SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
คำรำชำศัพท์ ตำมรูปศัพท์ หมำยถึง 
ถ้อยคำที่ใช้กับพระมหำกษัตริย์ 
แต่ในปัจจุบัน คำรำชำศัพท์ หมำยถึง ถ้อยคำสุภำพ 
ไพเรำะที่ใช้ให้เหมำะกับฐำนะของบุคคลในสภำพสังคมไทย 
ซึ่งผู้ที่ต้องใช้คำรำชำศัพท์ด้วยมี ดังนี้ 
พระมหำกษัตริย์ 
1. พระบรมวงศำนุวงศ์ 
2. พระภิกษุ 
3. ขุนนำงข้ำรำชกำร 
4. สุภำพชน 
บุคคลในกลุ่มที่ 1 และ 2 จะใช้รำชำศัพท์ชุดเดียวกัน 
เช่นเดียวกับบุคคลในกลุ่มที่ 4 และ 5 
ก็ใช้คำรำชำศัพท์ในชุดเดียวกันและเป็นคำรำชำศัพท์ที่เรำใช้อ 
ยู่เป็นประจำใน 
สังคมมนุษย์เรำถือว่ำกำรให้เกียรติแก่บุคคลที่เป็นหัวหน้ำชุมชน 
หรือผู้ที่ชุมชนเคำรพนับถือนั้น 
เป็นวัฒนธรรมอย่ำงหนึ่งของมนุษยชำติ ทุกชำติ ทุกภำษำ 
ต่ำงยกย่องให้เกียรติแก่ผู้เ ป็นประมุขของชุมชนด้วยกันทั้งสิ้น 
ดังนั้นแทบทุกชำติ ทุกภำษำจึงต่ำงก็มี คำสุภำพ สำหรับ 
ใช้กับประมุขหรือผู้ที่เขำเคำรพนับถือ 
จะมำกน้อยย่อมสุดแต่ขนบประเพณีของชำติ
และจิตใจของประชำชนในชำติว่ำมีควำมเคำรพในผู้เป็นประมุข 
เพียงใด 
เมืองไทยเรำก็มีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุขของชำติ 
และพระประมุขของเรำ แต่ละพระองค์ทรงพระปรีชำสำมำรถ 
จึงทำให้ประชำชนส่วนใหญ่มีควำม 
เคำรพสักกำระอย่ำงสูงสุดและมีควำมจงรกภักดีอย่ำงแนบแน่นต 
ลอดมำนับตั้งแต่ 
โบรำณกำลจนถึงปัจจุบันคำรำชำศัพท์เริ่มมีมำตั้งแต่สมัยใด 
ในแหล่งอ้ำงอิงบำงฉบับได้ให้ข้อสันนิษฐำนไว้ว่ำ 
คนไทยเริ่มใช้คำรำชำศัพท์ในรัชสมัยพระธรรมรำชำลิไท 
พระร่วงองค์ที่ 5 แห่งสุโขทัย เพรำะศิลำจำรึกต่ำงในแผ่นดินนั้น 
รวมทั้งบทพระรำชนิพนธ์ของท่ำน คือ ไตรภูมิพระร่วง 
ปรำกฏว่ำมีคำรำชำศัพท์อยู่หลำยคำ เช่น รำชอำสน์ พระสหำย 
สมเด็จ รำชกุมำร เสด็จ บังคม เสวยรำชย์ รำชำภิเศก เป็นต้น 
บำงท่ำนกล่ำวว่ำ 
คำรำชำศัพท์นั้นเริ่มใช้ในสมัยกรุงศรีอยุธยำ 
เพรำะพระปฐมบรมกษัตริย์ที่ทรงสร้ำงกรุงศรีอยุธยำ 
ทรงนิยมเขมร ถึงกับเอำลัทธิและภำษำเขมรมำใช้ เช่น เอำคำว่ำ 
"สมเด็จ" 
ซึ่งเขมรใช้เป็นคำนำพระนำมพระเจ้ำแผ่นดินมำเป็นคำนำพระน 
ำมของพระองค์ และใช้ภำษำเขมรเป็นรำชำศัพท์ 
และจำกหลักฐำนที่พบข้อควำมในศิลำ จำรึกวัดศรีชุม 
กล่ำวถึงเรื่องตั้งรำชวงศ์และเมืองสุโขทัยตอนหนึ่งมีควำมว่ำ 
"พ่อขุนผำเมืองจึงอภิเสกพ่ขุนบำงกลำงหำวใหเมืองสุโขไท" 
คำว่ำ "อภิเษก" นี้เป็นภำษำสันสกฤต
ไทยเรำรับมำใช้สำหรับพิธีกำรแต่งตั้งตำแหน่งชั้นสูง 
จึงอยู่ในประเภทรำชำศัพท์ และพิธีนี้มีมำตั้งแต่รำชวงศ์สุโขทัย 
จึงน่ำสงสัยว่ำในสมัยนั้นอำณำจักรสุโขทัยนี้ 
ก็คงจะมีกำรใช้คำรำชำศัพท์บำงคำกันแล้ว 
ภำษำที่ใช้คำรำชำศัพท์ 
คำรำชำศัพท์มิได้มีที่มำจำกภำษำไทย ภำษำเดียว 
ด้วยว่ำกำรใช้คำรำชำศัพท์เป็นกำรใช้ด้วยตั้งใจ 
จะทำให้เกิดควำมรู้สึกยกย่อง เทิดทูน 
จึงได้เจำะจงรับคำในภำษำต่ำงๆ 
ที่มีควำมสัมพันธ์ใกล้ชิดกับไทยมำใช้เป็นพิเศษ 
โดยเฉพำะภำษำที่นับถือกันว่ำเป็นภำษำสูงและศักดิ์สิทธิ์ 
คำรำชำศัพท์ส่วนใหญ่จึงมีที่มำจำกภำษำต่ำงประเทศมำกมำย 
อย่ำงไรก็ตำมก็ยังมีคำรำชำศัพท์จำนวนไม่น้อยที่ใช้คำภำษำไท 
ยแท้ ซึ่งเป็นคำสำมัญยกระดับขึ้นเป็นคำรำชำศัพท์ 
ดังนั้นจึงอำจกล่ำวได้ว่ำคำรำชำศัพท์นั้นมีที่มำจำกทั้งภำษำต่ำง 
ประเทศและ ภำษำไทยของเรำเอง 
ดังจะได้พิจำรณำต่อไปนี้จำกภำษำต่ำงประเทศ 
ตั้งแต่สมัยโบรำณมำ 
คนไทยได้ติดต่อกับคนต่ำงชำติต่ำงภำษำมำกมำย 
ในบรรดำภำษำทั้งหลำยเหล่ำนั้น 
มีบำงภำษำที่เรำยกย่องกันว่ำเป็นภำษำสูงและศักดิ์สิทธิ์ 
ซึ่งก็ได้แก่ ภำษำเขมร บำลี และสันกฤต 
ภำษำอื่นๆก็นำมำใช้เป็นคำรำชำศัพท์บ้ำง 
แต่ก็ไม่มำกและสังเกตได้ชัดเจนเท่ำ 3 ภำษำที่กล่ำวแล้ว
คำรำชำศัพท์ นั้น มีที่มำอยู่ 2 อย่ำง คือ 
1. รับมำจำกภำษำอื่น ภำษำเขมร เช่น โปรด เขนย เสวย 
เสด็จ เป็นต้น ภำษำบำลี-สันสกฤต เช่น อำพำธ เนตร หัตถ์ 
โอรส เป็นต้น 
2. กำรสร้ำงคำขึ้นใหม่ โดยกำรประสมคำ เช่น 
ลูกหลวงซับพระพักตร์ ตั้งเครื่อง เป็นต้น 
กำรเรียนรู้เรื่องคำรำชำศัพท์ 
ตำมที่หลำยคนคิดว่ำคำรำชำศัพท์เป็นเรื่องของในรั้วในวัง 
เป็นเรื่องของผู้ใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบำทนั้น 
ทำให้คิดต่อไปอีกว่ำ 
คำรำชำศัพท์เป็นเรื่องยำกซึ่งเมื่อก่อนอำจเป็นจริง 
แต่ปัจจุบันคำรำชำศัพท์เป็นเรื่องในชีวิตประจำวันไปเสียแล้ว 
แม้มิได้ใช้มำกเท่ำกับภำษำสำมัญที่ใช้อยู่ในกำรดำรงชีวิตประ 
จำวันแต่ทุกคน 
โดยเฉพำะผู้มีกำรศึกษำก็ต้องมีโอกำสที่จะสัมผัสกับคำรำชำศัพ 
ท์ทุกวัน ไม่โดยตรงก็โดยทำงอ้อม โดยเฉพำะทำงสื่อมวลชน 
กำรเรียนรู้วิธีใช้คำรำชำศัพท์นั้น กล่ำวโดยสรุป 
ต้องเรียนรู้ใน 2 ประกำร คือ เรียนรู้คำ ประกำรหนึ่งกับ 
เรียนรู้วิธี อีกประกำรหนึ่ง 
1. เรียนรู้คำ คือ ต้องเรียนรู้คำรำชำศัพท์
2. เรียนรู้วิธี คือ 
ต้องเรียนรู้วิธีหรือเรียนรู้ธรรมเนียมกำรใช้คำรำชำศัพท์ 
ประโยชน์ของกำรเรียนรู้คำรำชำศัพท์ 
เพรำะเหตุที่ว่ำสถำบันพระมหำ 
กษัตริย์เป็นสถำบันที่สูงสุดของ ประเทศมำแต่โบรำณ 
พระเจ้ำแผ่นดินทรงใกล้ชิดกับประชำชนอย่ำงแนบแน่นประกำร 
หนึ่ง 
คำรำชำศัพท์นั้นเป็นแบบอย่ำงวัฒนธรรมอันดีทำงด้ำนกำรใช้ภ 
ำษำไทยประกำรหนึง และกำรอ่ำนหรือศึกษำวรรณคดีก็ดี 
กำรรับสำรสื่อมวลชนในปัจจุบันก็ดี 
เหล่ำนี้ล้วนต้องมีคำรำชำศัพท์เกี่ยวข้องอยู่ด้วยเสมออีกประกำร 
หนึ่ง 
ดังนั้นกำรเรียนรู้คำรำชำศัพท์จึงเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ทั้งทำงตรง 
และทำง อ้อมมำกมำย ดังจะเห็นได้ดังต่อไปนี้ 
ประโยชน์ทำงตรง 
เป็นประโยชน์ที่เกิดจำกกำรตั้งเป้ำหมำยไว้ล่วงหน้ำ 
อันได้แก่ 
1. ประโยชน์จำกกำรใช้คำรำชำศัพท์ถูกต้อง 
ที่เรียกว่ำใช้คำรำชำศัพท์ถูกต้องนั้น คือ 
ถูกต้องตำมบุคคลที่ใช้ว่ำบุคคลใดควรใช้รำชำศัพท์ขั้นไห
น อย่ำงไร ประกำรหนึ่ง ถูกต้องตำมโอกำส คือ 
โอกำสใดใชคำรำชำศัพท์หรือไม่เพียงใด ประกำรหนึ่ง 
และถูกต้องตำมวิธีกำรใช้คือ 
ใช้ถูกต้องตำมแบบแผนที่นิยมนั้นก็อีกประกำรหนึ่ง 
กำรใช้รำชำศัพท์ต้องใช้ทั้งควำมรุ้และประสบกำรณ์เป็นดุล 
ยพินิจให้ถูกต้อง 
2. ประโยชน์จำกกำรเข้ำใจที่ถูกต้อง 
ไม่ว่ำจำกกำรอ่ำนหนังสือประเภทต่ำงๆ เช่น 
วรรณกรรมทั่วไป วรรณคดี หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์ทั้งหลำย 
โทรทัศน์ วิทยุ ตลอดจนสิ่งบันเทิงทั้งหลำย มีภำพยนต์ 
ละคร โขน ลิเก เป็นต้น เพรำะกำรรับรู้ รับฟัง 
บำงครั้งต้องมีสิ่งที่เรียกว่ำ คำรำชำศัพท์ร่วมอยู่ด้วยเสมอ 
ทั้งที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจ 
ประโยชน์โดยทำงอ้อม 
เป็นประโยชน์ผลพลอยได้ 
แม้ตั้งเป้ำหมำยไว้ล่วงหน้ำหรือไม่ตั้งเป้ำหมำยไว้ก็ตำม คือ 
เมื่อรู้คำรำชำศัพท์ดี ถูกต้อง 
ฟังหรืออ่ำนเรื่องรำวที่มีคำรำชำศัพท์เข้ำใจผลประโยชน์พลอยไ 
ด้ ก็จะเกิดขึ้นเสมอ ดังนี้ 
1. ธำรงรักษำวัฒนธรรมอันดีงำนของชำติไว้
คือ รักษำให้คงอยู่ไม่เสื่อมสูญ 
ถือเป็นกำรธำรงรักษำวัฒนธรรมและควำมมั่นคงของประเท 
ศชำติ 
2. เพิ่มควำมมีเสน่ห์ในตัวบุคคล 
คือ บุคคลผู้รู้และใช้คำรำชำศัพท์ได้อย่ำงถูกต้อง 
เป็นกำรแสดงออกซึ่งควำมมีวัฒนธรรมอันดีงำมทำงภำษำ 
คำรำชำศัพท์สำหรับพระมหำกษัตริย์ 
และพระบรมวงศำนุวงศ์ลำดับพระรำชอิสริยศักดิ์พระบรมรำชวง 
ศ์ 
1. พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว , สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ 
2. สมเด็จพระบรมรำชินี , สมเด็จพระบรมรำชชนนี , 
สมเด็จพระยุพรำช , สมเด็จพระสยำมบรมรำชกุมำรี 
3. สมเด็จเจ้ำฟ้ำ 
4. พระเจ้ำบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำ 
5. พระเจ้ำวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำ 
6. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำ 
7. หม่อมเจ้ำ 
มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำรำชำศัพท์ 
คือ 
ต้องกำรยกย่องให้เกียรติดังนั้นกำรศึกษำเรื่องคำรำชศัพท์ นี้ 
จึงแบ่งเป็น 2 ตอน ใหญ่ๆคือ ตอนที่ 1 
ศัพท์สำหรับพระมหำกษัตริย์ และพระบรมวงศำนุวงศ์ ตอนที่ 2 
ศัพท์สำหรับพระภิกษุสงฆ์
รำชำศัพท์สำหรับพระมหำกษัตริย์ 
 คำนำมที่เป็นชื่อสิ่งของสำคัญที่ควรยกย่อง มีคำเติมหน้ำ 
ได้แก่ พระบรมมหำรำช พระบรมมหำ พระบรมรำช 
พระบรม พระอัครำช พระอัคร และพระมหำ เช่น 
พระบรมมหำรำชวัง พระบรมมหำชนกพระบรมรำชชนนี 
พระบรมรำชวงศ์ พระบรมอัฐิ พระบรมโอรสำธิรำช 
พระอัครชำยำ พระมหำปรำสำท พระมหำเศวตฉัตร 
เป็นต้น 
 คำนำมเป็นชื่อสิ่งสำคัญรองลงมำ นำหน้ำด้วยคำ“พระรำช” 
เช่น พระรำชวังพระรำชวงศ์ พระรำชทรัพย์ 
พระรำชลัญจกร เป็นต้น 
 คำนำมเป็นชื่อของสิ่งสำมัญทั่วไปที่ไม่ถือ 
ว่ำสำคัญส่วนใหญ่เป็นคำ บำลีสันสกฤต เขมร 
และคำไทยเก่ำ 
แต่บำงคำก็เป็นคำไทยธรรมดำนำหน้ำด้วยคำ “พระ” เช่น 
พระกร พระบำทพระโรค พระฉำย พระแท่น พระเครำะห์ 
เป็นต้น คำนำมใดที่เป็นคำประสม มีคำ “พระ” 
ประกอบอยู่แล้ว ห้ำมใช้คำ “พระ” นำหน้ำซ้อนอีก เช่น 
พำนพระศรี (พำนหมำก) ขันพระสำคร (ขันน้ำ) เป็นต้น 
 คำนำมที่เป็นชื่อสิ่งไม่สำคัญและคำนั้นมัก เป็นคำไทย 
นำหน้ำด้วยคำว่ำ “ต้น” เช่น ม้ำต้น ช้ำงต้น เรือนต้น 
และนำหน้ำด้วย “หลวง” เช่น ลูกหลวง หลำนหลวง 
รถหลวง เรือหลวง สวนหลวง ส่วน “หลวง” ที่แปลว่ำใหญ่ 
ไม่จัดว่ำเป็นรำชำศัพท์ เช่นภรรยำหลวง เขำหลวง
ทะเลหลวง เป็นต้น นอกจำกคำว่ำ “ต้น” และ “หลวง” 
ประกอบท้ำยคำแล้ว บำงคำยังประกอบคำอื่นๆ อีก เช่น 
รถพระที่นั่ง เรือพระที่นั่ง รถทรง เรือทรง ม้ำทรง ช้ำงทรง 
น้ำสรง ห้องสรง ของเสวย โต๊ะเสวย ห้องบรรทม เป็นต้น 
ศัพท์สำหรับเจ้ำนำยหรือพระบรมวงศำนุวงศ์ 
คือตั้งแต่สมเด็จพระบรมรำชินีลงไปถึงหม่อมเจ้ำ 
 ใช้พระรำชนำหน้ำ เช่น พระรำชเสำวนีย์ พระรำชประวัติ 
พระรำชดำรัlส พระรำชกุศล พระรำโชวำท พระรำโชบำย 
เป็นต้น 
 ใช้พระนำหน้ำ เช่น พระเศียร พระองค์ พระหัตถ์ พระทัย 
พระบำท เว้นแต่หม่อมเจ้ำไม่ใช้ “พระ” นำหน้ำ ใช้ว่ำ เศียร 
องค์ หัตถ์ หทัย บำท เป็นต้น 
 คำนำมรำชำศัพท์สำหรับเจ้ำนำยอยู่ในตัว 
ไม่ต้องใช้คำนำหน้ำหรือคำต่อท้ำย เช่น วัง ตำหนัก 
ดังที่กล่ำวมำแล้วข้ำงต้น 
รำชำศัพท์สำหรับพระภิกษุสงฆ์ 
ไทยเรำมีคำพูดที่ใช้กับพระภิกษุโดย 
เฉพำะอยู่ประเภทหนึ่งบำงทีก็ เป็นคำที่พระภิกษุเป็นผู้ใช้เอง 
ซึ่งคนไทยส่วนใหญ่จะรู้จักกันหมดแล้ว เช่น คำว่ำ อำตมำภำพ 
หรืออำตมำ มีควำมหมำยเท่ำกับ ฉัน 
บำงคำก็ทั้งท่ำนใช้เองและเรำใช้กับท่ำน เช่น คำว่ำ ฉัน 
หมำยถึง กิน เป็นต้น กำรพูดกับพระภิกษุต้องมีสัมมำคำรวะ 
สำรวม ไม่ใช้ถ้อยคำที่เป็นไปในทำนองพูดเล่นหรือพูดพล่อยๆ 
ซึ่งจะเป็นกำรขำดควำมเคำรพไปสำหรับพระภิกษุ 
เรำจำเป็นต้องทรำบรำชทินนำม เรียกว่ำ
พระภิกษุผู้ทรงสมณศักดิ์ ของพระภิกษุเรียงลำดับได้ดังนี้ 
เพื่อที่จะได้ใช้ได้อย่ำงถูกต้อง 
1. สมเด็จพระสังฆรำช 
2. สมเด็จพระรำชำคณะ หรือ ชั้นสุพรรณปัฎ คือ 
พระภิกษุที่มีรำชทินนำมนำหน้ำด้วยคำว่ำ "สมเด็จพระ" 
3. พระรำชำคณะชั้นรอง 
4. พระรำชำคณะชั้นธรรม พระรำชำคณะชั้นนี้มักมีคำว่ำ 
"ธรรม" นำหน้ำ 
5. พระรำชำคณะชั้นเทพ พระรำชำคณะชั้นนี้มักมีคำว่ำ 
"เทพ" นำหน้ำ 
6. พระรำชำคณะชั้นรำช พระรำชำคณะชั้นนี้มักมีคำว่ำ 
"รำช" นำหน้ำ 
7. พระรำชำคณะชั้นสำมัญ 
8. พระครูสัญญำบัติ , พระครูชั้นประทวน , 
พระครูฐำนำนุกรม 
9. พระเปรียญตั้งแต่ 3-9 
กำรใช้คำพูดกับพระภิกษุทรงสมณศักดิ์ 
ที่ผิดกันมำกคือชั้นสมเด็จพระรำชำคณะเห็นจะเป็นเพรำะมีคำว่ำ 
"สมเด็จ" นำหน้ำจึงเข้ำใจว่ำต้องใช้คำรำชำศัพท์ ซึ่งผิด 
ควำมจริงแล้ว 
พระภิกษุทรงสมณศักดิ์ที่ต้องใช้รำชำศัพท์มีเฉพำะเพียงสมเด็จ 
พระสังฆรำชเท่ำ นั้น เว้นแต่พระภิกษุรูปนั้นๆ 
ท่ำนจะมีฐำนันดรศักดิ์ทำงพระรำชวงศ์อยู่แล้ว. 
คำรำชำศัพท์ที่ควรทรำบ
พระภิกษุที่เป็นพระรำชวงศ์ 
ใช้รำชำศัพท์ตำมลำดับชั้นแห่งพระรำชวงศ์ 
สำหรับสมเด็จพระสังฆรำชเจ้ำ(สมเด็จพระสังฆรำชที่เป็นพระรำ 
ชวงศ์) ใช้ดังนี้ 
คำขึ้นต้น ใช้ว่ำ ขอประทำนกรำบทูล (กล่ำวพระนำมเต็ม) 
สรรพนำมแทนผู้พูด ใช้ว่ำ ข้ำพระพุทธเจ้ำ 
สรรพนำมแทนพระองค์ท่ำน ใช้ว่ำ ใต้ฝ่ำพระบำท 
คำลงท้ำย ใช้ว่ำ 
ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้ำโปรดกระหม่อม 
สมเด็จพระสังฆรำช ซึ่งดำรงตำแหน่งสกลมหำสังฆปริณำยก 
ใช้รำชำศัพท์เสมอพระเจ้ำวรวงศ์เธอ (ที่มิได้ทรงกรม) เช่น 
คำขึ้นต้น ใช้ว่ำ กรำบทูล (กล่ำวพระนำมเต็ม) 
สรรพนำมแทนผู้พูด ใช้ว่ำ เกล้ำกระหม่อม (สำหรับชำย), 
เกล้ำกระหม่อมฉัน(สำหรับหญิง) 
สรรพนำมแทนพระองค์ท่ำน ใช้ว่ำ ฝ่ำพระบำท 
คำลงท้ำย ใช้ว่ำ ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด 
สรรพนำมบุรุษที่ 1 ที่พระภิกษุใช้ 
คำที่ใ 
ช้ 
โอกำสที่ใช้ 
อำตมำ 
พระภิกษุใช้กับบุคคลธรรมดำที่เป็นผู้ใหญ่หรือมีฐำนะตำ 
แหน่งสูงในโอกำสที่ไม่เป็นทำงกำร
อำตมำ 
ภำพ 
พระภิกษุใช้กับพระรำชวงศ์ตั้งแต่หม่อมเจ้ำขึ้นไป 
และใช้ในโอกำสที่เป็นทำงกำร เช่น 
กำรแสดงพระธรรมเทศนำ 
เกล้ำก 
ระผม 
พระภิกษุใช้กับพระภิกษุที่เป็นอุปัชฌำย์อำจำรย์หรือที่ 
ดำรงสมณศักดิ์สูงกว่ำ 
ผม,กร 
ะผม 
พระภิกษุใช้กับพระภิกษุด้วยกันโดยทั่ว ๆ ไป 
สรรพนำมบุรุษที่ 2 ที่พระภิกษุใช้ 
คำที่ใช้ โอกำสที่ใช้ 
มหำบพิตร พระเจ้ำแผ่นดิน 
บพิตร พระรำชวงค์ 
คุณโยม บิดำ, มำรดำ, ญำติผู้ใหญ่หรือผู้ที่อำวุโสสูง 
คุณ,เธอ ใช้กับบุคคลทั่วไป 
สรรพนำมบุรุษที่ 2 ที่ฆรำวำสใช้ 
คำที่ใช้ โอกำสที่ใช้ 
พระคุณเจ้ำ 
ฆรำวำสใช้กับสมเด็จพระรำชำคณะ, 
รองสมเด็จพระรำชำคณะ 
พระคุณท่ำน ฆรำวำสใช้กับพระรำชำคณะชั้นรองลงมำ
ท่ำน ใช้กับพระภิกษุทั่วไป 
คำขำนรับที่พระภิกษุใช้ 
คำที่ใช้ โอกำสที่ใช้ 
ขอถวำยพระพร พระรำชวงค์ 
เจริญพร ฆรำวำสทั่วไป 
ครับ,ขอรับ ใช้กับพระภิกษุด้วยกัน 
ศัพท์สำหรับพระภิกษุที่พบบ่อย 
คำที่ใช้ โอกำสที่ใช้ 
รูป ลักษณะนำมสำหรับพระภิกษุสงฆ์ 
อำรำธนำ ขอเชิญ 
เจริญพระพุทธมนต์ สวดมนต์ 
ภัตตำหำร อำหำร 
ประเคน ยกของ(ด้วยมือ)ให้พระ 
ฉัน กิน 
ถวำย มอบให้ 
เครื่องไทยธรรม ของถวำยพระ, ของทำบุญต่ำง ๆ 
อนุโมทนำ ยินดีด้วย 
อำสนะ, อำสน์สงฆ์ ที่นั่ง
ธรรมำสน์ ที่แสดงธรรม 
เสนำสนะ สถำนที่ที่ภิกษุใช้ 
จำวัด นอน 
สรง อำบน้ำ 
มรณภำพ ตำย 
ปลงผม โกนผม 
กุฏิ เรือนพักในวัด 
จำพรรษ อยู่ประจำวัด 
อุปสมบท บวช (บวชเป็นพระภิกษุ) 
บรรพชำ บวช (บวชเป็นสำมเณร) 
ลำสิกขำ สึก 
คิลำนเภสัช ยำรักษำโรค 
ลิขิต จดหมำย 
ครองผ้ำ แต่งตัว 
ถวำยอดิเรก กล่ำวบทอวยพรพระมหำกษัตริย์ 
บิณฑบำต รับของใส่บำตร 
ปลงอำบัติ แจ้งควำมผิดให้ทรำบ 
ปัจจัย เงิน 
ทำวัตร สวดมนต์ 
เผดียงสงฆ์ แจ้งให้สงฆ์ทรำบ 
สุผ้ำ ซักผ้ำ, ย้อมผ้ำ 
อำพำธ ป่วย
วิธีใช้คำประกอบหน้ำคำรำชำศัพท์ 
1. พระบรมรำช ใช้ประกอบหน้ำคำเพื่อให้เห็นว่ำสำคัญยิ่ง 
ในกรณีที่ต้องกำรเชิดชูพระรำชอำนำจ 
2. พระบรม ใช้ประกอบหน้ำคำเพื่อให้เห็นว่ำสำคัญยิ่ง 
ในกรณีที่ต้องกำรเชิดชูพระรำชอิสริยยศ 
3. พระรำช 
ใช้ประกอบหน้ำคำเพื่อให้เห็นว่ำสำคัญรองมำจำก 
พระบรม 
เพื่อแสดงให้เห็นว่ำเป็นสิ่งเฉพำะขององค์พระเจ้ำแผ่นดิน 
วิธีใช้คำประกอบหลังคำรำชำศัพท์ 
1. ทรง ใช้ประกอบหลังคำนำม เพื่อเป็นคำนำมรำชำศัพท์ 
2. ต้น ใช้ประกอบหลังคำนำมสำคัญทั่วไป 
เพื่อทำให้เป็นคำนำมรำชำศัพท์ 
มักใช้กับสิ่งที่โปรดเป็นพิเศษ 
3. หลวง ใช้ประกอบหลังคำนำมสำมัญทั่วไป 
เพื่อให้เป็นนำมรำชำศัพท์ 
4. พระที่นั่ง ใช้ประกอบหลังคำนำมสำมัญ 
เพื่อให้เป็นนำมรำชำศัพท์ 
มีควำมหมำยว่ำเป็นที่ประทับส่วนพระองค์ 
 คำรำชำศัพท์ที่ควรทรำบ 
 คำรำชำศัพท์ที่ใช้เป็นคำนำม 

