SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 1
วิชานาฏศิลป์
เรื่อง รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์ไทย
รำเดี่ยว รำหมู่ รำเป็นชุดเป็นตอน
การแสดงนาฏศิลป์ในโอกาสต่างๆ
การออกแบบอุปกรณ์ประกอบการแสดง
ละครกับชีวิต องค์ประกอบนาฏศิลป์ โครงสร้างบทละคร
โดย
คุณครูพนมพร ชินชนะ
ครูชำนาญการพิเศษ
โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 2
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์ไทย
นาฏศิลป์ไทย คือ ศิลปะการฟ้อนราที่มนุษย์สร้างสรรค์และประดิษฐ์
ขึ้น มีความงดงามประณีตและให้ความบันเทิงใจแก่ผู้ชม รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์
ไทยแบ่งประเภทตามลักษณะการราได้ดังนี้
1.1 การแสดงเป็นหมู่
การแสดงเป็นหมู่ คือ การแสดงที่มีผู้แสดงตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ใช้เพลงบรรเลง
ประกอบการแสดงทั้งมีเนื้อร้องและไม่มีเนื้อร้อง เน้นความพร้อมเพรียงความสมดุลใน
การแสดงหรือที่เรียกว่า “ระบา” อีกทั้งยังหมายความรวมไปถึง “ฟ้อนและเซิ้ง”ด้วย
เพราะมีรูปแบบการแสดงที่เหมือนกันแต่เป็นการแสดงออกให้เห็นถึงความแตกต่าง
ของแต่ละท้องถิ่นนั้นๆเช่น ฟ้อนสาวไหม ฟ้อนเทียน ฟ้อนที ฟ้อนภูไท เซิ้ง
กระหยัง เซิ้งตังหวาย เซิ้งสวิง เซิ้งแพรวากาฬสินธุ์ ระบาวิชนี ระบานพรัตน์
ระบาปาเต๊ะ ระบาตารีบุหงาราไป เป็นต้น
เซิ้งตังหวาย ระบาวิชนี
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 3
1.2 การแสดงเดี่ยว
การแสดงเดี่ยว คือการแสดงที่มีผู้แสดงเพียงคนเดียว มุ่งเน้นความสวยงามของ
การเคลื่อนไหวร่างกาย เป็นการแสดงฝีมือของผู้แสดงที่ร่ายราถูกต้องตาท่วงทานอง
จังหวะเพลงและงดงามตามแบบแผน เช่น ราพลายชุมพล ราฉุยฉายพราหมณ์ รา
ฉุยฉายเบญกายแปลง ราฉุยฉายยอพระกลิ่น ราฉุยฉายวันทอง ราฉุยฉายฮเนา เป็นต้น
ฉุยฉายเบญกาย ฉุยฉายวันทอง
ราพลายชุมพล รามโนห์ราบูชายันต์
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 4
1.3การแสดงละคร
การแสดงละคร คือ การแสดงที่ดาเนินเป็นเรื่องราว ผู้แสดงที่รับบทบาทตัว
ละครเป็นผู้ถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ โดยใช้การร้อง การแสดงออกของลีลาท่ารา และ
การใช้เพลงประกอบตามแบบแผนของการแสดงละครแต่ละประเภท ละครไทยมี
วิวัฒนาการตามยุคสมัยแบ่งออกได้ดังนี้
ประเภทละครไทย
ละครแบบดั้งเดิม
ละครชาตรี ละครนอก ละครใน
ละครราแบบปรับปรุง
ละครดึกดาบรรพ์ ละครพันทาง ละครเสภา
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 5
ละครที่พัฒนาขึ้นใหม่
ละครพูด ละครร้อง ละครสังคีต ละครอิงประวัติศาสตร์ ละครเพลง
ละครวิทยุ ละครโทรทัศน์
ละครร้อง ละครพูด ละครสังคีต
1.3 การแสดงเป็นชุดเป็นตอน
การแสดงเป็นชุดเป็นตอน คือ การแสดงที่สอดแทรกอยู่ในการแสดงละครที่
ตัดตอนนามาแสดงเป็นชุดเป็นตอนสั้น จุดประสงค์เพื่อเป็นการราอวดฝีมือของผู้
แสดงการแสดงที่ตัดตอนมาจากการแสดงเรื่องใหญ่เป็นการแสดงประเภทราเดี่ยว ราคู่
หรือระบา ขึ้นอยู่กับลักษณะการราเช่น การแสดงชุดพระรามตามกวาง อยู่ในการ
