
 
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet11.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1Mevenwen Singollo
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลHappy Sara
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)Krusine soyo
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1Pp'dan Phuengkun
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตNattapon
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตnatlove220
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
อินทรอเน็ต
อินทรอเน็ตอินทรอเน็ต
อินทรอเน็ตYongyut Nintakan
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตjobasketball
 
รายงานเมย์
รายงานเมย์รายงานเมย์
รายงานเมย์Kanjana ZuZie NuNa
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตPrapatsorn Keawnoun
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2เขมิกา กุลาศรี
 

What's hot (18)

บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet11.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
อินทรอเน็ต
อินทรอเน็ตอินทรอเน็ต
อินทรอเน็ต
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
รายงานเมย์
รายงานเมย์รายงานเมย์
รายงานเมย์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
 

Viewers also liked

ทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีpaween
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5paween
 
Tvirus 16
Tvirus 16Tvirus 16
Tvirus 16paween
 
Thistory 2
Thistory 2Thistory 2
Thistory 2paween
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7paween
 
โหมดสี
โหมดสีโหมดสี
โหมดสีpaween
 
บทที่6การสร้างรายงาน
บทที่6การสร้างรายงานบทที่6การสร้างรายงาน
บทที่6การสร้างรายงานniwat50
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12paween
 

Viewers also liked (8)

ทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีทฤษฎีสี
ทฤษฎีสี
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5
 
Tvirus 16
Tvirus 16Tvirus 16
Tvirus 16
 
Thistory 2
Thistory 2Thistory 2
Thistory 2
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7
 
โหมดสี
โหมดสีโหมดสี
โหมดสี
 
บทที่6การสร้างรายงาน
บทที่6การสร้างรายงานบทที่6การสร้างรายงาน
บทที่6การสร้างรายงาน
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12
 

Similar to Internet 13

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตSutin Yotyavilai
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตssuseraa96d2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตssuseraa96d2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1puangtong
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1puangtong
 
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-wwwใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-wwwSamorn Tara
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1gotchagon
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นAmmarirat
 
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บหน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บtanongsak
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1Thanggwa Taemin
 
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)Paveenut
 

Similar to Internet 13 (20)

Ict
IctIct
Ict
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
Internet เบื้องต้น
Internet เบื้องต้นInternet เบื้องต้น
Internet เบื้องต้น
 
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-wwwใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
ใบความรู้ที่ 2.1 เวิล์ดไวด์เว็บ-www
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
Joomla
JoomlaJoomla
Joomla
 
้html
้html้html
้html
 
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บหน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
 
Unit1new
Unit1newUnit1new
Unit1new
 
Unit1new (1)
Unit1new (1)Unit1new (1)
Unit1new (1)
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
 

More from paween

Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2paween
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2paween
 
Developcom 3
Developcom 3Developcom 3
Developcom 3paween
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1paween
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11paween
 
Comtype
ComtypeComtype
Comtypepaween
 
bit byte
bit bytebit byte
bit bytepaween
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
ทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utqทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utqpaween
 

More from paween (12)

Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Ec 15
Ec 15Ec 15
Ec 15
 
Developcom 3
Developcom 3Developcom 3
Developcom 3
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11
 
Comtype
ComtypeComtype
Comtype
 
bit byte
bit bytebit byte
bit byte
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
ทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utqทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utq
 