 
คำสำมัญ คำรำชำศัพท์ 
คำสำมั 
ญ 
คำรำชำศัพท์ 
หัว(พระมหำกษั 
ตริย์) 
พระเจ้ำ หัว พระเศียร 
ผม(พระมหำกษั 
ตริย์) 
เส้นพระเจ้ำ ผม 
พระเกศำ,พระเกศ,พระ 
ศก 
หน้ำผำก พระนลำฎ คิว พระขนง,พระภมู 
ขนระหว่ำงคิว พระอุณำโลม ดวงตำ 
พระจักษุ,พระนัยนำ,พ 
ระเนตร 
จมูก 
พระนำสำ,พระ 
นำสิก 
แก้ม พระปรำง 
ปำก พระโอษฐ์ ฟัน พระทนต์ 
ลิ้น พระชิวหำ คำง พระหนุ 
หู พระกรรณ คอ พระศอ 
ดวงตำ พระพักตร์ หนวด พระมัสสุ 
บ่ำ,ไหล่ พระอังสำ 
ต้นแข 
น 
พระพำหำ,พระพำหุ 
ปลำยแขน พระกร มือ พระหัตถ์ 
นิ้วมือ พระองคุลี เล็บ พระนขำ 
ห้อง พระอุทร เอว พระกฤษฎี,บั้นพระเอว 
ขำ,ตัก พระเพลำ แข้ง พระชงฆ์ 
เท้ำ พระบำท ขน พระโลมำ
ปอด พระปัปผำสะ กระดูก พระอัฐิ 
 
 คำรำชำศัพท์ที่ใช้เป็นคำสรรพนำม 
 บุรุษที่ 1 
 
สรรพนำม ผู้พูด ผู้ฟัง 
ข้ำพระพุทธเจ้ำ บุคคลทั่วไป 
พระมหำกษัตริย์,เจ้ำนำยชั้น 
สูง 
เกล้ำกระหม่อมฉั 
น 
บุคคลทั่วไป(หญิ 
ง) 
เจ้ำนำยชั้นรองลงมำ 
เกล้ำกระหม่อม 
บุคคลทั่วไป(ชำย 
) 
เกล้ำกระผม บุคคลทั่วไป 
 
 บุรุษที่ 2 
 
สรรพนำม ผู้พูด ผู้ฟัง 
ใต้ฝ่ำละอองธุลี 
เจ้ำนำยหรือบุคคล 
พระบำท 
ทั่วไป 
พระมหำกษัตริย์,พระบรมร 
ำชินีนำถ 
ใต้ฝ่ำละอองพร 
ะบำท 
เจ้ำนำยหรือบุคคล 
ทั่วไป 
พระบรมโอรสำธิรำช,พระบ 
รมรำชกุมำรี
ใต้ฝ่ำพระบำท 
เจ้ำนำยหรือบุคคล 
ทั่วไป 
เจ้ำนำยชั้นสูง 
ฝ่ำพระบำท 
เจ้ำนำยที่เสมอกันเ 
หรือผู้น้อย 
เจ้ำนำยชั้นหม่อมเจ้ำถึงพร 
ะเจ้ำวรวงศ์เธอ 
 
 บุรุษที่ 3 
 
สรรพนำม ผู้พูด ใช้กับ 
พระองค์ บุคคลทั่วไป พระมหำกษัตริย์,เจ้ำนำยชั้นสูง 
ท่ำน บุคคลทั่วไป เจ้ำนำย 
 
 คำขำนรับ 
 
คำ ผุ้ใช้ ใช้กับ 
พระพุทธเจ้ำข้ำขอรับใส่เกล้ำใส่กระหม่อ 
ชำย 
ม 
พระมหำกษัตริ 
ย์ 
เพคะใส่เกล้ำใส่กระหม่อมหรือเพคะ 
หญิ 
ง 
พะมหำกษัตริย์ 
พระพุทธเจ้ำข้ำขอรับ,พระพุทธเจ้ำข้ำ ชำย เจ้ำนำยชั้นสูง 
เพค่ะกระหม่อม 
หญิ 
ง 
เจ้ำนำยชั้นสูง
 
