SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 21
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
The hierarchy of biological order from atom to organism
สสารต่างๆในธรรมชาติประกอบด้วยธาตุ Sodium Chlorine Sodium chloride The sodium metal combines with the poisonous gas chlorine to form the edible compound sodium chloride, or table salt. +
ธาตุที่มีความจำเป็นต่อสิ่งมีชีวิตมีมากกว่า  25  ชนิด แต่มีเพียง  4  ชนิดนั้นที่เป็นองค์ประกอบหลัก ได้แก่  Carbon  ( C) Hydrogen (H) Oxygen (O)  Nitrogen (N) ( มากกว่า  95  %  ของน้ำหนักตัว )
 
ธาตุเหล่านี้ล้วนมีความจำเป็นต่อสิ่งมีชีวิตทั้งสิ้น ถ้าขาดธาตุใดธาตุหนึ่งอาจทำให้เกิดความผิดปกติและอาจถึงตายได้ The effect of nitrogen deficiency in corn Goiter, iodine deficiency
โครงสร้างอะตอม อะตอมเป็นโครงสร้างที่เล็กที่สุดของธาตุที่มีสมบัติเฉพาะตัวของธาตุหนึ่งๆ โครงสร้างอะตอมประกอบด้วยอนุภาคหลัก คือ  โปรตอน  (Proton) อีเล็กตรอน  (Electron) และ นิวตรอน  (Neutron)
Helium (He) atom อะตอมของธาตุฮีเลียม  (He)   มี  proton   และ  neutron  อย่างละ  2  อนุภาคอยู่ในนิวเคลียส และ  electron  2   อนุภาควิ่งอยู่รอบนอก
อะตอมของธาตุแต่ละธาตุมีจำนวนอนุภาคต่างๆไม่เท่ากัน ให้นิสิตทบทวน เรื่อง ธาตุ และ อะตอม   ที่เรียนในชั้นมัธยมปลายแล้วด้วยตนเอง
Isotopes ธาตุบริสุทธิ์ในธรรมชาติ ประกอบด้วยอะตอมที่มีจำนวน  proton   เท่ากัน แต่มีจำนวน  neutron  ในนิวเคลียสไม่เท่ากัน อะตอมเหล่านี้มีคุณสมบัติทางเคมีเหมือนกัน เรียกอะตอมเหล่านี้ว่า  Isotopes   ตัวอย่างเช่น C  ประกอบด้วย  isotopes   ต่างกัน  3   ชนิด ได้แก่   C ,  C ,  C 12 6 13 6 14 6
C   เกิดการปลดปล่อยพลังงานหรืออนุภาคออกมาตลอดเวลา หรือมีการสลายตัว เรียก  isotope   ที่สลายตัวได้ว่า  radioactive isotope   ( สารกัมมันตรังสี ) Radioactive isotope  ของธาตุแต่ละชนิดมีค่าครึ่งชีวิต   (half life)  เฉพาะตัว นักวิทยาศาสตร์จึงใช้   radioactive isotope  ในการหาอายุของซากสิ่งมีชีวิตได้   14 6
Using radioactive isotopes to study cell chemistry
The PET scan, a medical use for radioactive isotopes
การรวมกันของอะตอมเป็นโมเลกุล ด้วยแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมวิธีต่างๆ หรือด้วย  chemical bond   ต่างๆ ได้แก่ Covalent bond Hydrogen bond Ionic bond Van der Waals interaction Hydrophobic interaction ให้นิสิตทบทวนรายละเอียดด้วยตนเอง
Covalent bond Covalent bond  มีความแข็งแรงมาก ต้องใช้ความร้อนสูงจึงจะทำลายพันธะนี้ได้
Hydrogen bond เป็นพันธะที่เกิดจากอะตอมของ  H +   ที่เกิดพันธะกับอะตอมที่มีค่า  electronegativity   สูง ทำให้อะตอมของ   H +   มีประจุเป็นบวกน้อยๆ และพร้อมที่จะเกิดแรงดึงดูดกับอะตอมที่มีค่า  electronegativity   สูงในโมเลกุลอื่นๆที่มีประจุเป็นลบน้อยๆ เช่น โมเลกุลของน้ำ
Polar covalent bonds in a water molecule H 2 O
Ionic bond Ionic bond  แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมเป็นผลมาจากแรงดึงดูดของประจุ ดังนั้นพันธะชนิดนี้มีความแข็งแรงมาก / น้อยขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมของโมเลกุล ตัวอย่างเช่น  โมเลกุลของ  NaCl   ในตัวกลางที่เป็นน้ำ  ionic bond   ถูกทำลายได้ง่าย เนื่องจากขั้วของโมเลกุลของน้ำไปรบกวนแรงดึงดูดของประจุ
Electron transfer and ionic bonding A sodium chloride crystal
A hydrogen bond
Van der Waals interaction Ionic bond Hydrogen bond  เป็น   bond  ที่มีความแข็งแรงน้อย แต่มีความสำคัญมากในสิ่งมีชีวิต เนื่องจากทำให้สารโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น   Protein  และ   Nucleic acid  สามารถคงรูปของโครงสร้างอยู่ได้