Internet 13

  • 1. ใบความรู สูโลกอินเตอรเน็ต กวาจะมาเปนอินเตอรเน็ต อินเตอรเน็ตมีพัฒนาการมาจาก อารพาเน็ต (ARPAnet เรียกสั้นๆ วา อารพา) ที่ตั้งขึ้นในป 2512 เปนเครือขายคอมพิวเตอรของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ที่ใชในงานวิจัยดานทหาร (ARPA : Advanced Research Project Agency) มาถึงป 2515 หลังจากที่เครือขายทดลองอารพาประสบความสําเร็จอยางสูง และไดมีการ ปรับปรุงหนวยงานจากอารพาเปนดาหพา (Defense Advanced Research Project Agency : DARPA) และในป 2518 อรพาเน็ตก็ขึ้นตรงกับหนวยการสื่อสารของกองทัพ (Defense Communication Agency) ในป 2526 อารพาเน็ตไดแบงออกเปน 2 เครือขาย คือเครือขายดานงานวิจัย ใชชื่ออาร พาเน็ตเหมือนเดิม สวนเครือขายของกองทัพใชชื่อวา มิลเน็ต(MILNET : Military Network) มีการ เชื่อมตอโดยใช โพรโตคอล TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เปนครั้ง แรก ในป 2528 มูลนิธิวิทยาศาสตรแหงชาติของอเมริกา (NSF) ไดใหเงินทุนในการสรางศูนยซุ เปอรคอมพิวเตอร 6 แหง และใชชื่อวา NSFNET และในป 2533 อารพาเน็ตรองรับภาระที่เปน กระดูกสันหลัง (Backbone) ของระบบไมได จึงไดยุติอารพาเน็ต และเปลี่ยนไปใช NSFNET และ เครือขายอื่นๆแทน และไดมีกรเชื่อมตอรวมกับเครือขายอื่นๆ จนมาเปนเครือขายขนาดมหึมา จนถึง ทุกวันนี้ และเรียกเครือขายนี้วา อินเตอรเน็ต โดยเครือขายสวนใหญจะอยูในอเมริกา และปจจุบันนี้ มีเครือขายยอยมากถึง 50,000 เครือขายทีเดียว และคาดวา ภายในป 2543 จะมีผูใชอินเตอรเน็ตทั้ง โลกประมาณ 100 ลานคน หรือใกลเคียงกับประชากรโลกทั้งหมด สําหรับประเทศไทยนั้น อินเตอรเน็ตเริ่มมีบทบาทอยางมากในชวงป 2530-2535 โดยเริ่ม จากการเปนเครือขายในระบบคอมพิวเตอรระดับมหาวิทยาลัย (Campus Network) แลวจึงเชื่อมตอ เขาสูอินเตอรเน็ตอยางสมบูรณเมื่อเดือนสิงหาคม 2538 ก็มีการเปดใหบริการอินเตอรเน็ตในเชิง พาณิชย (รายแรกคือ อินเตอรเน็ตเคเอสซี) ซึ่งขณะนั้น เวิลลดไวดเว็บกําลังไดรับความนิยมอยาง มากในอเมริกา อยางไรก็ตาม อินเตอรเน็ต บางครั้งก็มีการเรียกยอยเปน เน็ต (Net) หรือ The Net ดวย เชนเดียวกันร อีกคําหนึ่งที่หมายถึงอินเตอรเน็ตก็คือ เว็บ (Web) และ เวิลลดไวดเว็บ (World-Wide- Web)