 
คำรำชำศัพท์ที่ใช้เป็นคำกริยำ 
เป็นคำแสดงอำกำร แบ่งเป็น 4 ชนิด 
 กริยำที่เป็นรำชำศัพท์ในตัวเอง เช่น ตรัส(พูด) เสด็จ(ไป) 
กริ้ว(โกรธ) ประชวร (ป่วย) ประสูติ(เกิด) ทูล(บอก) 
เสวย(กิน) ถวำย(ให้) บรรทม(นอน) ประทับ(อยู่) 
โปรด(รัก,ชอบ) ทรงม้ำ(ขี่ม้ำ) ทรงดนตรี(เล่นดนตรี) 
 ใช้ทรงนำหน้ำกริยำธรรมดำ เช่น ทรงฟัง ทรงยืน ทรงยินดี 
 ห้ำมใช้ทรงนำหน้ำกริยำที่มีนำมรำชำศัพท์ เช่น 
มีพระรำชดำริ(ห้ำมใช้ทรงมีพระรำชดำริ) 
มีพระบรมรำชโองกำร (ห้ำมใช้ทรงมีพระบรมรำชโองกำร) 
 ใช้เสด็จนำหน้ำกริยำบำงคำ เช่นเสด็จกลับ เสด็จขึ้น 
เสด็จลง 
คำกริยำที่ประสมขึ้นใช้เป็นรำชำศัพท์ตำมลำดับชั้นบุคคล 
กริย 
ำ 
รำชำศัพท์ ชั้นบุคคล 
เกิด พระรำชสมภพ 
พระมหำกษัตริย์,พระบรมรำชิ 
นี
ประสูติ เจ้ำนำย 
ตำย สวรรคต 
พระมหำกษัตริย์,พระบรมรำชิ 
นี 
ทิวงคต พระยุพรำชหรือเทียบเท่ำ 
สิ้นพระชนม์ พระองค์เจ้ำหรือเจ้ำนำยชั้นสู 
ถึงชีพิตักษัย,สิ้นชีพิตักษั 
ย 
หม่อมเจ้ำ 
ถึงแก่อสัญกรรม นำยกรัฐมนตรี 
ถึงแก่อนิจกรรม รัฐมนตรี 
คำขึ้นต้นและคำ ลงท้ำยในกำรกรำบบังคมทูล กรำบทูล 
และทูลด้วยวำจำ 
ฐำนันดรของ 
ผู้ฟัง 
คำขึ้นต้น คำลงท้ำย 
พระบำทสมเ 
ด็จพระเจ้ำอ 
ยู่หัว , 
สมเด็จพระบ 
รมรำชินีนำถ 
ขอเดชะฝ่ำละอองธุลีพร 
ะบำทปกเกล้ำปกกระห 
ม่อม 
ด้วยเกล้ำด้วยกระหม่อมข 
อเดชะ 
สมเด็จพระบ ขอพระรำชทำนกรำบบั ด้วยเกล้ำด้วยกระหม่อม
รมรำชินี , 
สมเด็จพระบ 
รมรำชชนนี 
, 
สมเด็จพระยุ 
พรำช , 
สมเด็จพระส 
ยำมบรมรำช 
กุมำรี 
งคมทูลทรำบฝ่ำละออง 
พระบำท 
ควรมีควรแล้วแต่จะทรงพิ 
จำรณำโปรดเกล้ำโปรดก 
ระหม่อม 
สมเด็จเจ้ำฟ้ำ 
ขอพระรำชทำนกรำบทู 
ลทรำบฝ่ำพระบำท 
ควรมีควรแล้วแต่จะทรงพิ 
จำรณำโปรดเกล้ำโปรดก 
ระหม่อม 
พระเจ้ำบรมว 
งศ์เธอ 
พระองค์เจ้ำ 
ขอประทำนกรำบทูลทร 
ำบฝ่ำพระบำท 
ควรมีควรแล้วแต่จะทรงพิ 
จำรณำโปรดเกล้ำโปรดก 
ระหม่อม 
พระเจ้ำวรวง 
ศ์เธอ 
พระองค์เจ้ำ 
พระวรวงศ์เธ 
อ 
พระองค์เจ้ำ 
กรำบทูลฝ่ำพระบำท ควรมีควรแล้วแต่จะโปรด 
หม่อมเจ้ำ 
ทูลฝ่ำพระบำททรงทรำ 
บ 
แล้วแต่จะโปรด 
กำรใช้คำรำชำศัพท์ในกำรเพ็ดทูล 
หลักเกณฑ์ในกำรกรำบบังคมทูลพระเจ้ำแผ่นดิน
1. ถ้ำผู้รับคำกรำบบังคมทูลไม่ทรงรู้จัก ควรแนะนำตนเองว่ำ 
"ขอเดชะฝ่ำละอองธุลีพระบำทปกเกล้ำปกหระหม่อม 
ข้ำพระพุทธเจ้ำ ......................ชื่อ.................... 
ขอพระรำชทำนพระบรมรำชวโรกำสกรำบบังคมทูลพระกรุ 
ณำทรำบฝ่ำละอองธุลีพระบำท" และลงท้ำยว่ำ 
ด้วยเกล้ำด้วยกระหม่อมขอเดชะ 
2. ถ้ำกรำบบังคมทูลธรรมดำ เช่น 
ทรงมีกระแสพระรำชดำรัสถำมส่ำชื่ออะไร 
ก็กรำบบังคมทูลว่ำ "ข้ำพระพุทธเจ้ำ ชื่อ 
...................พระพุทธเจ้ำข้ำ" 
3. ถ้ำต้องกำรกรำบบังคมทูลถึงควำมสะดวกสบำย 
หรือรอดอันตรำยให้ใช้คำว่ำ 
"เดชะพระบำรมีปกเกล้ำปกกระหม่อม......................" 
4. ถ้ำจะกรำบบังคมทูลถึงสิ่งที่ทำผิดพลำดไม่สมควรทำให้ใช้ 
คำนำ "พระรำชอำญำไม่พ้นเกล้ำพ้นกระหม่อม" 
5. ถ้ำจะกรำบบังคมทูลขอพระรำชทำนพระมหำกรุณำใช้คำว่ 
ำ "ขอพระบำรมีปกเกล้ำปกกระหม่อม" 
6. ถ้ำจะกรำบบังคมทูลถึงของหยำบมิบังควร ใช้คำว่ำ 
"ไม่ควรจะกรำบบังคมพระกรุณำ" 
7. ถ้ำจะกรำบบังคมทูลเป็นกลำงๆ เพื่อให้ทรงเลือก 
ให้ลงท้ำยว่ำ "ควรมีควร 
ประกำรใดสุดแล้วแต่จะทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำ 
โปรดกระหม่อม" 
8. ถ้ำจะกรำบบังคมทูลถึงควำมคิดเห็นของตนเองใช้ว่ำ 
"เห็นด้วยเกล้ำด้วยกระหม่อม" 
9. ถ้ำกรำบบังคมทูลถึงสิ่งที่ที่ทรำบใช้ว่ำ 
"ทรำบเกล้ำทรำบกระหม่อม"
10. ถ้ำจะกรำบบังคมทูลถึงกำรทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งถวำยใช้คำ 
ว่ำ "สนองพระมหำกรุณำธิคุณ" 
11. ถ้ำจะกล่ำวขออภัยโทษ ควรกล่ำวคำว่ำ 
"เดชะพระอำญำไม่พ้นเกล้ำ" และลงท้ำยว่ำ 
ด้วยเกล้ำด้วยกระหม่อม 
12. กำรกล่ำวถึงสิ่งที่ได้รับควำมอนุเครำะห์ ให้ใช้คำว่ำ 
"พระเดชพระคุณเป็นล้นเกล้ำล้นกระหม่อม" 
สำหรับเจ้ำนำยตั้งแต่หม่อมเจ้ำขึ้นไป 
1. ในกำรกรำบบังคมทูล ไม่ต้องใช้คำขึ้นต้นและลงท้ำย 
ถ้ำเป็นพระยุพรำช , 
พระรำชินีแห่งอดีตรัชกำลและสมเด็จเจ้ำฟ้ำ 
ควรใช้สรรพนำมแทนพระองค์ท่ำนว่ำ 
"ใต้ฝ่ำละอองพระบำท" ใช้สรรพนำมแทนตนเองว่ำ 
"ข้ำพระพุทธเจ้ำ" และใช้คำรับว่ำ "พระพุทธเจ้ำข้ำ" 
2. เจ้ำนำยชั้นรองลงมำ ใช้สรรพนำมแทนพระองค์ว่ำ 
"ใต้ฝ่ำพระบำท" ใช้สรรพนำมแทนตนเองว่ำ 
"เกล้ำกระหม่อม" ใช้คำรับว่ำ "พระเจ้ำข้ำ" 
เจ้ำนำยชั้นสมเด็จพระยำและพระยำพำนทอง 
ใช้สรรพนำมของท่ำนว่ำ "ใต้เท้ำกรุณำ" 
ใช้สรรพนำมของตนว่ำ "เกล้ำกระหม่อม" ฝช้คำรับว่ำ 
"ขอรับกระผม" 
3. คำที่พระภิกษุใช้เพ็ดทูลต่อพระเจ้ำแผ่นดิน แทนคำรับว่ำ 
"ถวำยพระพร" แทนตนเองว่ำ "อำตมภำพ" 
ใช้สรรพนำมของพระองค์ว่ำ "มหำบพิตร"
คำราชาศัพท์ที่ใช้กับพระสงฆ์ 
คำที่ใช้กับพระสงฆ์ 
คำสามัญ ราชาศัพท์ 
คำพูดแทนตัวเอง อาตมา 
พระสงฆ์ใช้เรียกพระเจ้าแผ่นดิน มหาบพิตร 
คนทั่วไป โยม 
ให้, มอบให้ ถวาย 
ยื่นให้ระยะห่างหัตถบาส 
ประเคน 
(ระยะระหว่างพระสงฆ์ที่นงั่ทำสังฆกรรมหรือระหว่างพระภิกษุ 
สามเณร กับคฤหัสถ์ผู้ถวายของ 
ห่างกันไม่เกินศอกหนงึ่) (หรือยื่นของให้พระ 
ของน้นัสามารถเข้าปากแล้วกลืนได้) 
อาหารเช้า จังหัน 
กิน ฉัน 
ขอเชิญพระ (เดิน, นงั่, เขียนหนงัสือ) นมินต์ 
ขอเชิญพระแสดงธรรม กราบอาราธนาธรรม 
ไหว้ นมัสการ 
ห่มจีวร ครองจีวร 
ผ้าห่ม ผ้าจีวร 
ผ้าพาดบ่า สังฆาฏิ 
ผ้านุ่ง สบง 
อาบนา้ํ สรงนา้ํ 
โกนผม ปลงผม 
นอน จำวัด 
สวดมนต์ ทำวัตร 
เงิน ปัจจัย 
บวชเณร บรรพชา 
บวชพระ อุปสมบท 
ป่วย อาพาธ 
ตาย มรณภาพ
หมวดเครือญำติ 
พระอัยกำ หมำยถึง ปู่หรือตำ 
พระอัยยิกำ หมำยถึง ย่ำหรือยำย 
พระปัยกำ หมำยถึง ปู่ทวดหรือตำทวด 
พระปัยยิกำ หมำยถึง ย่ำทวดหรือยำยทวด 
พระชนกหรือพระรำชบิดำ หมำยถึง พ่อ 
พระชนนีหรือพระรำชมำรดำ หมำยถึง แม่ 
พระสสุระ หมำยถึง พ่อสำมี 
พระสัสสุ หมำยถึง แม่สำมี 
พระปิตุลำ หมำยถึง ลุงหรืออำชำย 
พระปิตุจฉำ หมำยถึง ป้ำหรืออำหญิง
พระมำตุลำ หมำยถึง ลุงหรือน้ำชำย 
พระมำตุจฉำ หมำยถึง ป้ำหรือน้ำหญิง 
พระสวำมีหรือพระภัสดำ หมำยถึง สำมี 
พระมเหสีหรือพระชำยำ หมำยถึง ภรรยำ 
พระเชษฐำ หมำยถึง พี่ชำย 
พระเชษฐภคินี หมำยถึง พี่สำว 
พระอนุชำ หมำยถึง น้องชำย 
พระขนิษฐำ หมำยถึง น้องสำว 
พระรำชโอรสหรือพระเจ้ำลูกยำเธอ หมำยถึง ลูกชำย 
พระรำชธิดำ, พระเจ้ำลูกเธอ หมำยถึง ลูกสำว 
พระชำมำดำ หมำยถึง ลูกเขย 
พระสุณิสำ หมำยถึง ลูกสะใภ้ 
พระรำชนัดดำ หมำยถึง หลำนชำยหรือหลำนสำว
พระภำคิไนย หมำยถึง หลำนที่เป็นลูกของพี่สำวหรือน้องสำว 
พระภำติยะ หมำยถึง หลำนที่ลูกของพี่ชำย หรือน้องชำย 
พระรำชปนัดดำ หมำยถึง เหลน 
หมวดเครื่องใช้ 
พระวิสูตรหรือพระสูตร หมำยถึง ม่ำนหรือมุ้ง 
พระเขนย หมำยถึง หมอน 
พระทวำร หมำยถึง ประตู 
พระบัญชร หมำยถึง หน้ำต่ำง 
พระสุวรรณภิงคำร หมำยถึง คนโทน้ำ 
ฉลองพระหัตถ์ช้อน หมำยถึง ช้อน 
ฉลองพระหัตถ์ส้อม หมำยถึง ส้อม 
ฉลองพระหัตถ์ตะเกียบ หมำยถึง ตะเกียบ
แก้วน้ำเสวย หมำยถึง แก้วน้ำ 
พระสำง หมำยถึง หวี 
พระแสงกรรบิด หมำยถึง มีดโกน 
นำฬิกำข้อพระหัตถ์ หมำยถึง นำฬิกำข้อมือ 
พระฉำย หมำยถึง กระจกส่อง 
ธำรพระกร หมำยถึง ไม้เท้ำ 
พระแท่นบรรทม หมำยถึง เตียงนอน 
พระรำชอำสน์ หมำยถึง ที่นั่ง 
โต๊ะทรงพระอักษร หมำยถึง โต๊ะเขียนหนังสือ 
พระรำชหัตถเลขำ หมำยถึง จดหมำย 
ฉลองพระเนตร หมำยถึง แว่นตำ 
พระที่นั่งเก้ำอี้หรือเก้ำอี้ประทับ หมำยถึง เก้ำอี้นั่ง
พระเขนย หมำยถึง หมอนหนุน 
เครื่องพระสุคนธ์ หมำยถึง เครื่องหอม เช่น น้ำหอม 
แป้งผัดหน้ำ 
เครื่องพระสำอำง หมำยถึง เครื่องประทินผิวหรือเครื่องสำอำง 
อ่ำงสรง หมำยถึง อ่ำงอำบน้ำ 
กระเป๋ำทรง หมำยถึง กระเป๋ำถือ 
พระแสงปนำค หมำยถึง กรรไกร 
หมวดเครื่องแต่งกำย 
สนับเพลำ หมำยถึงกำงเกง 
ถุงพระบำท หมำยถึงถุงเท้ำ 
ถุงพระหัตถ์ หมำยถึงถุงมือ 
ซับพระองค์หมำยถึงผ้ำเช็ดตัว
ซับพระพักตร์ หมำยถึง ผ้ำเช็ดหน้ำ 
ภูษำทรง หมำยถึง ผ้ำนุ่ง 
ผ้ำพันพระศอ หมำยถึงผ้ำพันคอ 
พระภูษำ หมำยถึง ผ้ำนุ่ง 
พระภูษำโสร่ง หมำยถึงผ้ำโสร่ง 
ฉลองพระบำท หมำยถึงรองเท้ำ 
ฉลองพระองค์ หมำยถึง เสื้อชั้นนอก 
หมวดเครื่องประดับ 
กำไลข้อพระบำท = กำไลข้อเท้ำ 
ทองข้อพระบำท = กำไลข้อเท้ำ
พำหุรัด = กำไลรัดต้นแขน 
ปั้นเหน่ง = เข็มขัด (ประดับ) 
เครื่องทรง = เครื่องแต่งตัว 
ตุ้มพระกรรณ = ต่ำงหู 
รัตนมณี = ทับทิม 
พระจุฑำมณี = ปิ่น 
รัตนำ = เพชร 
พระชฏำ = มงกุฎ 
พระปั้นเหน่ง = หัวเข็มขัด 
พระธำมรงค์ = แหวน
หมวดร่ำงกำย 
พระเจ้า หัว ศีรษะ ( พระมหากษัตริย์ ) 
พระเศียร หัว ศีรษะ 
พระสิรัฐิ ( สิ- รัด - ถิ ) พระสีสกฏาหะ กะโหลกศีรษะ 
เส้นพระเจ้า เส้นผมของพระมหากษัตริย์ 
พระเกศา พระเกศ พระศก เส้นผม 
ไรพระเกศ ไรพระเกศา ไรพระศก ไรผม 
ขมวดพระศก ขมวดพระเกศา ขมวดผมทเี่ป็นกน้หอย 
พระโมลี พระเมาลี จุก หรือ มวยผม 
พระจุไร ไรจุก ไรผม 
พระจุฑามาศ มวยผม ทา้ยทอย 
พระเวณิ เปียผม ชอ้งผม 
พระนลาฏ หน้าผาก 
พระขนง พระภมู คิ้ว 
พระอุนาโลม ขนหว่างคิ้ว 
พระเนตร พระนัยนะ พระจักษุ ดวงตา 
พระเนตรดา ดวงพระเนตรดา ตาดา 
ดวงเนตรขาว ดวงพระเนตรขาว ตาขาว 
พระกนีนิกา พระเนตรดารา แกว้ตา 
หนังพระเนตร หลังพระเนตร หนังตา หลังตา 
พระโลมจักษะ ขนพระเนตร ขนตา 
ม่านพระเนตร ม่านตา 
ต่อมพระเนตร ต่อมน้าตา 
พระอัสสุธารา พระอัสสุชล น้าพระเนตร น้าตา 
พระนาสิก พระนาสา จมูก 
สันพระนาสิก สันพระนาสา สันจมูก 
ช่องพระนาสิก ช่องจมูก 
พระโลมนาสิก ขนพระนาสิก ขนจมูก 
พระปราง แกม้
พระกา โบล กระพุ้งพระปราง กระพุ้งแกม้ 
พระมัสสุ หนวด 
พระทาฐิกะ พระทาฒิกะ เครา 
พระตาลุ เพดานพระโอษฐ์ เพดานปาก 
พระทนต์ ฟัน 
พระโอษฐ์ ปาก ริมฝีปาก 
พระทนัตมังสะ พระทนัตมังสา เหงือก 
ไรพระทนต์ ไรฟัน 
พระทาฐะ พระทาฒะ เขี้ยว 
พระกราม ฟันกราม 
พระชิวหา ลิ้น 
ตน้พระชิวหา มูลพระชิวหา โคนลิ้น ลิ้นไก่ 
พระหนุ ( หะ - นุ ) คาง 
ตน้พระหนุ ขากรรไกร 
พระกรรณ หู ใบหู 
ช่องพระโสต ช่องพระกรรณ ช่องหู 
พระพักตร์ ดวงหน้า 
พระศอ คอ 
พระกณัฐมณี ลูกกระเดือก 
ลา พระศอ ลา คอ 
พระชตัตุ คอต่อ 
พระรากขวญั ไหปลาร้า 
พระอังสา บ่า 
พระอังสกุฏ จะงอยบ่า 
พระพาหา พระพาหุ บ่า 
พระกร ศอกถึงข้อมือ 
พระกปัระ พระกะโประ ข้อศอก 
พระกจัฉะ รักแร้ 
พระกจัฉโลมะ ขนรักแร้ 
พระหัตถ์ มือ 
ข้อพระกร ข้อพระหัตถ์ ข้อมือ 
ฝ่าพระหัตถ์ ฝ่ามือ 
หลังพระหัตถ์ หลังมือ 
พระองคุลี นิ้วพระหัตถ์ นิ้วมือ 
พระอังคุฐ นิ้วหัวแม่มือ
พระดัชนี นิ้วชี้ 
พระมัชฌิมา นิ้วกลาง 
พระอนามิกา นิ้วนาง 
พระกนิษฐา นิ้วกอ้ย 
ข้อนิ้วพระหัตถ์ พระองคุลีบพั ข้อนิ้วมือ 
พระมุฐิ กา พระหัตถ์ กา ปั้น กา มือ 
พระนขา พระกรชะ เล็บ 
พระอุระ พระทรวง อก 
พระหทยั พระกมล หัวใจ 
พระถัน พระเตา้ พระปโยธร เตา้นม 
ยอดพระถัน พระจูจุกะ หัวนม 
พระครรโภทร พระคพัโภทร มีครรภ์ มีทอ้ง 
พระอุทร ทอ้ง 
พระนาภี สะดือ ทอ้ง 
พระสกุล พระครรภมล รก สิ่งที่ติดมากบัสายสะดือเด็กในครรภ์ 
สายพระสกุล สายรก 
กล่องพระสกุล มดลูก 
พระกฤษฎี บ้นัพระองค์ พระกฏิ สะเอว เอว 
พระปรัศว์ สีข้าง 
พระผาสุกะ ซโี่ครง 
พระปฤษฏางค์ พระขนอง หลัง 
พระโสณี ตะโพก 
พระที่นั่ง กน้ 
พระวตัถิ กระเพาะปัสสาวะ 
พระคุยหฐาน พระคุยหประเทศ องค์ทลีั่บชาย 
พระโยนี องค์ทลีั่บหญิง 
พระอัณฑะ ลูกอัณฑะ 
พระอูรุ ตน้ขา 
พระเพลา ขาตกั 
พระชานุ เข่า 
พระชงฆ์ แข้ง 
หลังพระชงฆ์ น่อง 
พระโคปผกะ ตาตมุ่ 
นิ้วพระบาท นิ้วเทา้ 
พระบาท เทา้
ข้อพระบาท ข้อเทา้ 
หลังพระบาท หลังเทา้ 
ฝ่าพระบาท ฝ่าเทา้ 
พระปัณหิ พระปราษณี ส้นพระบาท ส้นเทา้ 
พระฉวี ผิวหนัง 
พระฉายา เงา 
พระโลมา ขน 
ผิวพระพักตร์ พระราศี ผิวหน้า 
พระมังสา เนื้อ 
กล้ามพระมังสา กล้ามเนื้อ 
พระอสา สิว 
พระปีฬกะ ไฝ ขี้แมลงวนั 
พระปัปผาสะ ปอด 
พระยกนะ ( ยะ - กะ- นะ ) ไต 
พระปิหกะ ม้าม 
พระอันตะ ไส้ใหญ่ 
พระอันตคุณ ไส้น้อย ไส้ทบ 
พระกุญชะ ไส้พุง 
พระนหารู เส้น เอ็น 
เส้นพระโลหิต หลอดพระโลหิต เส้นเลือด หลอดเลือด 
หลอดพระวาโย หลอดลม 
พระกิโลมกะ พังผืด 
พระองคาพยพ ส่วนต่างๆของร่างกาย 
พระมัตถลุงค์ มันในสมอง 
พระธมนี เส้นประสาท 
พระลสิกา น้าในไขข้อ 
พระปิตตะ ดี 
พระเขฬะ น้าลาย 
พระเสมหะ เสลด 
มูลพระนาสิก น้ามูก 
มูลพระนขา ขี้เล็บ 
พระเสโท เหงื่อ 
พระเมโท ไคล 
พระบุพโพ น้าหนอง น้าเหลือง 
พระอุหลบ พระบุษปะ เลือดประจาเดือน
พระอัฐิ กระดูก 
พระอังคาร พระสรรางคาร เถ้ากระดูก 
พระอังสัฐิ กระดูกไหล่ 
พระหนุฐิ กระดูกคาง 
พระคีวฐัิ กระดูกคอ 
พระพาหัฐิ กระดูกแขน 
พระอุรัฐิ กระดูกหน้าอก 
พระผาสุกฐัิ กระดูกซโี่ครง 
พระปิฐิกณัฐกฐัิ กระดูกสันหลัง 
พระกฏิฐิ กระดูกสะเอว 
พระอูรัฐิ กระดูกขา 
พระชงัฆฐัิ กระดูกแข้ง 
พระปาทฐัิ กระดูกเทา้ 
พระหัตถัฐิ กระดูกมือ 
พระยอด ฝี หัวฝี 
พระบงัคนหนัก อุจจาระ 
พระบงัคนเบา ปัสสาวะ 
พระปัสสาสะ ลมหายใจเข้า 
พระอัสสาสะ ลมหายใจออก 
พระอุระหรือพระทรวง หมำยถึง อก 
พระชีพจรหมำยถึง ชีพจร 
อุณหภูมิพระวรกายหมำยถึง อุณหภูมิร่างกาย 
พระหทัยหรือพระกมล หมำยถึง หัวใจ 
พระอุทร หมำยถึง ท้อง
พระนำภี หมำยถึง สะดือ 
พระกฤษฎีหรือบั้นพระองค์ หมำยถึง สะเอว 
พระปรัศว์ สีข้ำง 
พระวาโย หมำยถึงลม 
พระผำสุกะ หมำยถึง ซี่โครง 