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)BELL N JOYE
 
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)findgooodjob
 
Chem
ChemChem
Chemaom08
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond kruannchem
 
ไฮบริไดเซชัน
ไฮบริไดเซชันไฮบริไดเซชัน
ไฮบริไดเซชันMaruko Supertinger
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์ratchaneeseangkla
 
บทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมีบทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมีGawewat Dechaapinun
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightThanyamon Chat.
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsDr.Woravith Chansuvarn
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบoraneehussem
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryporpia
 

Mais procurados (18)

บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาเคมี (176 หน้า)
 
Chemical bond
Chemical bondChemical bond
Chemical bond
 
Chem
ChemChem
Chem
 
ธาตุ
ธาตุธาตุ
ธาตุ
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
ไฮบริไดเซชัน
ไฮบริไดเซชันไฮบริไดเซชัน
ไฮบริไดเซชัน
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
บทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมีบทที่ 5 พันธะเคมี
บทที่ 5 พันธะเคมี
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bonds
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 
Chemistry
Chemistry Chemistry
Chemistry
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
 
คาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรตคาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรต
 

Semelhante a Atom

เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1kasidid20309
 
พันธะเคมี1
พันธะเคมี1พันธะเคมี1
พันธะเคมี1She's Bee
 
Chemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdfChemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdfsensei48
 
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )PamPaul
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลNamRinNamRin
 
ความหมายของประเภทสารอินทรีย์
ความหมายของประเภทสารอินทรีย์ความหมายของประเภทสารอินทรีย์
ความหมายของประเภทสารอินทรีย์Teerayut Jaronechai
 
ความหมายของประเภทสารอินทรีย์
ความหมายของประเภทสารอินทรีย์ความหมายของประเภทสารอินทรีย์
ความหมายของประเภทสารอินทรีย์Teerayut Jaronechai
 
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdfหน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdfNutnutNutnut3
 
Detoxification cellular level (การล้างพิษ ระดับเซลล์ )
Detoxification cellular level (การล้างพิษ ระดับเซลล์ )Detoxification cellular level (การล้างพิษ ระดับเซลล์ )
Detoxification cellular level (การล้างพิษ ระดับเซลล์ )MRET Mobile Water Activator
 
พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1areerd
 
สารกัมมันตรังสี
สารกัมมันตรังสีสารกัมมันตรังสี
สารกัมมันตรังสีWiriyachayon Wesirisan
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)Dr.Woravith Chansuvarn
 
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)kruaoijaipcccr
 

Semelhante a Atom (20)

Springer link
Springer linkSpringer link
Springer link
 
B01[1]
B01[1]B01[1]
B01[1]
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
 
พันธะเคมี1
พันธะเคมี1พันธะเคมี1
พันธะเคมี1
 
Chemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdfChemical Bonding1.pdf
Chemical Bonding1.pdf
 
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
 
Biochem
BiochemBiochem
Biochem
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุล
 
Biochem 5ed
Biochem 5edBiochem 5ed
Biochem 5ed
 
ความหมายของประเภทสารอินทรีย์
ความหมายของประเภทสารอินทรีย์ความหมายของประเภทสารอินทรีย์
ความหมายของประเภทสารอินทรีย์
 
ความหมายของประเภทสารอินทรีย์
ความหมายของประเภทสารอินทรีย์ความหมายของประเภทสารอินทรีย์
ความหมายของประเภทสารอินทรีย์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdfหน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdf
หน่วยการเรียนรู้ที่๔.pdf
 
chemical bonding
chemical bondingchemical bonding
chemical bonding
 
Detoxification cellular level (การล้างพิษ ระดับเซลล์ )
Detoxification cellular level (การล้างพิษ ระดับเซลล์ )Detoxification cellular level (การล้างพิษ ระดับเซลล์ )
Detoxification cellular level (การล้างพิษ ระดับเซลล์ )
 
พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1
 
สารกัมมันตรังสี
สารกัมมันตรังสีสารกัมมันตรังสี
สารกัมมันตรังสี
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
 
ชีวเคมี
ชีวเคมีชีวเคมี
ชีวเคมี
 
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 

Atom