  • 2. ความหมายของอินเตอรเน็ต 1. อินเตอรเน็ตเปนเทคโนโลยีที่มีคอมพิวเตอรชนิดตางๆ เชื่อมตอซึ่งกันและกัน มีการ ติดตอสื่อสาร แลกเปลี่ยนขอมูลตางๆ 2. การใชอินเตอรเน็ต จะตองใชคอมพิวเตอรที่เรียกวา ไคลเอนต(Client) โดยไคลเอนต ของคุณจะติดตอกับคอมพิวเตอรที่อยูหางไกลที่เรียกวา เซิรฟเวอร (Server) หรือโฮสต (Host) โดยเซิรฟเวอรนั้นจะใหขอมูลที่คุณตองการและสงผานมายังไคลเอนตที่แสดง ใหเห็นขอมูลเหลานั้นบนจอภาพของคุณ 3. เครื่องมือของอินเตอรเน็ตชิ้นหนึ่งที่เรียกวา World-Wide-Web เรียกสั้นๆ วา เว็บ ก็ได จะเปนวิธีที่ดีที่สุดในการเขาถึงทรัพยากรตางๆของอินเตอรเน็ตไดเต็มที่ การเชื่อมตอกับอินเตอรเน็ต อินเตอรเน็ต คือ อภิมหาเครือขายโลกที่มีคอมพิวเตอรเชื่อมตอกัน ซึ่งการเชื่อมตอนั้น เปรียบเสมือนกับใยแมงมุม โดยจุดตัดของใยแมงมุมจะเสมือนเปนคอมพิวเตอรแตละตัวที่โยงใยกัน เปนเครือขาย ซึ่งการเชื่อมตอบนรอินเตอรเน็ตนั้นจะใชมาตรฐานการเชื่อมตอที่เรียกวา TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) โดย Transmission Control Protocol จะเปน โพรโตคอลที่ใชในการสงผานขอมูลบนสายตางๆ เชน สายโทรศัพท สายวงจรพิเศษ และ Internet Protocol ก็คือโพรโตคอลที่ใชในการสื่อสารบนอินเตอรเน็ต และดวยโพรโตคอล TCP/IP นี้เองทํา ใหอินเตอรเน็ตไดรับความนิยมอยางสูง เนื่องจากคอมพิวเตอรที่เชื่อมตออินเตอรเน็ตทั้งโลกนี้พูด ภาษเดียวกันก็คือ TCP/IP นั่นเอง เครื่องมือที่ใชในการสื่อสารบนอินเตอรเน็ต โดยปกติแลว หากตองการขอมูลบนอินเตอรเน็ต จะตองเขาไปสืบคนขอมูลบนอินเตอรเน็ต ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอรของคุณที่ใชบริการจะเปนไคลเอนต และเครื่องที่ใหบริหารในการคนหาจะ เรียกวา เซิรฟเวอร ซึ่งระบบอินเตอรเน็ตจริงๆแลว ก็คือ ระบบไคลเอนต เซิรฟเวอร (Client/Server) ดังนั้นการใชบริการอินเตอรเน็ต ก็คือ การใชบริการในลักษณะที่เปนไคลเอนต เซิรฟเวอร ซึ่งเครื่องมือที่ใชในการสื่อสารบนอินเตอรเน็ตนั้น จะมีอยูตัวหนึ่งที่เรียกวา เว็บบราวเซอร (Web Browser) ที่จะเปนโปรแกรมที่ใชในการ เลือกดูเอกสารในระบบอินเตอรเน็ตที่เปนเวิรลดไวดเว็บ ซึ่งเว็บบราวเซอรนั้น จะตองเชื่อมตอไปที่ เว็บเซิรฟเวอร (หรืออาจเรียกวาโฮสต) เพื่อขอขอมูลใน การใชงานตางๆ