พระเจ้ำ หมำยถึง หัวศรีษะ( พระมหากษัตริย์ ) 
พระเศียร หมำยถึง ศีรษะ 
พระนลำฏ หมำยถึง หน้ำผำก 
พระขนงหรือพระภมู หมำยถึง คิ้ว 
พระเนตรหรือพระจักษุ หมำยถึง ดวงตำ 
พระนำสิกหรือพระนำสำ หมำยถึง จมูก 
พระปรำง หมำยถึง แก้ม
พระโอษฐ์ หมำยถึง ปำก ริมฝีปำก 
ต้นพระหนุ หมำยถึง ขำกรรไกร 
พระกรรณ หมำยถึง หูหรือใบหู 
พระพักตร์ หมำยถึง ดวงหน้ำ 
พระศอ หมำยถึง คอ 
พระรำกขวัญ หมำยถึง ไหปลำร้ำ 
พระอังสกุฏ หมำยถึง จะงอยบ่ำ 
พระกร หมำยถึง แขน 
พระกัประหรือพระกะโประ หมำยถึง ข้อศอก 
พระกัจฉะ หมำยถึง รักแร้ 
พระหัตถ์ หมำยถึง มือ 
ข้อพระกรหรือข้อพระหัตถ์ หมำยถึง ข้อมือ 
พระปฤษฏำงค์หรือพระขนอง หมำยถึง หลัง
พระโสณี หมำยถึง ตะโพก 
พระที่นั่ง หมำยถึง ก้น 
พระอูรุ หมำยถึง ต้นขำ 
พระเพลำ หมำยถึง ขำหรือตัก 
พระชำนุ หมำยถึง เข่ำ 
พระชงฆ์ หมำยถึง แข้ง 
หลังพระชงฆ์ หมำยถึง น่อง 
พระบำท หมำยถึง เท้ำ 
ข้อพระบำท หมำยถึง ข้อเท้ำ 
พระปรำษณีหรือส้นพระบำท หมำยถึง ส้นเท้ำ 
พระฉวี หมำยถึง ผิวหนัง 
พระโลมำ หมำยถึง ขน
พระพักตร์ หมำยถึง ใบหน้ำ 
พระมังสำ แปลว่ำ เนื้อ 
หมวดอำหำร 
เครื่องเสวย หมำยถึง ของกิน 
เครื่องคำว หมำยถึง ของคำว 
เครื่องเคียง หมำยถึง ของเคียง 
เครื่องว่ำง หมำยถึง ของว่ำง 
เครื่องหวำน หมำยถึง ของหวำน 
พระกระยำหำร หมำยถึง ข้ำว 
พระกระยำต้ม หมำยถึง ข้ำวต้ม 
ขนมเส้น หมำยถึง ขนมจีน 
ผักรู้นอน หมำยถึง ผักกระเฉด
ผักสำมหำว หมำยถึง ผักตบ 
ผักทอดยอด หมำยถึง ผักบุ้ง 
ฟักเหลือง หมำยถึง ฟักทอง 
ถั่วเพำะ หมำยถึง ถั่วงอก 
พริกเม็ดเล็ก หมำยถึง พริกขี้หนู 
เห็ดปลวก หมำยถึง เห็ดโคน 
เยื่อเคย หมำยถึง กะปิ 
ปลำหำง หมำยถึง ปลำช่อน 
ปลำใบไม้ หมำยถึง ปลำสลิด 
ปลำยำว หมำยถึง ปลำไหล 
ปลำมัจฉะ หมำยถึง ปลำร้ำ 
ลูกไม้ หมำยถึง ผลไม้
กล้วยเปลือกบำงหรือกล้วยกระ หมำยถึง กล้วยไข่ 
ผลมูลละมั่ง หมำยถึง ลูกตะลิงปลิง 
ผลอุลิด หมำยถึง ลูกแตงโม 
ผลอัมพวำ หมำยถึง ผลมะม่วง 
นำรีจำศีล หมำยถึง กล้วยบวชชี 
ขนมดอกเหล็กหรือขนมทรำย หมำยถึง ขนมขี้หนู 
ขนมสอดไส้ หมำยถึง ขนมใส่ไส้ 
ขนมทองฟู หมำยถึง ขนมตำล 
ขนมบัวสำว หมำยถึง ขนมเทียน 
พระรำชดำรัส หมำยถึง คำพูด 
ตรัส หมำยถึง พูดด้วย
เสด็จพระรำชดำเนิน หมำยถึง เดินทำงไปที่ไกล ๆ 
เสด็จลง… หมำยถึง เดินทำงไปที่ใกล้ ๆ 
ทรงพระรำชนิพนธ์ หมำยถึง แต่งหนังสือ 
ทรงพระกำสะ หมำยถึง ไอ 
ทรงพระสรวล หมำยถึง หัวเรำะ 
ทรงพระปรมำภิไธย หมำยถึง ลงลำยมือชื่อ 
ทรงสัมผัสมือ หมำยถึง จับมือ 
ทรงพระเกษมสำรำญ หมำยถึง สุขสบำย 
ทรงพระปินำสะ หมำยถึง จำม 
พระรำชโองกำร หมำยถึง คำสั่ง 
พระรำโชวำท หมำยถึง คำสั่งสอน 
พระรำชปฏิสันถำร หมำยถึง ทักทำย 
มีพระรำชประสงค์ หมำยถึง อยำกได้
สรงพระพักตร์ หมำยถึง ล้ำงหน้ำ 
ชำระพระหัตถ์ หมำยถึง ล้ำงมือ 
พระรำชปฏิสันถำร หมำยถึง ทักทำยปรำศรัย 
เสด็จประพำส หมำยถึง ไปเที่ยว 
พระรำชปุจฉำ หมำยถึง ถำม 
ถวำยบังคม หมำยถึง ไหว้ 
พระบรมรำชวินิจฉัย หมำยถึง ตัดสิน 
ทอดพระเนตร หมำยถึง ดู 
พระรำชทำน หมำยถึง ให้ 
พระรำชหัตถเลขำ หมำยถึง เขียนจดหมำย 
ทรงเครื่อง หมำยถึง แต่งตัว 
ทรงพระอักษร หมำยถึง เรียน เขียน อ่ำน
ประทับ หมำยถึง นั่ง 
ทรงยืน หมำยถึง ยืน 
บรรทม หมำยถึง นอน 
ทั้งนี้ สำหรับคำว่ำ พระรำชโองกำร และพระรำโชวำท 
หำกใช้กับพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวจะมีคำว่ำ "บรม" 
นำหน้ำคำว่ำ "รำช" เสมอ 
กำรใช้คำรำชำศัพท์ที่ควรสังเกต 
กำรใช้คำว่ำ”พระ” “พระบรม” “พระรำช” 
“พระ” ใช้นำหน้ำคำนำมที่เป็นอวัยวะ ของใช้ 
เช่นพระชำนุ พระนลำฏ พระขนง เป็นต้น 
“พระบรม”ใช้เฉพำะพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว เช่น 
พระบรมรำโชวำท พระบรมรำชำนุเครำะห์ 
พระปรมำภิไธย เป็นต้น 
“พระ รำช” ใช้นำหน้ำคำนำม แสดงว่ำคำนำมนั้นเป็นของ 
พระมหำกษัตริย์ สมเด็จพระบรมรำชินี 
สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ 
เช่นพระรำชประวัติ พระรำชำนุญำต พระรำชวโรกำส เป็นต้น
กำรใช้คำว่ำ“ทรง” มีหลัก3ประกำรคือ 
นำหน้ำคำนำมสำมัญบำงคำทำให้เป็นกริยำรำชำศัพท์ได้ 
เช่นทรงรถ ทรงดนตรี ทรงช้ำง ทรงเครื่อง เป็นต้น 
นำหน้ำคำกริยำสำมัญทำให้เป็นกริยำรำชำศัพท์ 
เช่นทรงวิ่ง ทรงเจิม ทรงออกกำลังกำย ทรงใช้ เป็นต้น 
นำ หน้ำคำนำมรำชำศัพท์ทำให้เป็นกริยำรำชำศัพท์ได้ 
เช่นทรงพระรำชดำริ ทรงพระอักษร ทรงพระดำเนิน 
ทรงพระรำชนิพนธ์ 
เป็นต้นคำกริยำที่เป็นรำชำศัพท์อยู่แล้วไม่ใช้ “ทรง” นำหน้ำ 
เช่นเสวย เสด็จ โปรด เป็นต้น 
กำรใช้คำรำชำศัพท์ให้ถูกต้องตำมสำนวนไทย 
ไม่นิยมเลียนแบบสำนวนต่ำงประเทศ 
ถ้ำมำต้อนรับพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว ต้องใช้ว่ำ 
ประชำชนมำเฝ้ำ ฯ รับเสด็จ คำว่ำ”เฝ้ำฯรับเสด็จ” 
ย่อมำจำก”เฝ้ำทูลละอองธุลีพระบำทรับเสด็จ”ไม่ใช้คำว่ำ”ถวำยก 
ำรต้อนรับ” 
คำว่ำ”คนไทยมีควำมจงรักภักดี” หรือ”แสดงควำมจงรักภักดี” 
ใช้ได้ แต่ไม่ควรใช่คำว่ำ “ถวำยควำมจงรักภักดี”
กำรใช้คำรำชำศัพท์ให้ถูกต้องตำมเหตุผล 
คำว่ำ “อำคันตุกะ” “รำชอำคันตุกะ” และ”พระรำชอำคันตุกะ” 
ใช้ดังนี้ คือให้ดูเจ้ำของบ้ำนเป็นสำคัญ 
เช่นแขกของพระมหำกษัตริย์ ใช้คำว่ำ”รำช”นำหน้ำ 
ถ้ำไม่ใช่แขกของพระมหำกษัตริย์ก็ไม่ต้องมี”รำช”นำหน้ำ 
ใน 
กำรถวำยสิ่งของแด่พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวถ้ำเป็นของเล็ก 
ยกได้ก็ใช้ “ทูลเกล้ำฯ ถวำย”ถ้ำเป็นของใหญ่ยกไม่ได้ใช้ 
“น้อมเกล้ำ ฯ ถวำย” 
คำราชาศัพท์สำหรับพระสงฆ์ 
การเปลี่ยนคา สามัญเป็นคา ราชาศัพท์ 
1. เปลี่ยนรากศัพท์ เช่น รับประทาน เป็น เสวย 
2. เติมคา หน้านามหรือหลังนาม เช่น วงัเป็นพระราชวงั รถ เป็น รถพระที่นั่ง 
3. เติมคา ว่า ทรง เช่น ทรงงาน ทรงทราบ ทรงเห็น ทรงพระอักษร 
คา ศัพท์ทใี่ชก้บัภิกษุ 
- ส่งของให้พระ ใชว้่า ประเคน 
- อาหาร ใชว้่า ภัตตาหาร 
- จดหมาย ใชว้่า ลิขิต 
- กิน ใชว้่า ฉนั 
- นอน ใชว้่า จาวดั 
- อาบน้า ใชว้่า สรงน้า
- สวดมนต์ ใชว้่า เจริญพระพุทธมนต์ 
- เงิน ใชว้่า ปัจจัย 
- ทอี่ยู่ ใชว้่า กุฏิ 
- ที่นั่ง ใชว้่า อาสนะ 
- ป่วย ใชว้่า อาพาธ 
- ตาย ใชว้่า มรณภาพ 
การใชค้า ราชาศัพท์ 
เป็นคา ที่ใชเ้หมาะสมกบัระดับช้นัของบุคคล เช่น พระมหากษัตริย์ และพระราชวงศ์ รวมถึง กลุ่มคา ทใี่ชก้บัพระภิกษุ 
คา นามราชาศัพท์ 
- พระราชบิดา, พระชนก หมายถึง พ่อ 
- พระราชมารดา, พระชนนี หมายถึง แม่ 
- พระเชษฐา หมายถึง พี่ชาย 
- พระเชษฐภคินี หมายถึง พี่สาว 
- พระราชธิดา หมายถึง ลูกสาว 
- พระราชนัดดา, พระนัดดา หมายถึง หลาน 
- พระเนตร, พระจักษุ หมายถึง ตา 
- พระนาสา, พระนาสิก หมายถึง จมูก 
- พระโอษฐ์ หมายถึง ปาก 
- พระขนง หมายถึง คิ้ว 
- พระเศียร หมายถึง ศีรษะ 
- พระเกศา หมายถึง ผม 
- พระพักตร์ หมายถึง ใบหน้า 
- พระปราง หมายถึง แกม้ 
- พระพาหา หมายถึง แขน 
- พระหัตถ์ หมายถึง มือ 
- พระบาท หมายถึง เทา้ 
- ฉลองพระองค์ หมายถึง เสื้อ 
คา สรรพนามราชาศัพท์ 
- ข้าพระพุทธเจ้า หมายถึง คา แทนตวัเองเมื่อพูดกบัพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศ์ช้นัสูง 
- ใตฝ้่าละอองธุลีพระบาท หมายถึง คา แทนพระมหากษัตริย์และพระราชินี 
- ใตฝ้่าละอองพระบาท หมายถึง คา แทนองค์พระราชินีสยามกุฎราชกุมาร สยามกุฎราชกุมารี 
- พระองค์ หมายถึง ใชเ้มื่อกล่าวถึงพระมหากษัตริย์ และพระบรมราชวงศ์
- พระพุทธเจ้า หมายถึง คา ทใี่ชข้านรับเมื่อพูดกบัพระมหากษัตริย์ 
คา กริยาราชาศัพท์ 
- ประสูติ หมายถึง คลอด 
- ทอดพระเนตร หมายถึง มอง 
- ประชวร หมายถึง เจ็บป่วย 
- สวรรคต หมายถึง ตาย 
- เสวย หมายถึง กิน 
- ประทบั หมายถึง นั่ง 
- พระราชทาน หมายถึง ให้ 
- ตรัส หมายถึง พูด 
- สรงน้า หมายถึง อาบน้า 
- กริ้ว หมายถึง โกรธ 
- โปรด หมายถึง รัก ชอบ 
พระภิกษุที่เป็นพระราชวงศ์ ใชร้าชาศัพท์ตามลา ดับช้นัแห่งพระราชวงศ์ 
สา หรับสมเด็จพระสังฆราชเจ้า(ทเี่ป็นพระราชวงศ์) ใชดั้งนี้ 
คา ขึ้นตน้ ใชว้่า ขอประทานกราบทูล (กล่าวพระนามเต็ม) 
สรรพนามแทนผูพู้ด ใชว้่า ข้าพระพุทธเจ้า 
สรรพนามแทนพระองค์ท่าน ใชว้่า ใตฝ้่าพระบาท 
คา ลงทา้ย ใชว้่า ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม 
สมเด็จพระสังฆราช ซึ่งดา รงตา แหน่งสกลมหาสังฆปริณายก ใชร้าชาศัพท์เสมอพระเจ้าวรวงศ์เธอ (ทมีิ่ได้ทรงกรม) 
เช่น 
คา ขึ้นตน้ ใชว้่า กราบทูล (กล่าวพระนามเต็ม) 
สรรพนามแทนผูพู้ด ใชว้่า เกล้ากระหม่อม (สา หรับชาย), เกล้ากระหม่อมฉนั(สา หรับหญิง) 
สรรพนามแทนพระองค์ท่าน ใชว้่า ฝ่าพระบาท 
คา ลงทา้ย ใชว้่า ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด 
สรรพนามบุรุษที่1 ทพี่ระภิกษุใช้ 
คา ทใี่ช้โอกาสทใี่ช้ 
อาตมา พระภิกษุใชก้บับุคคลธรรมดาทเี่ป็นผูใ้หญ่หรือมีฐานะตา แหน่งสูงในโอกาสทไี่ม่เป็นทางการ 
อาตมาภาพ พระภิกษุใชก้บัพระราชวงศ์ต้งัแต่หม่อมเจ้าขึ้นไป และใชใ้นโอกาสทเี่ป็นทางการ เช่น
การแสดงพระธรรมเทศนา 
เกล้ากระผม พระภิกษุใชก้บัพระภิกษุทเี่ป็นอุปัชฌาย์อาจารย์หรือทดี่า รงสมณศักด์ิสูงกว่า 
ผม,กระผม พระภิกษุใชก้บัพระภิกษุด้วยกนัโดยทวั่ ๆ ไป 
สรรพนามบุรุษที่2 ทพี่ระภิกษุใช้ 
คา ทใี่ช้โอกาสทใี่ช้ 
มหาบพิตร พระเจ้าแผ่นดิน 
บพิตร พระราชวงค์ 
คุณโยม บิดา, มารดา, ญาติผูใ้หญ่หรือผูท้อี่าวุโสสูง 
คุณ,เธอ ใชก้บับุคคลทวั่ไป 
สรรพนามบุรุษที่2 ทฆี่ราวาสใช้ 
คา ทใี่ช้โอกาสทใี่ช้ 
พระคุณเจ้า ฆราวาสใชก้บัสมเด็จพระราชาคณะ, รองสมเด็จพระราชาคณะ 
พระคุณท่าน ฆราวาสใชก้บัพระราชาคณะช้นัรองลงมา 
ท่าน ใชก้บัพระภิกษุทวั่ไป 
คา ขานรับทพี่ระภิกษุใช้ 
คา ทใี่ช้โอกาสทใี่ช้ 
ขอถวายพระพร พระราชวงค์ 
เจริญพร ฆราวาสทวั่ไป 
ครับ,ขอรับ ใชก้บัพระภิกษุด้วยกนั 
ศัพท์สา หรับพระภิกษุทพี่บบ่อย 
รูป = ลักษณะนามสา หรับพระภิกษุสงฆ์ อาราธนา = ขอเชิญ 
เจริญพระพุทธมนต์ = สวดมนต์ ภัตตาหาร = อาหาร
ประเคน = ยกของ(ด้วยมือ)ให้พระ ฉนั = กิน 
ถวาย = มอบให้ เครื่องไทยธรรม ของถวายพระ, ของทา บุญต่าง ๆ อนุโมทนา = ยินดีด้วย 
อาสนะ, อาสน์สงฆ์ = ที่นั่ง ธรรมาสน์ = ทแี่สดงธรรม 
เสนาสนะ = สถานทที่ภีิ่กษุใช้ จาวดั = นอน 
สรง = อาบน้า มรณภาพ = ตาย 
ปลงผม = โกนผม กุฏิ = เรือนพักในวดั 
จาพรรษา = อยู่ประจาวดั อุปสมบท = บวช (บวชเป็นพระภิกษุ) 
บรรพชา = บวช (บวชเป็นสามเณร) ลาสิกขา = สึก 
คิลานเภสัช = ยารักษาโรค ลิขิต = จดหมาย 
ครองผา้ = แต่งตวั ถวายอดิเรก = 
กล่าวบทอวยพรพระมหากษัตริย์ 
บิณฑบาต = รับของใส่บาตร ปลงอาบตัิ = แจ้งความผิดให้ทราบ 
ปัจจัย = เงิน ทา วตัร = สวดมนต์ 
เผดียงสงฆ์ = แจ้งให้สงฆ์ทราบ สุผา้ = ซกัผา้, ย้อมผา้ 
อาพาธ = ป่วย
หมวดคำที่ใช้กับพระสงฆ์ 
หมวดสัตว์ และเบ็ดเตล็ด 
กระบือ ควาย 
กล้วยสั้น กล้วยกุ 
กล้วยเปลือกบาง, กล้วยกะ กล้วยไข่ 
ขนมดอกเหล็ก, ขนมทราย ขนมขี้หนู 
ขนมสอดไส้ ขนมใส่ไส้ 
ข้าวเสวย ข้าว หรือเรียกว่า พระกระยา
โค วัว 
เครื่องเคียง เครื่องจิ้ม เครื่องเนม 
เครื่องคาว, เครื่องต้นคาว ของคาว, อาหารคาว 
เครื่องหวาน, เครื่องต้นหวาน ของหวาน, อาหารหวาน 
เครื่องว่าง ของว่าง, อาหารว่าง 
เครื่องเสวย, เครื่องต้น, พระกระยาหาร ของกิน 
จิตรจูล, จิตรจุล เต่า 
เจ็ดประการ เจ็ดอย่าง 
ช้างนรการ ช้างสีดอ (ช้างพลายมีงาสั้น) 
ชัลลุกะ, ชัลลุกา ปลิง 
ช้าง 2 ช้าง, ช้าง 2 เชือก ช้าง 2 ตัว 
ดอกขจร ดอกสลิด 
ดอกซ่อนกลิ่น ดอกซ่อนชู้ 
ดอกถันวิฬาร์ ดอกนมแมว 
ดอกทอดยอด ดอกผักบุ้ง 
ดอกมณฑาขาว ดอกยี่หุบ 
ดอกสามหาว ดอกผักตบ 
ดอกเหล็ก ดอกขี้เหล็ก 
ตกลูก ออกลูก (สาหรับสัตว์) 
ต้นจะเกรง ต้นเหงือกปลาหมอ
ต้นปาริฉัตร, ต้นปาริชาติ ต้นทองกวาว, ต้นทองหลาง 
ต้นหนามรอบข้อ ต้นพุงดอ 
ต้นอเนกคุณ ต้นตาแย 
ต้องพระราชอาญา ต้องโทษ 
เถาศีรษะวานร เถาหัวลิง 
เถากะพังโหม เถาตูดหมูตูดหมา 
ถ่ายมูล สัตว์ขี้ เช่น นกถ่ายมูล 
ถั่วเพาะ ถั่วงอก 
เถามุ้ย เถาหมามุ้ย 
นางเก้ง อีเก้ง 
นางเลิ้ง อีเลิ้ง 
นางเห็น อีเห็น 
บางชีโพ้น บางชีหน 
บางนางร้า บางอีร้า 
ปลาหาง ปลาช่อน 
ปลาใบไม้ ปลาสลิด 
ปลายาว ปลาไหล 
ปลามัจฉะ ปลาร้า 
ปลาลิ้นสุนัข ปลาลิ้นหมา 
ปลีกกล้วย หัวปลี 
ผล ลูก (ใช้เรียกลูกไม้ทั้งปวง) 
ผลมูลกา ลูกขี้กา
ผลมูลละมั่ง ลูกตะลิงปลิง 
ผลนางนูน ลูกอีนูน 
ผลอุลิด ลูกแตงโม 
ผักสามหาว ผักตบ 
ผักทอดยอด ผักบุ้ง 
ผักรู้นอน ผักกระเฉด 
ผักไผ่, ผักไห่ ผักปลาบ 
ผักนางริ้น ผักอีริ้น 
พระยอด ฝี เช่น ประชวรพระยอด เจ็บเป็นฝี 
พระกระยาเสวย, พระกระยา ข้าว 
พระกระยาต้ม ข้าวต้ม 
พระกระยาตัง ข้าวตัง 
พระสุธารส น้าดื่ม, เครื่องดื่ม 
ฟอง ไข่ เช่น ฟองไก่ ฟองจิ้งจก 
ฟักเหลือง ฟักทอง 
มุสิกะ หนู 
มูล ขี้ของสัตว์ 
มูลดิน ขี้ดิน 
มะเขือเผา มะเขือกะหาแพะ 
เยื่อเคย กะปิ 
รากดิน ไส้เดือน 
โรคกลาก ขี้กลาก
โรคเกลื้อน ขี้เกลื้อน 
โรคเรื้อน ขี้เรื้อน 
ลั่นทม ดอกลั่นทม 
ศิลา หิน 
สุกร หมู 
สุนัข หมา 
เห็ดปลวก เห็ดโคน 
หอยนางรม หอยอีรม 
http://blog.eduzones.com/poonpreecha/81332 
http://hilight.kapook.com/view/97801 
http://www.rakjung.com/thai-no131.html 
http://info.muslimthaipost.com/main/index.php?page=su 
b&category=26&id=18741# 
http://blog.eduzones.com/jipatar/85951