  • 3. ขอดีของเว็บบราวเซอรก็คือ สามารถดูเอกสารภายในเว็บเซิรฟเวอรไดอยางสวยงาม มีการ แสดงขอความ รูปภาพ และระบบมัลติมีเดียตางๆ ทําใหการดูเอกสารบนเว็บนั้น นาตื่นเตนและ สนุกสนาน เว็บ : เครื่องมือที่ดีที่สุดสําหรับทุกคน ในบรรดาซอรฟ แวรที่จั ดวาเปนเครื่องมือในการใชงานอินเตอรเน็ ตนั้น เครื่องมือ สําหรับเวิรลดไวดเว็บ ถือวาเปนเครื่องมือที่ดีที่สุดที่สามารถใชไดกับทุกคน โดยจะอํานวยความ สะดวกสบายในดานตางๆ คือ งายในการใชงาน ระบบเวิรลดไวดเว็บหรือเว็บนั้น ซอนความซับซอนของอินเตอรเน็ตเอาไวขางในทั้งหมด ในการใชงานหรือดูเอกสารบนเว็บนั้น เพียงแตใชพอยนเตอรของเมาสชี้ไปที่รูปภาพหรือขอความที่ ขีดเสนใตแลวคลิกเทานั้น (จริงๆ แลวการใชงานเว็บก็คลายกับการเปดดูหนังสืออิเล็กทรอนิกส ที่ใช เพียงแคเปด แลวพลิกหนากระดาษเทานั้น) สามารถทําอะไรไดหลายอยาง การใชเว็บบราวเซอรนั้นจะชวยใหสามารถดูเอกสารและเว็บไซตเปนลานชุด สามารถเขา ไปในแหลงขอมูลตางๆ มากมาย รวมทั้งสามารถดาวนโหลดฟรีแวร (วอรฟแวรฟรี) และแชรแวร (วอรฟแวรที่ใหทดลองใชกอน หากพอใจก็ลงทะเบียนเสียเงิน แลวจะไดเวอรชนจริง) ไดฟรีจาก  ั อินเตอรเน็ต โดยที่ไมตองออกจากบานไปไหนเลย  ระบบมัลติมีเดีย เอกสารบนเว็บนอกจากจะเปนเอกสารที่ดสวยงามทั้งขอความและรูปแบบแลว เอกสารเว็บ ู ยังสามารถเพิ่มเติมเสียง วิดโอ และแอนิเมชันเขาไปใหมีชีวิตชีวามากขึ้นดวย ี ฟรี ขอมูลตางๆ บนเว็บสวนใหญน้น สามารถคนควาหามาไดโดยที่ไมเสียคาใชจายใดๆ แตก็ ั ไมควรไปละเมิดลิขสิทธิ์ หากขอมูลเหลานีมลิขสิทธิ์ปกปองอยู ้ ี เขาใจระบบเวิรลดไวดเว็บ เว็บนั้นคืออะไร ทําไมจึงสามารถทําอะไรไดมากมาย จริงๆ แลว เว็บก็คือ ระบบ ไฮเปอรเท็กซ (Hypertext) ที่ผูเขียนสามารถกําหนดใหผูใชอานเอกสารที่เตรียมเอาไวใหไดอยาง สะดวกและรวดเร็ว คําบางคําที่มีความเกี่ยวของกับเนื้อหานั้น สามารถแสดงความหมายไดเพียงแค ไฮไลต (เลือกทําใหเดนขึ้นมา) คําหรือวลีนั้นๆ และเมื่อใชเมาสคลิกไปที่คําหรือวลีที่ไฮไลตก็จะพา ไปยังคําหรือวลีที่เกี่ยวของ ซึ่งจะเรียกการเชื่อมตอแบบนี้วา ไฮเปอรลิงก (Hyperlink) และเว็บ บราวเซอรที่เปนเครื่องมือตัวหนึ่งบนอินเตอรเน็ตนั้น จะเปนเครื่องมือในการแสดงเอกสารของเว็บ ที่เปนไฮเปอรเท็กซ และมีไฮเปอรลิงก ที่เปนตัวอักษรหรือรูปภาพที่ขีดเสนใตอยู จะสังเกตไดวา ไม
  • 4. วาจะเปนรูปภาพหรือขอความที่เปนไฮเปอรลิงก เมื่อนําพอยนเตอรไปชี้ที่รูปภาพหรือขอความ เหลานั้นพอยนเตอรจะเปลี่ยนจากรูปลูกศรเปนรูปมือแทน จากเอกสารเว็บที่มีไฮเปอรลิงกที่มีอยูมากมายในแตละหนา (หรือเว็บเพจ) ที่เขาไปชมนั้น สามารถที่จะคลิกแลวเขาไปยังเว็บเพจหนาอื่นๆ ไดเรื่อยๆ ซึ่งหากเว็บเพจเหลานั้นมีการลิงกหรือ เชื่อมตอกันไมสิ้นสุด คุณก็สามารถดูเอกสารไดเรื่อยๆ ไมมีวันหมด และจัดหนาการใชงานแบบนี้ นั่นเอง จึงเกิดคําศัพทใหม ที่เรียกการไปยังเว็บเพจที่ลิงกตอไปเรื่อยๆไมสิ้นสุดวา การ Surf (หรือ โตคลื่น) ไปบนอินเตอรเน็ตนั่นเอง ประโยชนที่ไดจากเว็บ ปจจุบันนี้ มีผูที่พัฒนาเอกสารบนเว็บไวบนเว็บเซิรฟเวอร ตามสถานที่ตางๆ มากมาย เอกสารเหลานั้นสวนใหญมักจะไดรับการพัฒนาจากผูเชี่ยวชาญในดานตางๆ ในเฉพาะสาขาอาชีพ ทําใหขอมูลหรือเอกสารบนเว็บที่มีในอินเตอรเน็ตมีความหลากหลาย สามารถนํามาใชประโยชนใน ดานตางๆ ไดตามความตองการ เชน Discovery Channel Online (http://www.discovery.com) จะเปนขอมูลที่เกี่ยวกับรายการ Discovery Channel ที่ใหประโยชนในดานตางๆ ไมวาจะเปนประวัติศาสตร เหตุการณนาสนใจ เทคโนโลยี วิทยาศาสตร โดยภายในเอกสารเว็บนี้จะใหขอมูลที่อยูในรูปมัลติมีเดียที่มีทั้งเสียงและ วิดีโอชวยในการดูเอกสารมีชีวิตชีวามากขึ้น Mercury Center (http://www.mercurrycenter.com) จะเปนเว็บไซตที่บรรจุเรื่องราวตางๆ ที่นาสนใจรวมทั้งจะมีการตูนที่ไดรับความนิยมใหอานกันดวย CNNfn – The Financial Network (http://cnnfn.com) ที่ใหขอมูลตางๆเกี่ยวกับการเงินและ การลงทุนตางๆ นอกจากนี้ยังมีเว็บไซตตางๆ อีกมากมายที่ใหประโยชนในดานตางๆ ทั้งดานความบันเทิง การศึกษาและอื่นๆ อีกมากมาย เครื่องมืออื่นๆ บนอินเตอรเน็ต นอกจากเวิรลดไวดเว็บ เครื่องมือที่ไดรับความนิยมที่สุดในการเขาถึงขอมูลตางๆบน อินเตอรเน็ตแลว ยังมีเครื่องมืออื่นๆ ที่นาสนใจที่ชวยใหสามารถใชงานอินเตอรเน็ตไดดียิ่งขึ้น โดย เครื่องมือเหลานี้สวนใหญจะพัฒนามากอนหนาที่จะมีการใชเวิรลดไวดเว็บอยางจริงจัง เครื่องมือ เหลานี้ก็คือ Gopher เครื่องมือที่ใชในการเขาถึงเซิรฟเวอร Gopher ที่จะใหอินเฟอรเม-ชันและทรัพยากร  ตางๆ ที่มีการจัดการในรูปของเมนู (คนหาขอมูลในรูปของเมนู)
  • 5. File Transfer Protocol (FTP) เครื่องมือที่ใชในการล็อกออนบนคอมพิวเตอรที่อยูหางไกล ออกไป แลวเขาไปในไดเรกทอรีของไฟลในเครื่องนั้น จากนั้นก็ดาวนโหลดไฟลที่ตองการเขาสู คอมพิวเตอรของคุณ นอกจากนี้คุณยังสามารถอัพโหลดไฟลจากคอมพิวเตอรของคุณไปที่ คอมพิวเตอรที่อยูหางไกลไดดวย การใช FTP จะตองรันโปรแกรมไคลเอนต FTP แลวเชื่อมตอ กับเวิรฟเวอร FTP โดยใชซอรฟแวร FTP Archie จะเปนเครื่องมือที่ชวยใหคุณคนหาไฟลที่ตองการในอินเตอรเน็ตได แตเปน