More Related Content

What's hot

ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)พัน พัน
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยhall999
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
อาหาร 4 ภาค
อาหาร 4 ภาคอาหาร 4 ภาค
อาหาร 4 ภาคstudentkc3 TKC
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตThanawut Rattanadon
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04Prachoom Rangkasikorn
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2Ponpirun Homsuwan
 
ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1school
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475kulrisa777_999
 
การวางแผนครอบครัว ฉบับสรุป
การวางแผนครอบครัว ฉบับสรุปการวางแผนครอบครัว ฉบับสรุป
การวางแผนครอบครัว ฉบับสรุปThipwara Karphondee
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 

What's hot (20)

ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
อาหาร 4 ภาค
อาหาร 4 ภาคอาหาร 4 ภาค
อาหาร 4 ภาค
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
06.ถ่านหิน
06.ถ่านหิน06.ถ่านหิน
06.ถ่านหิน
 
ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2
 
ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
 
การวางแผนครอบครัว ฉบับสรุป
การวางแผนครอบครัว ฉบับสรุปการวางแผนครอบครัว ฉบับสรุป
การวางแผนครอบครัว ฉบับสรุป
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 

Similar to คำราชาศัพท์ ม.6

ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)kruteerapongbakan
 
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวันthunchanokteenzaa54
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์Piroj Poolsuk
 
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51Prechaya Kham
 
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51Prechaya Kham
 
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51Prechaya Kham
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยครูเจริญศรี
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2Sitthisak Thapsri
 
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาเผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาSophinyaDara
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำspeedpiyawat
 

Similar to คำราชาศัพท์ ม.6 (20)

ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
 
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
99
9999
99
 
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 
คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย
 
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
 
01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย
 
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
 
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาเผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำ
 

คำราชาศัพท์ ม.6

  • 1. คำรำชำศัพท์ ตำมรูปศัพท์ หมำยถึง ถ้อยคำที่ใช้กับพระมหำกษัตริย์ แต่ในปัจจุบัน คำรำชำศัพท์ หมำยถึง ถ้อยคำสุภำพ ไพเรำะที่ใช้ให้เหมำะกับฐำนะของบุคคลในสภำพสังคมไทย ซึ่งผู้ที่ต้องใช้คำรำชำศัพท์ด้วยมี ดังนี้ พระมหำกษัตริย์ 1. พระบรมวงศำนุวงศ์ 2. พระภิกษุ 3. ขุนนำงข้ำรำชกำร 4. สุภำพชน บุคคลในกลุ่มที่ 1 และ 2 จะใช้รำชำศัพท์ชุดเดียวกัน เช่นเดียวกับบุคคลในกลุ่มที่ 4 และ 5 ก็ใช้คำรำชำศัพท์ในชุดเดียวกันและเป็นคำรำชำศัพท์ที่เรำใช้อ ยู่เป็นประจำใน สังคมมนุษย์เรำถือว่ำกำรให้เกียรติแก่บุคคลที่เป็นหัวหน้ำชุมชน หรือผู้ที่ชุมชนเคำรพนับถือนั้น เป็นวัฒนธรรมอย่ำงหนึ่งของมนุษยชำติ ทุกชำติ ทุกภำษำ ต่ำงยกย่องให้เกียรติแก่ผู้เ ป็นประมุขของชุมชนด้วยกันทั้งสิ้น ดังนั้นแทบทุกชำติ ทุกภำษำจึงต่ำงก็มี คำสุภำพ สำหรับ ใช้กับประมุขหรือผู้ที่เขำเคำรพนับถือ จะมำกน้อยย่อมสุดแต่ขนบประเพณีของชำติ
  • 2. และจิตใจของประชำชนในชำติว่ำมีควำมเคำรพในผู้เป็นประมุข เพียงใด เมืองไทยเรำก็มีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุขของชำติ และพระประมุขของเรำ แต่ละพระองค์ทรงพระปรีชำสำมำรถ จึงทำให้ประชำชนส่วนใหญ่มีควำม เคำรพสักกำระอย่ำงสูงสุดและมีควำมจงรกภักดีอย่ำงแนบแน่นต ลอดมำนับตั้งแต่ โบรำณกำลจนถึงปัจจุบันคำรำชำศัพท์เริ่มมีมำตั้งแต่สมัยใด ในแหล่งอ้ำงอิงบำงฉบับได้ให้ข้อสันนิษฐำนไว้ว่ำ คนไทยเริ่มใช้คำรำชำศัพท์ในรัชสมัยพระธรรมรำชำลิไท พระร่วงองค์ที่ 5 แห่งสุโขทัย เพรำะศิลำจำรึกต่ำงในแผ่นดินนั้น รวมทั้งบทพระรำชนิพนธ์ของท่ำน คือ ไตรภูมิพระร่วง ปรำกฏว่ำมีคำรำชำศัพท์อยู่หลำยคำ เช่น รำชอำสน์ พระสหำย สมเด็จ รำชกุมำร เสด็จ บังคม เสวยรำชย์ รำชำภิเศก เป็นต้น บำงท่ำนกล่ำวว่ำ คำรำชำศัพท์นั้นเริ่มใช้ในสมัยกรุงศรีอยุธยำ เพรำะพระปฐมบรมกษัตริย์ที่ทรงสร้ำงกรุงศรีอยุธยำ ทรงนิยมเขมร ถึงกับเอำลัทธิและภำษำเขมรมำใช้ เช่น เอำคำว่ำ "สมเด็จ" ซึ่งเขมรใช้เป็นคำนำพระนำมพระเจ้ำแผ่นดินมำเป็นคำนำพระน ำมของพระองค์ และใช้ภำษำเขมรเป็นรำชำศัพท์ และจำกหลักฐำนที่พบข้อควำมในศิลำ จำรึกวัดศรีชุม กล่ำวถึงเรื่องตั้งรำชวงศ์และเมืองสุโขทัยตอนหนึ่งมีควำมว่ำ "พ่อขุนผำเมืองจึงอภิเสกพ่ขุนบำงกลำงหำวใหเมืองสุโขไท" คำว่ำ "อภิเษก" นี้เป็นภำษำสันสกฤต
  • 3. ไทยเรำรับมำใช้สำหรับพิธีกำรแต่งตั้งตำแหน่งชั้นสูง จึงอยู่ในประเภทรำชำศัพท์ และพิธีนี้มีมำตั้งแต่รำชวงศ์สุโขทัย จึงน่ำสงสัยว่ำในสมัยนั้นอำณำจักรสุโขทัยนี้ ก็คงจะมีกำรใช้คำรำชำศัพท์บำงคำกันแล้ว ภำษำที่ใช้คำรำชำศัพท์ คำรำชำศัพท์มิได้มีที่มำจำกภำษำไทย ภำษำเดียว ด้วยว่ำกำรใช้คำรำชำศัพท์เป็นกำรใช้ด้วยตั้งใจ จะทำให้เกิดควำมรู้สึกยกย่อง เทิดทูน จึงได้เจำะจงรับคำในภำษำต่ำงๆ ที่มีควำมสัมพันธ์ใกล้ชิดกับไทยมำใช้เป็นพิเศษ โดยเฉพำะภำษำที่นับถือกันว่ำเป็นภำษำสูงและศักดิ์สิทธิ์ คำรำชำศัพท์ส่วนใหญ่จึงมีที่มำจำกภำษำต่ำงประเทศมำกมำย อย่ำงไรก็ตำมก็ยังมีคำรำชำศัพท์จำนวนไม่น้อยที่ใช้คำภำษำไท ยแท้ ซึ่งเป็นคำสำมัญยกระดับขึ้นเป็นคำรำชำศัพท์ ดังนั้นจึงอำจกล่ำวได้ว่ำคำรำชำศัพท์นั้นมีที่มำจำกทั้งภำษำต่ำง ประเทศและ ภำษำไทยของเรำเอง ดังจะได้พิจำรณำต่อไปนี้จำกภำษำต่ำงประเทศ ตั้งแต่สมัยโบรำณมำ คนไทยได้ติดต่อกับคนต่ำงชำติต่ำงภำษำมำกมำย ในบรรดำภำษำทั้งหลำยเหล่ำนั้น มีบำงภำษำที่เรำยกย่องกันว่ำเป็นภำษำสูงและศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งก็ได้แก่ ภำษำเขมร บำลี และสันกฤต ภำษำอื่นๆก็นำมำใช้เป็นคำรำชำศัพท์บ้ำง แต่ก็ไม่มำกและสังเกตได้ชัดเจนเท่ำ 3 ภำษำที่กล่ำวแล้ว
  • 4. คำรำชำศัพท์ นั้น มีที่มำอยู่ 2 อย่ำง คือ 1. รับมำจำกภำษำอื่น ภำษำเขมร เช่น โปรด เขนย เสวย เสด็จ เป็นต้น ภำษำบำลี-สันสกฤต เช่น อำพำธ เนตร หัตถ์ โอรส เป็นต้น 2. กำรสร้ำงคำขึ้นใหม่ โดยกำรประสมคำ เช่น ลูกหลวงซับพระพักตร์ ตั้งเครื่อง เป็นต้น กำรเรียนรู้เรื่องคำรำชำศัพท์ ตำมที่หลำยคนคิดว่ำคำรำชำศัพท์เป็นเรื่องของในรั้วในวัง เป็นเรื่องของผู้ใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบำทนั้น ทำให้คิดต่อไปอีกว่ำ คำรำชำศัพท์เป็นเรื่องยำกซึ่งเมื่อก่อนอำจเป็นจริง แต่ปัจจุบันคำรำชำศัพท์เป็นเรื่องในชีวิตประจำวันไปเสียแล้ว แม้มิได้ใช้มำกเท่ำกับภำษำสำมัญที่ใช้อยู่ในกำรดำรงชีวิตประ จำวันแต่ทุกคน โดยเฉพำะผู้มีกำรศึกษำก็ต้องมีโอกำสที่จะสัมผัสกับคำรำชำศัพ ท์ทุกวัน ไม่โดยตรงก็โดยทำงอ้อม โดยเฉพำะทำงสื่อมวลชน กำรเรียนรู้วิธีใช้คำรำชำศัพท์นั้น กล่ำวโดยสรุป ต้องเรียนรู้ใน 2 ประกำร คือ เรียนรู้คำ ประกำรหนึ่งกับ เรียนรู้วิธี อีกประกำรหนึ่ง 1. เรียนรู้คำ คือ ต้องเรียนรู้คำรำชำศัพท์
  • 5. 2. เรียนรู้วิธี คือ ต้องเรียนรู้วิธีหรือเรียนรู้ธรรมเนียมกำรใช้คำรำชำศัพท์ ประโยชน์ของกำรเรียนรู้คำรำชำศัพท์ เพรำะเหตุที่ว่ำสถำบันพระมหำ กษัตริย์เป็นสถำบันที่สูงสุดของ ประเทศมำแต่โบรำณ พระเจ้ำแผ่นดินทรงใกล้ชิดกับประชำชนอย่ำงแนบแน่นประกำร หนึ่ง คำรำชำศัพท์นั้นเป็นแบบอย่ำงวัฒนธรรมอันดีทำงด้ำนกำรใช้ภ ำษำไทยประกำรหนึง และกำรอ่ำนหรือศึกษำวรรณคดีก็ดี กำรรับสำรสื่อมวลชนในปัจจุบันก็ดี เหล่ำนี้ล้วนต้องมีคำรำชำศัพท์เกี่ยวข้องอยู่ด้วยเสมออีกประกำร หนึ่ง ดังนั้นกำรเรียนรู้คำรำชำศัพท์จึงเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ทั้งทำงตรง และทำง อ้อมมำกมำย ดังจะเห็นได้ดังต่อไปนี้ ประโยชน์ทำงตรง เป็นประโยชน์ที่เกิดจำกกำรตั้งเป้ำหมำยไว้ล่วงหน้ำ อันได้แก่ 1. ประโยชน์จำกกำรใช้คำรำชำศัพท์ถูกต้อง ที่เรียกว่ำใช้คำรำชำศัพท์ถูกต้องนั้น คือ ถูกต้องตำมบุคคลที่ใช้ว่ำบุคคลใดควรใช้รำชำศัพท์ขั้นไห
  • 6. น อย่ำงไร ประกำรหนึ่ง ถูกต้องตำมโอกำส คือ โอกำสใดใชคำรำชำศัพท์หรือไม่เพียงใด ประกำรหนึ่ง และถูกต้องตำมวิธีกำรใช้คือ ใช้ถูกต้องตำมแบบแผนที่นิยมนั้นก็อีกประกำรหนึ่ง กำรใช้รำชำศัพท์ต้องใช้ทั้งควำมรุ้และประสบกำรณ์เป็นดุล ยพินิจให้ถูกต้อง 2. ประโยชน์จำกกำรเข้ำใจที่ถูกต้อง ไม่ว่ำจำกกำรอ่ำนหนังสือประเภทต่ำงๆ เช่น วรรณกรรมทั่วไป วรรณคดี หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์ทั้งหลำย โทรทัศน์ วิทยุ ตลอดจนสิ่งบันเทิงทั้งหลำย มีภำพยนต์ ละคร โขน ลิเก เป็นต้น เพรำะกำรรับรู้ รับฟัง บำงครั้งต้องมีสิ่งที่เรียกว่ำ คำรำชำศัพท์ร่วมอยู่ด้วยเสมอ ทั้งที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจ ประโยชน์โดยทำงอ้อม เป็นประโยชน์ผลพลอยได้ แม้ตั้งเป้ำหมำยไว้ล่วงหน้ำหรือไม่ตั้งเป้ำหมำยไว้ก็ตำม คือ เมื่อรู้คำรำชำศัพท์ดี ถูกต้อง ฟังหรืออ่ำนเรื่องรำวที่มีคำรำชำศัพท์เข้ำใจผลประโยชน์พลอยไ ด้ ก็จะเกิดขึ้นเสมอ ดังนี้ 1. ธำรงรักษำวัฒนธรรมอันดีงำนของชำติไว้
  • 7. คือ รักษำให้คงอยู่ไม่เสื่อมสูญ ถือเป็นกำรธำรงรักษำวัฒนธรรมและควำมมั่นคงของประเท ศชำติ 2. เพิ่มควำมมีเสน่ห์ในตัวบุคคล คือ บุคคลผู้รู้และใช้คำรำชำศัพท์ได้อย่ำงถูกต้อง เป็นกำรแสดงออกซึ่งควำมมีวัฒนธรรมอันดีงำมทำงภำษำ คำรำชำศัพท์สำหรับพระมหำกษัตริย์ และพระบรมวงศำนุวงศ์ลำดับพระรำชอิสริยศักดิ์พระบรมรำชวง ศ์ 1. พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว , สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ 2. สมเด็จพระบรมรำชินี , สมเด็จพระบรมรำชชนนี , สมเด็จพระยุพรำช , สมเด็จพระสยำมบรมรำชกุมำรี 3. สมเด็จเจ้ำฟ้ำ 4. พระเจ้ำบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำ 5. พระเจ้ำวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำ 6. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำ 7. หม่อมเจ้ำ มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำรำชำศัพท์ คือ ต้องกำรยกย่องให้เกียรติดังนั้นกำรศึกษำเรื่องคำรำชศัพท์ นี้ จึงแบ่งเป็น 2 ตอน ใหญ่ๆคือ ตอนที่ 1 ศัพท์สำหรับพระมหำกษัตริย์ และพระบรมวงศำนุวงศ์ ตอนที่ 2 ศัพท์สำหรับพระภิกษุสงฆ์
  • 8. รำชำศัพท์สำหรับพระมหำกษัตริย์  คำนำมที่เป็นชื่อสิ่งของสำคัญที่ควรยกย่อง มีคำเติมหน้ำ ได้แก่ พระบรมมหำรำช พระบรมมหำ พระบรมรำช พระบรม พระอัครำช พระอัคร และพระมหำ เช่น พระบรมมหำรำชวัง พระบรมมหำชนกพระบรมรำชชนนี พระบรมรำชวงศ์ พระบรมอัฐิ พระบรมโอรสำธิรำช พระอัครชำยำ พระมหำปรำสำท พระมหำเศวตฉัตร เป็นต้น  คำนำมเป็นชื่อสิ่งสำคัญรองลงมำ นำหน้ำด้วยคำ“พระรำช” เช่น พระรำชวังพระรำชวงศ์ พระรำชทรัพย์ พระรำชลัญจกร เป็นต้น  คำนำมเป็นชื่อของสิ่งสำมัญทั่วไปที่ไม่ถือ ว่ำสำคัญส่วนใหญ่เป็นคำ บำลีสันสกฤต เขมร และคำไทยเก่ำ แต่บำงคำก็เป็นคำไทยธรรมดำนำหน้ำด้วยคำ “พระ” เช่น พระกร พระบำทพระโรค พระฉำย พระแท่น พระเครำะห์ เป็นต้น คำนำมใดที่เป็นคำประสม มีคำ “พระ” ประกอบอยู่แล้ว ห้ำมใช้คำ “พระ” นำหน้ำซ้อนอีก เช่น พำนพระศรี (พำนหมำก) ขันพระสำคร (ขันน้ำ) เป็นต้น  คำนำมที่เป็นชื่อสิ่งไม่สำคัญและคำนั้นมัก เป็นคำไทย นำหน้ำด้วยคำว่ำ “ต้น” เช่น ม้ำต้น ช้ำงต้น เรือนต้น และนำหน้ำด้วย “หลวง” เช่น ลูกหลวง หลำนหลวง รถหลวง เรือหลวง สวนหลวง ส่วน “หลวง” ที่แปลว่ำใหญ่ ไม่จัดว่ำเป็นรำชำศัพท์ เช่นภรรยำหลวง เขำหลวง
  • 9. ทะเลหลวง เป็นต้น นอกจำกคำว่ำ “ต้น” และ “หลวง” ประกอบท้ำยคำแล้ว บำงคำยังประกอบคำอื่นๆ อีก เช่น รถพระที่นั่ง เรือพระที่นั่ง รถทรง เรือทรง ม้ำทรง ช้ำงทรง น้ำสรง ห้องสรง ของเสวย โต๊ะเสวย ห้องบรรทม เป็นต้น ศัพท์สำหรับเจ้ำนำยหรือพระบรมวงศำนุวงศ์ คือตั้งแต่สมเด็จพระบรมรำชินีลงไปถึงหม่อมเจ้ำ  ใช้พระรำชนำหน้ำ เช่น พระรำชเสำวนีย์ พระรำชประวัติ พระรำชดำรัlส พระรำชกุศล พระรำโชวำท พระรำโชบำย เป็นต้น  ใช้พระนำหน้ำ เช่น พระเศียร พระองค์ พระหัตถ์ พระทัย พระบำท เว้นแต่หม่อมเจ้ำไม่ใช้ “พระ” นำหน้ำ ใช้ว่ำ เศียร องค์ หัตถ์ หทัย บำท เป็นต้น  คำนำมรำชำศัพท์สำหรับเจ้ำนำยอยู่ในตัว ไม่ต้องใช้คำนำหน้ำหรือคำต่อท้ำย เช่น วัง ตำหนัก ดังที่กล่ำวมำแล้วข้ำงต้น รำชำศัพท์สำหรับพระภิกษุสงฆ์ ไทยเรำมีคำพูดที่ใช้กับพระภิกษุโดย เฉพำะอยู่ประเภทหนึ่งบำงทีก็ เป็นคำที่พระภิกษุเป็นผู้ใช้เอง ซึ่งคนไทยส่วนใหญ่จะรู้จักกันหมดแล้ว เช่น คำว่ำ อำตมำภำพ หรืออำตมำ มีควำมหมำยเท่ำกับ ฉัน บำงคำก็ทั้งท่ำนใช้เองและเรำใช้กับท่ำน เช่น คำว่ำ ฉัน หมำยถึง กิน เป็นต้น กำรพูดกับพระภิกษุต้องมีสัมมำคำรวะ สำรวม ไม่ใช้ถ้อยคำที่เป็นไปในทำนองพูดเล่นหรือพูดพล่อยๆ ซึ่งจะเป็นกำรขำดควำมเคำรพไปสำหรับพระภิกษุ เรำจำเป็นต้องทรำบรำชทินนำม เรียกว่ำ
  • 10. พระภิกษุผู้ทรงสมณศักดิ์ ของพระภิกษุเรียงลำดับได้ดังนี้ เพื่อที่จะได้ใช้ได้อย่ำงถูกต้อง 1. สมเด็จพระสังฆรำช 2. สมเด็จพระรำชำคณะ หรือ ชั้นสุพรรณปัฎ คือ พระภิกษุที่มีรำชทินนำมนำหน้ำด้วยคำว่ำ "สมเด็จพระ" 3. พระรำชำคณะชั้นรอง 4. พระรำชำคณะชั้นธรรม พระรำชำคณะชั้นนี้มักมีคำว่ำ "ธรรม" นำหน้ำ 5. พระรำชำคณะชั้นเทพ พระรำชำคณะชั้นนี้มักมีคำว่ำ "เทพ" นำหน้ำ 6. พระรำชำคณะชั้นรำช พระรำชำคณะชั้นนี้มักมีคำว่ำ "รำช" นำหน้ำ 7. พระรำชำคณะชั้นสำมัญ 8. พระครูสัญญำบัติ , พระครูชั้นประทวน , พระครูฐำนำนุกรม 9. พระเปรียญตั้งแต่ 3-9 กำรใช้คำพูดกับพระภิกษุทรงสมณศักดิ์ ที่ผิดกันมำกคือชั้นสมเด็จพระรำชำคณะเห็นจะเป็นเพรำะมีคำว่ำ "สมเด็จ" นำหน้ำจึงเข้ำใจว่ำต้องใช้คำรำชำศัพท์ ซึ่งผิด ควำมจริงแล้ว พระภิกษุทรงสมณศักดิ์ที่ต้องใช้รำชำศัพท์มีเฉพำะเพียงสมเด็จ พระสังฆรำชเท่ำ นั้น เว้นแต่พระภิกษุรูปนั้นๆ ท่ำนจะมีฐำนันดรศักดิ์ทำงพระรำชวงศ์อยู่แล้ว. คำรำชำศัพท์ที่ควรทรำบ
  • 11. พระภิกษุที่เป็นพระรำชวงศ์ ใช้รำชำศัพท์ตำมลำดับชั้นแห่งพระรำชวงศ์ สำหรับสมเด็จพระสังฆรำชเจ้ำ(สมเด็จพระสังฆรำชที่เป็นพระรำ ชวงศ์) ใช้ดังนี้ คำขึ้นต้น ใช้ว่ำ ขอประทำนกรำบทูล (กล่ำวพระนำมเต็ม) สรรพนำมแทนผู้พูด ใช้ว่ำ ข้ำพระพุทธเจ้ำ สรรพนำมแทนพระองค์ท่ำน ใช้ว่ำ ใต้ฝ่ำพระบำท คำลงท้ำย ใช้ว่ำ ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้ำโปรดกระหม่อม สมเด็จพระสังฆรำช ซึ่งดำรงตำแหน่งสกลมหำสังฆปริณำยก ใช้รำชำศัพท์เสมอพระเจ้ำวรวงศ์เธอ (ที่มิได้ทรงกรม) เช่น คำขึ้นต้น ใช้ว่ำ กรำบทูล (กล่ำวพระนำมเต็ม) สรรพนำมแทนผู้พูด ใช้ว่ำ เกล้ำกระหม่อม (สำหรับชำย), เกล้ำกระหม่อมฉัน(สำหรับหญิง) สรรพนำมแทนพระองค์ท่ำน ใช้ว่ำ ฝ่ำพระบำท คำลงท้ำย ใช้ว่ำ ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด สรรพนำมบุรุษที่ 1 ที่พระภิกษุใช้ คำที่ใ ช้ โอกำสที่ใช้ อำตมำ พระภิกษุใช้กับบุคคลธรรมดำที่เป็นผู้ใหญ่หรือมีฐำนะตำ แหน่งสูงในโอกำสที่ไม่เป็นทำงกำร
  • 12. อำตมำ ภำพ พระภิกษุใช้กับพระรำชวงศ์ตั้งแต่หม่อมเจ้ำขึ้นไป และใช้ในโอกำสที่เป็นทำงกำร เช่น กำรแสดงพระธรรมเทศนำ เกล้ำก ระผม พระภิกษุใช้กับพระภิกษุที่เป็นอุปัชฌำย์อำจำรย์หรือที่ ดำรงสมณศักดิ์สูงกว่ำ ผม,กร ะผม พระภิกษุใช้กับพระภิกษุด้วยกันโดยทั่ว ๆ ไป สรรพนำมบุรุษที่ 2 ที่พระภิกษุใช้ คำที่ใช้ โอกำสที่ใช้ มหำบพิตร พระเจ้ำแผ่นดิน บพิตร พระรำชวงค์ คุณโยม บิดำ, มำรดำ, ญำติผู้ใหญ่หรือผู้ที่อำวุโสสูง คุณ,เธอ ใช้กับบุคคลทั่วไป สรรพนำมบุรุษที่ 2 ที่ฆรำวำสใช้ คำที่ใช้ โอกำสที่ใช้ พระคุณเจ้ำ ฆรำวำสใช้กับสมเด็จพระรำชำคณะ, รองสมเด็จพระรำชำคณะ พระคุณท่ำน ฆรำวำสใช้กับพระรำชำคณะชั้นรองลงมำ
  • 13. ท่ำน ใช้กับพระภิกษุทั่วไป คำขำนรับที่พระภิกษุใช้ คำที่ใช้ โอกำสที่ใช้ ขอถวำยพระพร พระรำชวงค์ เจริญพร ฆรำวำสทั่วไป ครับ,ขอรับ ใช้กับพระภิกษุด้วยกัน ศัพท์สำหรับพระภิกษุที่พบบ่อย คำที่ใช้ โอกำสที่ใช้ รูป ลักษณะนำมสำหรับพระภิกษุสงฆ์ อำรำธนำ ขอเชิญ เจริญพระพุทธมนต์ สวดมนต์ ภัตตำหำร อำหำร ประเคน ยกของ(ด้วยมือ)ให้พระ ฉัน กิน ถวำย มอบให้ เครื่องไทยธรรม ของถวำยพระ, ของทำบุญต่ำง ๆ อนุโมทนำ ยินดีด้วย อำสนะ, อำสน์สงฆ์ ที่นั่ง
  • 14. ธรรมำสน์ ที่แสดงธรรม เสนำสนะ สถำนที่ที่ภิกษุใช้ จำวัด นอน สรง อำบน้ำ มรณภำพ ตำย ปลงผม โกนผม กุฏิ เรือนพักในวัด จำพรรษ อยู่ประจำวัด อุปสมบท บวช (บวชเป็นพระภิกษุ) บรรพชำ บวช (บวชเป็นสำมเณร) ลำสิกขำ สึก คิลำนเภสัช ยำรักษำโรค ลิขิต จดหมำย ครองผ้ำ แต่งตัว ถวำยอดิเรก กล่ำวบทอวยพรพระมหำกษัตริย์ บิณฑบำต รับของใส่บำตร ปลงอำบัติ แจ้งควำมผิดให้ทรำบ ปัจจัย เงิน ทำวัตร สวดมนต์ เผดียงสงฆ์ แจ้งให้สงฆ์ทรำบ สุผ้ำ ซักผ้ำ, ย้อมผ้ำ อำพำธ ป่วย