เครื่องมือที่นาเบื่อและชา ดังนั้นผูคนสวนใหญมักจะใชเครื่องมือในการเขาถึงเว็บที่เรียกวา Virtual Software Library (VSL) แทน Telnet จะเปนเครื่องมือที่ใชในการติดตอกับเครื่องคอมพิวเตอรที่อยูหางไกลเสมือนกับ โทรศัพทเขาไปคุยกับเครื่องโดยคุณจะตองใชซอรฟแวร ที่เปนไคลเอนตของ Telnet เชื่อมตอไปยัง เครื่องที่ตองการ WAIS (Wide Area information Service) จะเปนเครื่องมือในการคนหาฐานขอมูลบน อินเตอรเน็ต โดยการพิมพคียเวิรดบางคําลงไป ซึ่งขอมูลเหลานั้นจะบรรจุอินฟอรเมชันที่นาสนใจ มากมาย อยางไรก็ตาม เครื่องมือหรือบริการบนอินเตอรเน็ตบางตัวนั้น สามารถใชงานผานระบบ เวิรลดไวดเว็บ โดยใชโปรแกรมเว็บบราวเซอร เชน Netscape Navigator, Internet Explorer ได เชน FTP, Gopher สวน Telnet ก็สามารถใชบริการไดจากภายใน Windows 95 โดยตรง สิ่งที่จําเปนตองรูบนอินเตอรเน็ต ที่อยูบนอินเตอรเน็ต ที่อยูบนอินเตอรเน็ต (internet Address) หรืออีเมลแอดเดรส จะประกอบดวยชื่อของผูใช คอมพิวเตอร (user) และชื่อของอินเตอรเน็ต (Internet Name) โดยจะมีรูปแบบคือ ผูใช@โฮสตของอินเตอรเน็ต ตัวอยาง เชน saharath@mail.ksc.net.th. จะหมายถึงผูใชชื่อ saharath เปนสมาชิกของ คอมพิวเตอรที่ชื่อ mail ที่มีชื่ออินเตอรเน็ตเปน ksc.net.th หรือ sayam@internet.th.com จะหมายถึงผูใช  ชื่อ sayam เปนสมาชิกของเครื่องที่ศนยคอมพิวเตอรที่มีชื่อเปน internet.th.com ู หมายเลขอินเตอรเน็ต หมายเลขอินเตอรเน็ตหรือ IP Address จะเปนรหัสไมซ้ํากัน ประกอบดวยตัวเลข 4 ชุด ที่ คั่นดวย เครื่องหมายจุด (.) ตัวอยางเชน 203.155.33.1 จะเปน IP Address ของเครื่อง ksc.net.th (แต ละชุดจะไมเกิน 255)
  • 6. ชื่ออินเตอรเน็ต ชื่ออินเตอรเน็ต (DNS : Domain Name Server) จะเปนชื่อที่อางถึงคอมพิวเตอรที่ตอเขากับ อินเตอรเน็ตไดงายขึ้น เชน mail.ksc.net.th, jupiter.ksc.net.th ความหมายของโดเมน com กลุมองคการคา (Commercial) เชน www.ibm.com edu กลุมการศึกษา (Education) เชน www.chula.edu gov กลุมองคการรัฐบาล (Government) เชน www.whitehouse.gov mit กลุมองคการทหาร (Military ) เชน http://www.dtic.mil net กลุมองคการบริการเครือขาย (Network Services) org กลุมองคกรอื่นๆ (Organizations) เชน www.greenpeace.org ถาสังเกตดีๆ จะเห็นวา ในอเมริกาเทานั้น ที่จะมีโดเมนเปนตัวอักษร 3 ตัว ในกรณีที่ ประเทศอื่นๆ เชน ประเทศไทย