  • 15. วิธีใช้คำประกอบหน้ำคำรำชำศัพท์ 1. พระบรมรำช ใช้ประกอบหน้ำคำเพื่อให้เห็นว่ำสำคัญยิ่ง ในกรณีที่ต้องกำรเชิดชูพระรำชอำนำจ 2. พระบรม ใช้ประกอบหน้ำคำเพื่อให้เห็นว่ำสำคัญยิ่ง ในกรณีที่ต้องกำรเชิดชูพระรำชอิสริยยศ 3. พระรำช ใช้ประกอบหน้ำคำเพื่อให้เห็นว่ำสำคัญรองมำจำก พระบรม เพื่อแสดงให้เห็นว่ำเป็นสิ่งเฉพำะขององค์พระเจ้ำแผ่นดิน วิธีใช้คำประกอบหลังคำรำชำศัพท์ 1. ทรง ใช้ประกอบหลังคำนำม เพื่อเป็นคำนำมรำชำศัพท์ 2. ต้น ใช้ประกอบหลังคำนำมสำคัญทั่วไป เพื่อทำให้เป็นคำนำมรำชำศัพท์ มักใช้กับสิ่งที่โปรดเป็นพิเศษ 3. หลวง ใช้ประกอบหลังคำนำมสำมัญทั่วไป เพื่อให้เป็นนำมรำชำศัพท์ 4. พระที่นั่ง ใช้ประกอบหลังคำนำมสำมัญ เพื่อให้เป็นนำมรำชำศัพท์ มีควำมหมำยว่ำเป็นที่ประทับส่วนพระองค์  คำรำชำศัพท์ที่ควรทรำบ  คำรำชำศัพท์ที่ใช้เป็นคำนำม 
  • 16.  คำสำมัญ คำรำชำศัพท์ คำสำมั ญ คำรำชำศัพท์ หัว(พระมหำกษั ตริย์) พระเจ้ำ หัว พระเศียร ผม(พระมหำกษั ตริย์) เส้นพระเจ้ำ ผม พระเกศำ,พระเกศ,พระ ศก หน้ำผำก พระนลำฎ คิว พระขนง,พระภมู ขนระหว่ำงคิว พระอุณำโลม ดวงตำ พระจักษุ,พระนัยนำ,พ ระเนตร จมูก พระนำสำ,พระ นำสิก แก้ม พระปรำง ปำก พระโอษฐ์ ฟัน พระทนต์ ลิ้น พระชิวหำ คำง พระหนุ หู พระกรรณ คอ พระศอ ดวงตำ พระพักตร์ หนวด พระมัสสุ บ่ำ,ไหล่ พระอังสำ ต้นแข น พระพำหำ,พระพำหุ ปลำยแขน พระกร มือ พระหัตถ์ นิ้วมือ พระองคุลี เล็บ พระนขำ ห้อง พระอุทร เอว พระกฤษฎี,บั้นพระเอว ขำ,ตัก พระเพลำ แข้ง พระชงฆ์ เท้ำ พระบำท ขน พระโลมำ
  • 17. ปอด พระปัปผำสะ กระดูก พระอัฐิ   คำรำชำศัพท์ที่ใช้เป็นคำสรรพนำม  บุรุษที่ 1  สรรพนำม ผู้พูด ผู้ฟัง ข้ำพระพุทธเจ้ำ บุคคลทั่วไป พระมหำกษัตริย์,เจ้ำนำยชั้น สูง เกล้ำกระหม่อมฉั น บุคคลทั่วไป(หญิ ง) เจ้ำนำยชั้นรองลงมำ เกล้ำกระหม่อม บุคคลทั่วไป(ชำย ) เกล้ำกระผม บุคคลทั่วไป   บุรุษที่ 2  สรรพนำม ผู้พูด ผู้ฟัง ใต้ฝ่ำละอองธุลี เจ้ำนำยหรือบุคคล พระบำท ทั่วไป พระมหำกษัตริย์,พระบรมร ำชินีนำถ ใต้ฝ่ำละอองพร ะบำท เจ้ำนำยหรือบุคคล ทั่วไป พระบรมโอรสำธิรำช,พระบ รมรำชกุมำรี
  • 18. ใต้ฝ่ำพระบำท เจ้ำนำยหรือบุคคล ทั่วไป เจ้ำนำยชั้นสูง ฝ่ำพระบำท เจ้ำนำยที่เสมอกันเ หรือผู้น้อย เจ้ำนำยชั้นหม่อมเจ้ำถึงพร ะเจ้ำวรวงศ์เธอ   บุรุษที่ 3  สรรพนำม ผู้พูด ใช้กับ พระองค์ บุคคลทั่วไป พระมหำกษัตริย์,เจ้ำนำยชั้นสูง ท่ำน บุคคลทั่วไป เจ้ำนำย   คำขำนรับ  คำ ผุ้ใช้ ใช้กับ พระพุทธเจ้ำข้ำขอรับใส่เกล้ำใส่กระหม่อ ชำย ม พระมหำกษัตริ ย์ เพคะใส่เกล้ำใส่กระหม่อมหรือเพคะ หญิ ง พะมหำกษัตริย์ พระพุทธเจ้ำข้ำขอรับ,พระพุทธเจ้ำข้ำ ชำย เจ้ำนำยชั้นสูง เพค่ะกระหม่อม หญิ ง เจ้ำนำยชั้นสูง
  • 19.   คำรำชำศัพท์ที่ใช้เป็นคำกริยำ เป็นคำแสดงอำกำร แบ่งเป็น 4 ชนิด  กริยำที่เป็นรำชำศัพท์ในตัวเอง เช่น ตรัส(พูด) เสด็จ(ไป) กริ้ว(โกรธ) ประชวร (ป่วย) ประสูติ(เกิด) ทูล(บอก) เสวย(กิน) ถวำย(ให้) บรรทม(นอน) ประทับ(อยู่) โปรด(รัก,ชอบ) ทรงม้ำ(ขี่ม้ำ) ทรงดนตรี(เล่นดนตรี)  ใช้ทรงนำหน้ำกริยำธรรมดำ เช่น ทรงฟัง ทรงยืน ทรงยินดี  ห้ำมใช้ทรงนำหน้ำกริยำที่มีนำมรำชำศัพท์ เช่น มีพระรำชดำริ(ห้ำมใช้ทรงมีพระรำชดำริ) มีพระบรมรำชโองกำร (ห้ำมใช้ทรงมีพระบรมรำชโองกำร)  ใช้เสด็จนำหน้ำกริยำบำงคำ เช่นเสด็จกลับ เสด็จขึ้น เสด็จลง คำกริยำที่ประสมขึ้นใช้เป็นรำชำศัพท์ตำมลำดับชั้นบุคคล กริย ำ รำชำศัพท์ ชั้นบุคคล เกิด พระรำชสมภพ พระมหำกษัตริย์,พระบรมรำชิ นี
  • 20. ประสูติ เจ้ำนำย ตำย สวรรคต พระมหำกษัตริย์,พระบรมรำชิ นี ทิวงคต พระยุพรำชหรือเทียบเท่ำ สิ้นพระชนม์ พระองค์เจ้ำหรือเจ้ำนำยชั้นสู ถึงชีพิตักษัย,สิ้นชีพิตักษั ย หม่อมเจ้ำ ถึงแก่อสัญกรรม นำยกรัฐมนตรี ถึงแก่อนิจกรรม รัฐมนตรี คำขึ้นต้นและคำ ลงท้ำยในกำรกรำบบังคมทูล กรำบทูล และทูลด้วยวำจำ ฐำนันดรของ ผู้ฟัง คำขึ้นต้น คำลงท้ำย พระบำทสมเ ด็จพระเจ้ำอ ยู่หัว , สมเด็จพระบ รมรำชินีนำถ ขอเดชะฝ่ำละอองธุลีพร ะบำทปกเกล้ำปกกระห ม่อม ด้วยเกล้ำด้วยกระหม่อมข อเดชะ สมเด็จพระบ ขอพระรำชทำนกรำบบั ด้วยเกล้ำด้วยกระหม่อม
  • 21. รมรำชินี , สมเด็จพระบ รมรำชชนนี , สมเด็จพระยุ พรำช , สมเด็จพระส ยำมบรมรำช กุมำรี งคมทูลทรำบฝ่ำละออง พระบำท ควรมีควรแล้วแต่จะทรงพิ จำรณำโปรดเกล้ำโปรดก ระหม่อม สมเด็จเจ้ำฟ้ำ ขอพระรำชทำนกรำบทู ลทรำบฝ่ำพระบำท ควรมีควรแล้วแต่จะทรงพิ จำรณำโปรดเกล้ำโปรดก ระหม่อม พระเจ้ำบรมว งศ์เธอ พระองค์เจ้ำ ขอประทำนกรำบทูลทร ำบฝ่ำพระบำท ควรมีควรแล้วแต่จะทรงพิ จำรณำโปรดเกล้ำโปรดก ระหม่อม พระเจ้ำวรวง ศ์เธอ พระองค์เจ้ำ พระวรวงศ์เธ อ พระองค์เจ้ำ กรำบทูลฝ่ำพระบำท ควรมีควรแล้วแต่จะโปรด หม่อมเจ้ำ ทูลฝ่ำพระบำททรงทรำ บ แล้วแต่จะโปรด กำรใช้คำรำชำศัพท์ในกำรเพ็ดทูล หลักเกณฑ์ในกำรกรำบบังคมทูลพระเจ้ำแผ่นดิน
  • 22. 1. ถ้ำผู้รับคำกรำบบังคมทูลไม่ทรงรู้จัก ควรแนะนำตนเองว่ำ "ขอเดชะฝ่ำละอองธุลีพระบำทปกเกล้ำปกหระหม่อม ข้ำพระพุทธเจ้ำ ......................ชื่อ.................... ขอพระรำชทำนพระบรมรำชวโรกำสกรำบบังคมทูลพระกรุ ณำทรำบฝ่ำละอองธุลีพระบำท" และลงท้ำยว่ำ ด้วยเกล้ำด้วยกระหม่อมขอเดชะ 2. ถ้ำกรำบบังคมทูลธรรมดำ เช่น ทรงมีกระแสพระรำชดำรัสถำมส่ำชื่ออะไร ก็กรำบบังคมทูลว่ำ "ข้ำพระพุทธเจ้ำ ชื่อ ...................พระพุทธเจ้ำข้ำ" 3. ถ้ำต้องกำรกรำบบังคมทูลถึงควำมสะดวกสบำย หรือรอดอันตรำยให้ใช้คำว่ำ "เดชะพระบำรมีปกเกล้ำปกกระหม่อม......................" 4. ถ้ำจะกรำบบังคมทูลถึงสิ่งที่ทำผิดพลำดไม่สมควรทำให้ใช้ คำนำ "พระรำชอำญำไม่พ้นเกล้ำพ้นกระหม่อม" 5. ถ้ำจะกรำบบังคมทูลขอพระรำชทำนพระมหำกรุณำใช้คำว่ ำ "ขอพระบำรมีปกเกล้ำปกกระหม่อม" 6. ถ้ำจะกรำบบังคมทูลถึงของหยำบมิบังควร ใช้คำว่ำ "ไม่ควรจะกรำบบังคมพระกรุณำ" 7. ถ้ำจะกรำบบังคมทูลเป็นกลำงๆ เพื่อให้ทรงเลือก ให้ลงท้ำยว่ำ "ควรมีควร ประกำรใดสุดแล้วแต่จะทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำ โปรดกระหม่อม" 8. ถ้ำจะกรำบบังคมทูลถึงควำมคิดเห็นของตนเองใช้ว่ำ "เห็นด้วยเกล้ำด้วยกระหม่อม" 9. ถ้ำกรำบบังคมทูลถึงสิ่งที่ที่ทรำบใช้ว่ำ "ทรำบเกล้ำทรำบกระหม่อม"
  • 23. 10. ถ้ำจะกรำบบังคมทูลถึงกำรทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งถวำยใช้คำ ว่ำ "สนองพระมหำกรุณำธิคุณ" 11. ถ้ำจะกล่ำวขออภัยโทษ ควรกล่ำวคำว่ำ "เดชะพระอำญำไม่พ้นเกล้ำ" และลงท้ำยว่ำ ด้วยเกล้ำด้วยกระหม่อม 12. กำรกล่ำวถึงสิ่งที่ได้รับควำมอนุเครำะห์ ให้ใช้คำว่ำ "พระเดชพระคุณเป็นล้นเกล้ำล้นกระหม่อม" สำหรับเจ้ำนำยตั้งแต่หม่อมเจ้ำขึ้นไป 1. ในกำรกรำบบังคมทูล ไม่ต้องใช้คำขึ้นต้นและลงท้ำย ถ้ำเป็นพระยุพรำช , พระรำชินีแห่งอดีตรัชกำลและสมเด็จเจ้ำฟ้ำ ควรใช้สรรพนำมแทนพระองค์ท่ำนว่ำ "ใต้ฝ่ำละอองพระบำท" ใช้สรรพนำมแทนตนเองว่ำ "ข้ำพระพุทธเจ้ำ" และใช้คำรับว่ำ "พระพุทธเจ้ำข้ำ" 2. เจ้ำนำยชั้นรองลงมำ ใช้สรรพนำมแทนพระองค์ว่ำ "ใต้ฝ่ำพระบำท" ใช้สรรพนำมแทนตนเองว่ำ "เกล้ำกระหม่อม" ใช้คำรับว่ำ "พระเจ้ำข้ำ" เจ้ำนำยชั้นสมเด็จพระยำและพระยำพำนทอง ใช้สรรพนำมของท่ำนว่ำ "ใต้เท้ำกรุณำ" ใช้สรรพนำมของตนว่ำ "เกล้ำกระหม่อม" ฝช้คำรับว่ำ "ขอรับกระผม" 3. คำที่พระภิกษุใช้เพ็ดทูลต่อพระเจ้ำแผ่นดิน แทนคำรับว่ำ "ถวำยพระพร" แทนตนเองว่ำ "อำตมภำพ" ใช้สรรพนำมของพระองค์ว่ำ "มหำบพิตร"
  • 24. คำราชาศัพท์ที่ใช้กับพระสงฆ์ คำที่ใช้กับพระสงฆ์ คำสามัญ ราชาศัพท์ คำพูดแทนตัวเอง อาตมา พระสงฆ์ใช้เรียกพระเจ้าแผ่นดิน มหาบพิตร คนทั่วไป โยม ให้, มอบให้ ถวาย ยื่นให้ระยะห่างหัตถบาส ประเคน (ระยะระหว่างพระสงฆ์ที่นงั่ทำสังฆกรรมหรือระหว่างพระภิกษุ สามเณร กับคฤหัสถ์ผู้ถวายของ ห่างกันไม่เกินศอกหนงึ่) (หรือยื่นของให้พระ ของน้นัสามารถเข้าปากแล้วกลืนได้) อาหารเช้า จังหัน กิน ฉัน ขอเชิญพระ (เดิน, นงั่, เขียนหนงัสือ) นมินต์ ขอเชิญพระแสดงธรรม กราบอาราธนาธรรม ไหว้ นมัสการ ห่มจีวร ครองจีวร ผ้าห่ม ผ้าจีวร ผ้าพาดบ่า สังฆาฏิ ผ้านุ่ง สบง อาบนา้ํ สรงนา้ํ โกนผม ปลงผม นอน จำวัด สวดมนต์ ทำวัตร เงิน ปัจจัย บวชเณร บรรพชา บวชพระ อุปสมบท ป่วย อาพาธ ตาย มรณภาพ
  • 25. หมวดเครือญำติ พระอัยกำ หมำยถึง ปู่หรือตำ พระอัยยิกำ หมำยถึง ย่ำหรือยำย พระปัยกำ หมำยถึง ปู่ทวดหรือตำทวด พระปัยยิกำ หมำยถึง ย่ำทวดหรือยำยทวด พระชนกหรือพระรำชบิดำ หมำยถึง พ่อ พระชนนีหรือพระรำชมำรดำ หมำยถึง แม่ พระสสุระ หมำยถึง พ่อสำมี พระสัสสุ หมำยถึง แม่สำมี พระปิตุลำ หมำยถึง ลุงหรืออำชำย พระปิตุจฉำ หมำยถึง ป้ำหรืออำหญิง
  • 26. พระมำตุลำ หมำยถึง ลุงหรือน้ำชำย พระมำตุจฉำ หมำยถึง ป้ำหรือน้ำหญิง พระสวำมีหรือพระภัสดำ หมำยถึง สำมี พระมเหสีหรือพระชำยำ หมำยถึง ภรรยำ พระเชษฐำ หมำยถึง พี่ชำย พระเชษฐภคินี หมำยถึง พี่สำว พระอนุชำ หมำยถึง น้องชำย พระขนิษฐำ หมำยถึง น้องสำว พระรำชโอรสหรือพระเจ้ำลูกยำเธอ หมำยถึง ลูกชำย พระรำชธิดำ, พระเจ้ำลูกเธอ หมำยถึง ลูกสำว พระชำมำดำ หมำยถึง ลูกเขย พระสุณิสำ หมำยถึง ลูกสะใภ้ พระรำชนัดดำ หมำยถึง หลำนชำยหรือหลำนสำว
  • 27. พระภำคิไนย หมำยถึง หลำนที่เป็นลูกของพี่สำวหรือน้องสำว พระภำติยะ หมำยถึง หลำนที่ลูกของพี่ชำย หรือน้องชำย พระรำชปนัดดำ หมำยถึง เหลน หมวดเครื่องใช้ พระวิสูตรหรือพระสูตร หมำยถึง ม่ำนหรือมุ้ง พระเขนย หมำยถึง หมอน พระทวำร หมำยถึง ประตู พระบัญชร หมำยถึง หน้ำต่ำง พระสุวรรณภิงคำร หมำยถึง คนโทน้ำ ฉลองพระหัตถ์ช้อน หมำยถึง ช้อน ฉลองพระหัตถ์ส้อม หมำยถึง ส้อม ฉลองพระหัตถ์ตะเกียบ หมำยถึง ตะเกียบ
  • 28. แก้วน้ำเสวย หมำยถึง แก้วน้ำ พระสำง หมำยถึง หวี พระแสงกรรบิด หมำยถึง มีดโกน นำฬิกำข้อพระหัตถ์ หมำยถึง นำฬิกำข้อมือ พระฉำย หมำยถึง กระจกส่อง ธำรพระกร หมำยถึง ไม้เท้ำ พระแท่นบรรทม หมำยถึง เตียงนอน พระรำชอำสน์ หมำยถึง ที่นั่ง โต๊ะทรงพระอักษร หมำยถึง โต๊ะเขียนหนังสือ พระรำชหัตถเลขำ หมำยถึง จดหมำย ฉลองพระเนตร หมำยถึง แว่นตำ พระที่นั่งเก้ำอี้หรือเก้ำอี้ประทับ หมำยถึง เก้ำอี้นั่ง
  • 29. พระเขนย หมำยถึง หมอนหนุน เครื่องพระสุคนธ์ หมำยถึง เครื่องหอม เช่น น้ำหอม แป้งผัดหน้ำ เครื่องพระสำอำง หมำยถึง เครื่องประทินผิวหรือเครื่องสำอำง อ่ำงสรง หมำยถึง อ่ำงอำบน้ำ กระเป๋ำทรง หมำยถึง กระเป๋ำถือ พระแสงปนำค หมำยถึง กรรไกร หมวดเครื่องแต่งกำย สนับเพลำ หมำยถึงกำงเกง ถุงพระบำท หมำยถึงถุงเท้ำ ถุงพระหัตถ์ หมำยถึงถุงมือ ซับพระองค์หมำยถึงผ้ำเช็ดตัว
  • 30. ซับพระพักตร์ หมำยถึง ผ้ำเช็ดหน้ำ ภูษำทรง หมำยถึง ผ้ำนุ่ง ผ้ำพันพระศอ หมำยถึงผ้ำพันคอ พระภูษำ หมำยถึง ผ้ำนุ่ง พระภูษำโสร่ง หมำยถึงผ้ำโสร่ง ฉลองพระบำท หมำยถึงรองเท้ำ ฉลองพระองค์ หมำยถึง เสื้อชั้นนอก หมวดเครื่องประดับ กำไลข้อพระบำท = กำไลข้อเท้ำ ทองข้อพระบำท = กำไลข้อเท้ำ
  • 31. พำหุรัด = กำไลรัดต้นแขน ปั้นเหน่ง = เข็มขัด (ประดับ) เครื่องทรง = เครื่องแต่งตัว ตุ้มพระกรรณ = ต่ำงหู รัตนมณี = ทับทิม พระจุฑำมณี = ปิ่น รัตนำ = เพชร พระชฏำ = มงกุฎ พระปั้นเหน่ง = หัวเข็มขัด พระธำมรงค์ = แหวน
  • 32. หมวดร่ำงกำย พระเจ้า หัว ศีรษะ ( พระมหากษัตริย์ ) พระเศียร หัว ศีรษะ พระสิรัฐิ ( สิ- รัด - ถิ ) พระสีสกฏาหะ กะโหลกศีรษะ เส้นพระเจ้า เส้นผมของพระมหากษัตริย์ พระเกศา พระเกศ พระศก เส้นผม ไรพระเกศ ไรพระเกศา ไรพระศก ไรผม ขมวดพระศก ขมวดพระเกศา ขมวดผมทเี่ป็นกน้หอย พระโมลี พระเมาลี จุก หรือ มวยผม พระจุไร ไรจุก ไรผม พระจุฑามาศ มวยผม ทา้ยทอย พระเวณิ เปียผม ชอ้งผม พระนลาฏ หน้าผาก พระขนง พระภมู คิ้ว พระอุนาโลม ขนหว่างคิ้ว พระเนตร พระนัยนะ พระจักษุ ดวงตา พระเนตรดา ดวงพระเนตรดา ตาดา ดวงเนตรขาว ดวงพระเนตรขาว ตาขาว พระกนีนิกา พระเนตรดารา แกว้ตา หนังพระเนตร หลังพระเนตร หนังตา หลังตา พระโลมจักษะ ขนพระเนตร ขนตา ม่านพระเนตร ม่านตา ต่อมพระเนตร ต่อมน้าตา พระอัสสุธารา พระอัสสุชล น้าพระเนตร น้าตา พระนาสิก พระนาสา จมูก สันพระนาสิก สันพระนาสา สันจมูก ช่องพระนาสิก ช่องจมูก พระโลมนาสิก ขนพระนาสิก ขนจมูก พระปราง แกม้
  • 33. พระกา โบล กระพุ้งพระปราง กระพุ้งแกม้ พระมัสสุ หนวด พระทาฐิกะ พระทาฒิกะ เครา พระตาลุ เพดานพระโอษฐ์ เพดานปาก พระทนต์ ฟัน พระโอษฐ์ ปาก ริมฝีปาก พระทนัตมังสะ พระทนัตมังสา เหงือก ไรพระทนต์ ไรฟัน พระทาฐะ พระทาฒะ เขี้ยว พระกราม ฟันกราม พระชิวหา ลิ้น ตน้พระชิวหา มูลพระชิวหา โคนลิ้น ลิ้นไก่ พระหนุ ( หะ - นุ ) คาง ตน้พระหนุ ขากรรไกร พระกรรณ หู ใบหู ช่องพระโสต ช่องพระกรรณ ช่องหู พระพักตร์ ดวงหน้า พระศอ คอ พระกณัฐมณี ลูกกระเดือก ลา พระศอ ลา คอ พระชตัตุ คอต่อ พระรากขวญั ไหปลาร้า พระอังสา บ่า พระอังสกุฏ จะงอยบ่า พระพาหา พระพาหุ บ่า พระกร ศอกถึงข้อมือ พระกปัระ พระกะโประ ข้อศอก พระกจัฉะ รักแร้ พระกจัฉโลมะ ขนรักแร้ พระหัตถ์ มือ ข้อพระกร ข้อพระหัตถ์ ข้อมือ ฝ่าพระหัตถ์ ฝ่ามือ หลังพระหัตถ์ หลังมือ พระองคุลี นิ้วพระหัตถ์ นิ้วมือ พระอังคุฐ นิ้วหัวแม่มือ
  • 34. พระดัชนี นิ้วชี้ พระมัชฌิมา นิ้วกลาง พระอนามิกา นิ้วนาง พระกนิษฐา นิ้วกอ้ย ข้อนิ้วพระหัตถ์ พระองคุลีบพั ข้อนิ้วมือ พระมุฐิ กา พระหัตถ์ กา ปั้น กา มือ พระนขา พระกรชะ เล็บ พระอุระ พระทรวง อก พระหทยั พระกมล หัวใจ พระถัน พระเตา้ พระปโยธร เตา้นม ยอดพระถัน พระจูจุกะ หัวนม พระครรโภทร พระคพัโภทร มีครรภ์ มีทอ้ง พระอุทร ทอ้ง พระนาภี สะดือ ทอ้ง พระสกุล พระครรภมล รก สิ่งที่ติดมากบัสายสะดือเด็กในครรภ์ สายพระสกุล สายรก กล่องพระสกุล มดลูก พระกฤษฎี บ้นัพระองค์ พระกฏิ สะเอว เอว พระปรัศว์ สีข้าง พระผาสุกะ ซโี่ครง พระปฤษฏางค์ พระขนอง หลัง พระโสณี ตะโพก พระที่นั่ง กน้ พระวตัถิ กระเพาะปัสสาวะ พระคุยหฐาน พระคุยหประเทศ องค์ทลีั่บชาย พระโยนี องค์ทลีั่บหญิง พระอัณฑะ ลูกอัณฑะ พระอูรุ ตน้ขา พระเพลา ขาตกั พระชานุ เข่า พระชงฆ์ แข้ง หลังพระชงฆ์ น่อง พระโคปผกะ ตาตมุ่ นิ้วพระบาท นิ้วเทา้ พระบาท เทา้
  • 35. ข้อพระบาท ข้อเทา้ หลังพระบาท หลังเทา้ ฝ่าพระบาท ฝ่าเทา้ พระปัณหิ พระปราษณี ส้นพระบาท ส้นเทา้ พระฉวี ผิวหนัง พระฉายา เงา พระโลมา ขน ผิวพระพักตร์ พระราศี ผิวหน้า พระมังสา เนื้อ กล้ามพระมังสา กล้ามเนื้อ พระอสา สิว พระปีฬกะ ไฝ ขี้แมลงวนั พระปัปผาสะ ปอด พระยกนะ ( ยะ - กะ- นะ ) ไต พระปิหกะ ม้าม พระอันตะ ไส้ใหญ่ พระอันตคุณ ไส้น้อย ไส้ทบ พระกุญชะ ไส้พุง พระนหารู เส้น เอ็น เส้นพระโลหิต หลอดพระโลหิต เส้นเลือด หลอดเลือด หลอดพระวาโย หลอดลม พระกิโลมกะ พังผืด พระองคาพยพ ส่วนต่างๆของร่างกาย พระมัตถลุงค์ มันในสมอง พระธมนี เส้นประสาท พระลสิกา น้าในไขข้อ พระปิตตะ ดี พระเขฬะ น้าลาย พระเสมหะ เสลด มูลพระนาสิก น้ามูก มูลพระนขา ขี้เล็บ พระเสโท เหงื่อ พระเมโท ไคล พระบุพโพ น้าหนอง น้าเหลือง พระอุหลบ พระบุษปะ เลือดประจาเดือน
  • 36. พระอัฐิ กระดูก พระอังคาร พระสรรางคาร เถ้ากระดูก พระอังสัฐิ กระดูกไหล่ พระหนุฐิ กระดูกคาง พระคีวฐัิ กระดูกคอ พระพาหัฐิ กระดูกแขน พระอุรัฐิ กระดูกหน้าอก พระผาสุกฐัิ กระดูกซโี่ครง พระปิฐิกณัฐกฐัิ กระดูกสันหลัง พระกฏิฐิ กระดูกสะเอว พระอูรัฐิ กระดูกขา พระชงัฆฐัิ กระดูกแข้ง พระปาทฐัิ กระดูกเทา้ พระหัตถัฐิ กระดูกมือ พระยอด ฝี หัวฝี พระบงัคนหนัก อุจจาระ พระบงัคนเบา ปัสสาวะ พระปัสสาสะ ลมหายใจเข้า พระอัสสาสะ ลมหายใจออก พระอุระหรือพระทรวง หมำยถึง อก พระชีพจรหมำยถึง ชีพจร อุณหภูมิพระวรกายหมำยถึง อุณหภูมิร่างกาย พระหทัยหรือพระกมล หมำยถึง หัวใจ พระอุทร หมำยถึง ท้อง
  • 37. พระนำภี หมำยถึง สะดือ พระกฤษฎีหรือบั้นพระองค์ หมำยถึง สะเอว พระปรัศว์ สีข้ำง พระวาโย หมำยถึงลม พระผำสุกะ หมำยถึง ซี่โครง พระเจ้ำ หมำยถึง หัวศรีษะ( พระมหากษัตริย์ ) พระเศียร หมำยถึง ศีรษะ พระนลำฏ หมำยถึง หน้ำผำก พระขนงหรือพระภมู หมำยถึง คิ้ว พระเนตรหรือพระจักษุ หมำยถึง ดวงตำ พระนำสิกหรือพระนำสำ หมำยถึง จมูก พระปรำง หมำยถึง แก้ม
  • 38. พระโอษฐ์ หมำยถึง ปำก ริมฝีปำก ต้นพระหนุ หมำยถึง ขำกรรไกร พระกรรณ หมำยถึง หูหรือใบหู พระพักตร์ หมำยถึง ดวงหน้ำ พระศอ หมำยถึง คอ พระรำกขวัญ หมำยถึง ไหปลำร้ำ พระอังสกุฏ หมำยถึง จะงอยบ่ำ พระกร หมำยถึง แขน พระกัประหรือพระกะโประ หมำยถึง ข้อศอก พระกัจฉะ หมำยถึง รักแร้ พระหัตถ์ หมำยถึง มือ ข้อพระกรหรือข้อพระหัตถ์ หมำยถึง ข้อมือ พระปฤษฏำงค์หรือพระขนอง หมำยถึง หลัง
  • 39. พระโสณี หมำยถึง ตะโพก พระที่นั่ง หมำยถึง ก้น พระอูรุ หมำยถึง ต้นขำ พระเพลำ หมำยถึง ขำหรือตัก พระชำนุ หมำยถึง เข่ำ พระชงฆ์ หมำยถึง แข้ง หลังพระชงฆ์ หมำยถึง น่อง พระบำท หมำยถึง เท้ำ ข้อพระบำท หมำยถึง ข้อเท้ำ พระปรำษณีหรือส้นพระบำท หมำยถึง ส้นเท้ำ พระฉวี หมำยถึง ผิวหนัง พระโลมำ หมำยถึง ขน
  • 40. พระพักตร์ หมำยถึง ใบหน้ำ พระมังสำ แปลว่ำ เนื้อ หมวดอำหำร เครื่องเสวย หมำยถึง ของกิน เครื่องคำว หมำยถึง ของคำว เครื่องเคียง หมำยถึง ของเคียง เครื่องว่ำง หมำยถึง ของว่ำง เครื่องหวำน หมำยถึง ของหวำน พระกระยำหำร หมำยถึง ข้ำว พระกระยำต้ม หมำยถึง ข้ำวต้ม ขนมเส้น หมำยถึง ขนมจีน ผักรู้นอน หมำยถึง ผักกระเฉด
  • 41. ผักสำมหำว หมำยถึง ผักตบ ผักทอดยอด หมำยถึง ผักบุ้ง ฟักเหลือง หมำยถึง ฟักทอง ถั่วเพำะ หมำยถึง ถั่วงอก พริกเม็ดเล็ก หมำยถึง พริกขี้หนู เห็ดปลวก หมำยถึง เห็ดโคน เยื่อเคย หมำยถึง กะปิ ปลำหำง หมำยถึง ปลำช่อน ปลำใบไม้ หมำยถึง ปลำสลิด ปลำยำว หมำยถึง ปลำไหล ปลำมัจฉะ หมำยถึง ปลำร้ำ ลูกไม้ หมำยถึง ผลไม้
  • 42. กล้วยเปลือกบำงหรือกล้วยกระ หมำยถึง กล้วยไข่ ผลมูลละมั่ง หมำยถึง ลูกตะลิงปลิง ผลอุลิด หมำยถึง ลูกแตงโม ผลอัมพวำ หมำยถึง ผลมะม่วง นำรีจำศีล หมำยถึง กล้วยบวชชี ขนมดอกเหล็กหรือขนมทรำย หมำยถึง ขนมขี้หนู ขนมสอดไส้ หมำยถึง ขนมใส่ไส้ ขนมทองฟู หมำยถึง ขนมตำล ขนมบัวสำว หมำยถึง ขนมเทียน พระรำชดำรัส หมำยถึง คำพูด ตรัส หมำยถึง พูดด้วย
  • 43. เสด็จพระรำชดำเนิน หมำยถึง เดินทำงไปที่ไกล ๆ เสด็จลง… หมำยถึง เดินทำงไปที่ใกล้ ๆ ทรงพระรำชนิพนธ์ หมำยถึง แต่งหนังสือ ทรงพระกำสะ หมำยถึง ไอ ทรงพระสรวล หมำยถึง หัวเรำะ ทรงพระปรมำภิไธย หมำยถึง ลงลำยมือชื่อ ทรงสัมผัสมือ หมำยถึง จับมือ ทรงพระเกษมสำรำญ หมำยถึง สุขสบำย ทรงพระปินำสะ หมำยถึง จำม พระรำชโองกำร หมำยถึง คำสั่ง พระรำโชวำท หมำยถึง คำสั่งสอน พระรำชปฏิสันถำร หมำยถึง ทักทำย มีพระรำชประสงค์ หมำยถึง อยำกได้
  • 44. สรงพระพักตร์ หมำยถึง ล้ำงหน้ำ ชำระพระหัตถ์ หมำยถึง ล้ำงมือ พระรำชปฏิสันถำร หมำยถึง ทักทำยปรำศรัย เสด็จประพำส หมำยถึง ไปเที่ยว พระรำชปุจฉำ หมำยถึง ถำม ถวำยบังคม หมำยถึง ไหว้ พระบรมรำชวินิจฉัย หมำยถึง ตัดสิน ทอดพระเนตร หมำยถึง ดู พระรำชทำน หมำยถึง ให้ พระรำชหัตถเลขำ หมำยถึง เขียนจดหมำย ทรงเครื่อง หมำยถึง แต่งตัว ทรงพระอักษร หมำยถึง เรียน เขียน อ่ำน
  • 45. ประทับ หมำยถึง นั่ง ทรงยืน หมำยถึง ยืน บรรทม หมำยถึง นอน ทั้งนี้ สำหรับคำว่ำ พระรำชโองกำร และพระรำโชวำท หำกใช้กับพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวจะมีคำว่ำ "บรม" นำหน้ำคำว่ำ "รำช" เสมอ กำรใช้คำรำชำศัพท์ที่ควรสังเกต กำรใช้คำว่ำ”พระ” “พระบรม” “พระรำช” “พระ” ใช้นำหน้ำคำนำมที่เป็นอวัยวะ ของใช้ เช่นพระชำนุ พระนลำฏ พระขนง เป็นต้น “พระบรม”ใช้เฉพำะพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว เช่น พระบรมรำโชวำท พระบรมรำชำนุเครำะห์ พระปรมำภิไธย เป็นต้น “พระ รำช” ใช้นำหน้ำคำนำม แสดงว่ำคำนำมนั้นเป็นของ พระมหำกษัตริย์ สมเด็จพระบรมรำชินี สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ เช่นพระรำชประวัติ พระรำชำนุญำต พระรำชวโรกำส เป็นต้น
  • 46. กำรใช้คำว่ำ“ทรง” มีหลัก3ประกำรคือ นำหน้ำคำนำมสำมัญบำงคำทำให้เป็นกริยำรำชำศัพท์ได้ เช่นทรงรถ ทรงดนตรี ทรงช้ำง ทรงเครื่อง เป็นต้น นำหน้ำคำกริยำสำมัญทำให้เป็นกริยำรำชำศัพท์ เช่นทรงวิ่ง ทรงเจิม ทรงออกกำลังกำย ทรงใช้ เป็นต้น นำ หน้ำคำนำมรำชำศัพท์ทำให้เป็นกริยำรำชำศัพท์ได้ เช่นทรงพระรำชดำริ ทรงพระอักษร ทรงพระดำเนิน ทรงพระรำชนิพนธ์ เป็นต้นคำกริยำที่เป็นรำชำศัพท์อยู่แล้วไม่ใช้ “ทรง” นำหน้ำ เช่นเสวย เสด็จ โปรด เป็นต้น กำรใช้คำรำชำศัพท์ให้ถูกต้องตำมสำนวนไทย ไม่นิยมเลียนแบบสำนวนต่ำงประเทศ ถ้ำมำต้อนรับพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว ต้องใช้ว่ำ ประชำชนมำเฝ้ำ ฯ รับเสด็จ คำว่ำ”เฝ้ำฯรับเสด็จ” ย่อมำจำก”เฝ้ำทูลละอองธุลีพระบำทรับเสด็จ”ไม่ใช้คำว่ำ”ถวำยก ำรต้อนรับ” คำว่ำ”คนไทยมีควำมจงรักภักดี” หรือ”แสดงควำมจงรักภักดี” ใช้ได้ แต่ไม่ควรใช่คำว่ำ “ถวำยควำมจงรักภักดี”
  • 47. กำรใช้คำรำชำศัพท์ให้ถูกต้องตำมเหตุผล คำว่ำ “อำคันตุกะ” “รำชอำคันตุกะ” และ”พระรำชอำคันตุกะ” ใช้ดังนี้ คือให้ดูเจ้ำของบ้ำนเป็นสำคัญ เช่นแขกของพระมหำกษัตริย์ ใช้คำว่ำ”รำช”นำหน้ำ ถ้ำไม่ใช่แขกของพระมหำกษัตริย์ก็ไม่ต้องมี”รำช”นำหน้ำ ใน กำรถวำยสิ่งของแด่พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวถ้ำเป็นของเล็ก ยกได้ก็ใช้ “ทูลเกล้ำฯ ถวำย”ถ้ำเป็นของใหญ่ยกไม่ได้ใช้ “น้อมเกล้ำ ฯ ถวำย” คำราชาศัพท์สำหรับพระสงฆ์ การเปลี่ยนคา สามัญเป็นคา ราชาศัพท์ 1. เปลี่ยนรากศัพท์ เช่น รับประทาน เป็น เสวย 2. เติมคา หน้านามหรือหลังนาม เช่น วงัเป็นพระราชวงั รถ เป็น รถพระที่นั่ง 3. เติมคา ว่า ทรง เช่น ทรงงาน ทรงทราบ ทรงเห็น ทรงพระอักษร คา ศัพท์ทใี่ชก้บัภิกษุ - ส่งของให้พระ ใชว้่า ประเคน - อาหาร ใชว้่า ภัตตาหาร - จดหมาย ใชว้่า ลิขิต - กิน ใชว้่า ฉนั - นอน ใชว้่า จาวดั - อาบน้า ใชว้่า สรงน้า
  • 48. - สวดมนต์ ใชว้่า เจริญพระพุทธมนต์ - เงิน ใชว้่า ปัจจัย - ทอี่ยู่ ใชว้่า กุฏิ - ที่นั่ง ใชว้่า อาสนะ - ป่วย ใชว้่า อาพาธ - ตาย ใชว้่า มรณภาพ การใชค้า ราชาศัพท์ เป็นคา ที่ใชเ้หมาะสมกบัระดับช้นัของบุคคล เช่น พระมหากษัตริย์ และพระราชวงศ์ รวมถึง กลุ่มคา ทใี่ชก้บัพระภิกษุ คา นามราชาศัพท์ - พระราชบิดา, พระชนก หมายถึง พ่อ - พระราชมารดา, พระชนนี หมายถึง แม่ - พระเชษฐา หมายถึง พี่ชาย - พระเชษฐภคินี หมายถึง พี่สาว - พระราชธิดา หมายถึง ลูกสาว - พระราชนัดดา, พระนัดดา หมายถึง หลาน - พระเนตร, พระจักษุ หมายถึง ตา - พระนาสา, พระนาสิก หมายถึง จมูก - พระโอษฐ์ หมายถึง ปาก - พระขนง หมายถึง คิ้ว - พระเศียร หมายถึง ศีรษะ - พระเกศา หมายถึง ผม - พระพักตร์ หมายถึง ใบหน้า - พระปราง หมายถึง แกม้ - พระพาหา หมายถึง แขน - พระหัตถ์ หมายถึง มือ - พระบาท หมายถึง เทา้ - ฉลองพระองค์ หมายถึง เสื้อ คา สรรพนามราชาศัพท์ - ข้าพระพุทธเจ้า หมายถึง คา แทนตวัเองเมื่อพูดกบัพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศ์ช้นัสูง - ใตฝ้่าละอองธุลีพระบาท หมายถึง คา แทนพระมหากษัตริย์และพระราชินี - ใตฝ้่าละอองพระบาท หมายถึง คา แทนองค์พระราชินีสยามกุฎราชกุมาร สยามกุฎราชกุมารี - พระองค์ หมายถึง ใชเ้มื่อกล่าวถึงพระมหากษัตริย์ และพระบรมราชวงศ์
  • 49. - พระพุทธเจ้า หมายถึง คา ทใี่ชข้านรับเมื่อพูดกบัพระมหากษัตริย์ คา กริยาราชาศัพท์ - ประสูติ หมายถึง คลอด - ทอดพระเนตร หมายถึง มอง - ประชวร หมายถึง เจ็บป่วย - สวรรคต หมายถึง ตาย - เสวย หมายถึง กิน - ประทบั หมายถึง นั่ง - พระราชทาน หมายถึง ให้ - ตรัส หมายถึง พูด - สรงน้า หมายถึง อาบน้า - กริ้ว หมายถึง โกรธ - โปรด หมายถึง รัก ชอบ พระภิกษุที่เป็นพระราชวงศ์ ใชร้าชาศัพท์ตามลา ดับช้นัแห่งพระราชวงศ์ สา หรับสมเด็จพระสังฆราชเจ้า(ทเี่ป็นพระราชวงศ์) ใชดั้งนี้ คา ขึ้นตน้ ใชว้่า ขอประทานกราบทูล (กล่าวพระนามเต็ม) สรรพนามแทนผูพู้ด ใชว้่า ข้าพระพุทธเจ้า สรรพนามแทนพระองค์ท่าน ใชว้่า ใตฝ้่าพระบาท คา ลงทา้ย ใชว้่า ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม สมเด็จพระสังฆราช ซึ่งดา รงตา แหน่งสกลมหาสังฆปริณายก ใชร้าชาศัพท์เสมอพระเจ้าวรวงศ์เธอ (ทมีิ่ได้ทรงกรม) เช่น คา ขึ้นตน้ ใชว้่า กราบทูล (กล่าวพระนามเต็ม) สรรพนามแทนผูพู้ด ใชว้่า เกล้ากระหม่อม (สา หรับชาย), เกล้ากระหม่อมฉนั(สา หรับหญิง) สรรพนามแทนพระองค์ท่าน ใชว้่า ฝ่าพระบาท คา ลงทา้ย ใชว้่า ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด สรรพนามบุรุษที่1 ทพี่ระภิกษุใช้ คา ทใี่ช้โอกาสทใี่ช้ อาตมา พระภิกษุใชก้บับุคคลธรรมดาทเี่ป็นผูใ้หญ่หรือมีฐานะตา แหน่งสูงในโอกาสทไี่ม่เป็นทางการ อาตมาภาพ พระภิกษุใชก้บัพระราชวงศ์ต้งัแต่หม่อมเจ้าขึ้นไป และใชใ้นโอกาสทเี่ป็นทางการ เช่น
  • 50. การแสดงพระธรรมเทศนา เกล้ากระผม พระภิกษุใชก้บัพระภิกษุทเี่ป็นอุปัชฌาย์อาจารย์หรือทดี่า รงสมณศักด์ิสูงกว่า ผม,กระผม พระภิกษุใชก้บัพระภิกษุด้วยกนัโดยทวั่ ๆ ไป สรรพนามบุรุษที่2 ทพี่ระภิกษุใช้ คา ทใี่ช้โอกาสทใี่ช้ มหาบพิตร พระเจ้าแผ่นดิน บพิตร พระราชวงค์ คุณโยม บิดา, มารดา, ญาติผูใ้หญ่หรือผูท้อี่าวุโสสูง คุณ,เธอ ใชก้บับุคคลทวั่ไป สรรพนามบุรุษที่2 ทฆี่ราวาสใช้ คา ทใี่ช้โอกาสทใี่ช้ พระคุณเจ้า ฆราวาสใชก้บัสมเด็จพระราชาคณะ, รองสมเด็จพระราชาคณะ พระคุณท่าน ฆราวาสใชก้บัพระราชาคณะช้นัรองลงมา ท่าน ใชก้บัพระภิกษุทวั่ไป คา ขานรับทพี่ระภิกษุใช้ คา ทใี่ช้โอกาสทใี่ช้ ขอถวายพระพร พระราชวงค์ เจริญพร ฆราวาสทวั่ไป ครับ,ขอรับ ใชก้บัพระภิกษุด้วยกนั ศัพท์สา หรับพระภิกษุทพี่บบ่อย รูป = ลักษณะนามสา หรับพระภิกษุสงฆ์ อาราธนา = ขอเชิญ เจริญพระพุทธมนต์ = สวดมนต์ ภัตตาหาร = อาหาร
  • 51. ประเคน = ยกของ(ด้วยมือ)ให้พระ ฉนั = กิน ถวาย = มอบให้ เครื่องไทยธรรม ของถวายพระ, ของทา บุญต่าง ๆ อนุโมทนา = ยินดีด้วย อาสนะ, อาสน์สงฆ์ = ที่นั่ง ธรรมาสน์ = ทแี่สดงธรรม เสนาสนะ = สถานทที่ภีิ่กษุใช้ จาวดั = นอน สรง = อาบน้า มรณภาพ = ตาย ปลงผม = โกนผม กุฏิ = เรือนพักในวดั จาพรรษา = อยู่ประจาวดั อุปสมบท = บวช (บวชเป็นพระภิกษุ) บรรพชา = บวช (บวชเป็นสามเณร) ลาสิกขา = สึก คิลานเภสัช = ยารักษาโรค ลิขิต = จดหมาย ครองผา้ = แต่งตวั ถวายอดิเรก = กล่าวบทอวยพรพระมหากษัตริย์ บิณฑบาต = รับของใส่บาตร ปลงอาบตัิ = แจ้งความผิดให้ทราบ ปัจจัย = เงิน ทา วตัร = สวดมนต์ เผดียงสงฆ์ = แจ้งให้สงฆ์ทราบ สุผา้ = ซกัผา้, ย้อมผา้ อาพาธ = ป่วย
  • 52. หมวดคำที่ใช้กับพระสงฆ์ หมวดสัตว์ และเบ็ดเตล็ด กระบือ ควาย กล้วยสั้น กล้วยกุ กล้วยเปลือกบาง, กล้วยกะ กล้วยไข่ ขนมดอกเหล็ก, ขนมทราย ขนมขี้หนู ขนมสอดไส้ ขนมใส่ไส้ ข้าวเสวย ข้าว หรือเรียกว่า พระกระยา
  • 53. โค วัว เครื่องเคียง เครื่องจิ้ม เครื่องเนม เครื่องคาว, เครื่องต้นคาว ของคาว, อาหารคาว เครื่องหวาน, เครื่องต้นหวาน ของหวาน, อาหารหวาน เครื่องว่าง ของว่าง, อาหารว่าง เครื่องเสวย, เครื่องต้น, พระกระยาหาร ของกิน จิตรจูล, จิตรจุล เต่า เจ็ดประการ เจ็ดอย่าง ช้างนรการ ช้างสีดอ (ช้างพลายมีงาสั้น) ชัลลุกะ, ชัลลุกา ปลิง ช้าง 2 ช้าง, ช้าง 2 เชือก ช้าง 2 ตัว ดอกขจร ดอกสลิด ดอกซ่อนกลิ่น ดอกซ่อนชู้ ดอกถันวิฬาร์ ดอกนมแมว ดอกทอดยอด ดอกผักบุ้ง ดอกมณฑาขาว ดอกยี่หุบ ดอกสามหาว ดอกผักตบ ดอกเหล็ก ดอกขี้เหล็ก ตกลูก ออกลูก (สาหรับสัตว์) ต้นจะเกรง ต้นเหงือกปลาหมอ
  • 54. ต้นปาริฉัตร, ต้นปาริชาติ ต้นทองกวาว, ต้นทองหลาง ต้นหนามรอบข้อ ต้นพุงดอ ต้นอเนกคุณ ต้นตาแย ต้องพระราชอาญา ต้องโทษ เถาศีรษะวานร เถาหัวลิง เถากะพังโหม เถาตูดหมูตูดหมา ถ่ายมูล สัตว์ขี้ เช่น นกถ่ายมูล ถั่วเพาะ ถั่วงอก เถามุ้ย เถาหมามุ้ย นางเก้ง อีเก้ง นางเลิ้ง อีเลิ้ง นางเห็น อีเห็น บางชีโพ้น บางชีหน บางนางร้า บางอีร้า ปลาหาง ปลาช่อน ปลาใบไม้ ปลาสลิด ปลายาว ปลาไหล ปลามัจฉะ ปลาร้า ปลาลิ้นสุนัข ปลาลิ้นหมา ปลีกกล้วย หัวปลี ผล ลูก (ใช้เรียกลูกไม้ทั้งปวง) ผลมูลกา ลูกขี้กา
  • 55. ผลมูลละมั่ง ลูกตะลิงปลิง ผลนางนูน ลูกอีนูน ผลอุลิด ลูกแตงโม ผักสามหาว ผักตบ ผักทอดยอด ผักบุ้ง ผักรู้นอน ผักกระเฉด ผักไผ่, ผักไห่ ผักปลาบ ผักนางริ้น ผักอีริ้น พระยอด ฝี เช่น ประชวรพระยอด เจ็บเป็นฝี พระกระยาเสวย, พระกระยา ข้าว พระกระยาต้ม ข้าวต้ม พระกระยาตัง ข้าวตัง พระสุธารส น้าดื่ม, เครื่องดื่ม ฟอง ไข่ เช่น ฟองไก่ ฟองจิ้งจก ฟักเหลือง ฟักทอง มุสิกะ หนู มูล ขี้ของสัตว์ มูลดิน ขี้ดิน มะเขือเผา มะเขือกะหาแพะ เยื่อเคย กะปิ รากดิน ไส้เดือน โรคกลาก ขี้กลาก
  • 56. โรคเกลื้อน ขี้เกลื้อน โรคเรื้อน ขี้เรื้อน ลั่นทม ดอกลั่นทม ศิลา หิน สุกร หมู สุนัข หมา เห็ดปลวก เห็ดโคน หอยนางรม หอยอีรม http://blog.eduzones.com/poonpreecha/81332 http://hilight.kapook.com/view/97801 http://www.rakjung.com/thai-no131.html http://info.muslimthaipost.com/main/index.php?page=su b&category=26&id=18741# http://blog.eduzones.com/jipatar/85951