จะเปนเพียงแค 2 ตัว ตัวอยางคือ www.microsoft.com ของอเมริกา กับ ksc.net.th ของไทย นอกจากนี้ในบานเรานั้น มีการกําหนดโดเมนขึ้นมาใหมเพื่อความสะดวกสะบายในการ ทํางานดวย แตไมไดใชเปนมาตรฐาน โดเมนที่เปนชื่อยอของประเทศที่นาสนใจ โดเมนเนมเหลานี้ จะใชตอตอนทายสุด เพื่อสะดวกในการอางอิงวาเปนโฮสตหรือเว็บไซต ที่อยูในประเทศใด เชน www.ksc.net.th จะเห็นวา ลงทายดวย th จะเปนโดเมนของประเทศไทย au ออสเตรเลีย Austtralia fr ฝรั่งเศส France hk ฮองกง Hong Kong jp ญี่ปุน Japan th ไทย Thailand sg สิงคโปร Singapore uk อังกฤษ United Kingdom
  • 7. ความหมายของซับโดเมน ซับโดเมนจะเปนสวนที่อยูถัดจากโดเมน เปนโดเมนยอยที่เจาะจงลงไปวาเปนหนวยงาน หรือองคกรในดานใด เชน www.ksc.net.th ซับโดเมน คือ net จะเปนองคกรที่ใหบริการดารเครือขาย หรือเน็ตเวิรค  ac สถาบันการศึกษา(Academic) co องคกรธุรกิจ(Commercail) or องคกรอื่นๆที่ไมแสวงหากําไร(Organizations) net ผูวางระบบเน็ตเวิรค(Networking) go หนวยงานรัฐบาล(Government) เตรียมอุปกรณและระบบใหพรอม 1. คอมพิวเตอร ที่จะใชตอเขากับอินเตอรเน็ตควรเปนคอมพิวเตอรที่สามารถใชงาน Windows ไดอยางสะดวกสะบาย เนื่องจากระบบปฏิบัติการ Windows จะเปน ระบบปฏิบัติการที่ทํางานแบบมัลติทาสก 2. สายโทรศัพท เปนสิ่งจําเปนที่จะทําใหคุณเขาสูโลกของอินเตอรเน็ตได ในระหวางที่ คุณตอเขากับอินเตอรเน็ตจะไมมีมครสามารถโทรศัพทมาติดตอกับคุณได 3. โมเด็ม ควรเลือกโมเด็มที่มีความเร็วอยงนอย 28.8 Kbps เพื่อที่จะสามารถใชงาน อินเตอรเน็ตไดในความเร็วที่ดีที่สุดที่สามารถใชงานในขณะนี้ 4. ศูนยบริการอินเตอรเน็ต เปรียบเสมือนเปนประตูเขาสูโลกอินเตอรเน็ต คุณจะตอง สมัครสมาชิกของศูนยบริการอินเตอรเน็ตเสียกอน จึงจะเขาสูอินเตอรเน็ตได 5. ซอรฟแวรที่จําเปน ศูนยบริการอินเตอรเน็ตแตละแหงจะเปนผูจัดหาซอรฟแวรตางๆที่ จําเปนใหกับคุณ ไมวาคุณจะใชระบบปฏิบัติการแบบใดก็ตาม การใชงานอินเตอรเน็ต ขั้นตอนของการติดตั้ง เพื่อการใชงานอินเตอรเน็ต จะประกอบดวย ติดตั้งซอรฟแวรของแตละศูนยบริการอินเตอรเน็ต และโปรแกรมที่ใชหมุนโทรศัพทที่ เชื่อมตอไปยังศูนยบริการอินเตอรเน็ต กําหนดคาตางๆ ของ Windows เพื่อใหเหมาะสมกับการใชงานอินเตอรเน็ต ติดตั้งซอรฟแวรอินเตอรเน็ต เชน เว็บบราวเซอร ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส โทรศัพท อินเตอรเน็ต ฯลฯ ตามตองการ