แสดงเรื่องรามเกียรติ์ ตอนลักสีดา การแสดงุดหนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา อยู่ใน
การแสดงเรื่องรามเกียรติ์ ตอนจองถนน การแสดงชุดรจนาเสี่ยงพวงมาลัย อยู่ในการ
แสดงเรื่องสังข์ทอง ตอนเลือกคู่ การแสดงชุดระบาเริงอรุณ อยู่ในการแสดงเรื่อง
รามเกียรติ์ ตอนศึกวิรุฬจาบัง การแสดงชุดระบากฤดาภินิหาร อยู่ในละครเรื่องเกียรติ
ศักดิ์ไทย เป็นต้น
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 6
พระรามตามกวาง หนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา
รำเมขลารามสูร รำ รจนาเสี่ยงพวงมาลัย
ระบำกฤดาภินิหาร
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 7
องค์ประกอบของนาฏศิลป์
องค์ประกอบของการแสดงนาฏศิลป์จะประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆที่ช่วยให้การ
แสดงนั้นดูสมบูรณ์และสวยงาม ดังนี้
1) จังหวะทานอง
จังหวะทานองเป็นส่วนหนึ่งของดนตรี ซึ่งมีอิทธิพลต่อการแสดงนาฏศิลป์ มี
ส่วนในการสร้างอรรถรสของการแสดง เสริมสร้างบรรยากาศและความสนุกสนานเพลิดเพลินอันเกิดจาก
เครื่องบรรเลงที่มนุษย์เป็นผู้ประดิษฐ์ขึ้น จังหวะเป็นการแบ่งเวลาที่ดาเนินไปอย่างสม่าเสมอ ซึ่งเครื่อง
ดนตรีที่ใช้ในการกากับจังหวะ ได้แก่ ฉิ่ง กรับ กลอง เป็นต้น โดยจังหวะสามารถแบ่งได้เป็นจังหวะช้า
ปานกลาง และเร็ว ในภาษาของตนตรีจะเรียกว่า จังหวะสามชั้น สองชั้น และชั้นเดียว ส่วนทานอง
หมายถึง เสียงที่มีความสูง-ต่า มีจังหวะสั้น-ยาว ในการแสดงนาฏศิลป์ นั้นทานองอาจจะเป็นการบรรเลง
ดนตรีล้วนหรือมีบทร้องประกอบก็ได้
2) การเคลื่อนไหว
การเคลื่อนไหวของการแสดงนาฏศิลป์ หมายถึง การแสดงออกทางลีลาท่ารา
เป็นการเคลื่อนไหวร่างกายที่มีแบบแผนและสวยงาม เกิดจากการประดิษฐ์สร้างสรรค์ของมนุษย์ที่ใช้ในการ
สื่อสารระหว่างผู้แสดงกับผู้ชม ซึ่งถือว่าเป็นหัวใจสาคัญในการแสดงนาฏศิลป์ เพราะลีลาท่าราจะเป็นสื่อ
ในการถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ แทนการพูด สื่อความหมายถึงขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรม และวิถี
ชีวิตของชาวบ้านในแต่ละท้องถิ่น เช่น เซิ้งแหย่ไข่มดแดง ระบาปาเต๊ะ ระบากรีดยาง เต้นการาเคียว เป็น
ต้น
3) อารมณ์และความรู้สึก
อารมณ์และความรู้สึกมีความสาคัญต่อการแสดงนาฏศิลป์ ผู้แสดงจะถ่ายทอด
ออกมาทางสีหน้าท่าทางเพื่อให้ผู้ชมได้รับรู้ มีความรู้สึกร่วมกับการแสดง และมีส่วนช่วยให้การแสดงนั้นมี
ความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น เกิดอรรถรสร่วมในการชมการแสดง
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 8
4) นาฏยศัพท์และภาษาท่า
นาฏยศัพท์คือ ศัพท์เฉพาะทางนาฏศิลป์ ที่ใช้เรียกท่าราส่วนต่างๆของร่างกาย
เช่น จีบ ตั้งวง ล่อแก้ว ประเท้า กระดก เป็นต้น ภาษาท่าคือ กรแสดงท่าทางแทนคาพูดที่ใช้สื่อให้เห็นถึง
อารมณ์ความรู้สึกต่างๆของตัวละคร ซึ่งในทางนาฏศิลป์ นั้นนาฏยศัพท์และภาษาท่าถือว่ามีความสาคัญใน
การถ่ายทอดเรื่องราวในการแสดง ต้องมีการศึกษาความหมายของท่าราตามหลักนาฏศิลป์ไทย เพื่อที่จะ
สามารถเข้าใจในความหมายของท่าราได้อย่างชัดเจนและถูกต้องตามความหมายของท่ารานั้นๆ
5) รูปแบบการแสดง
การแสดงนาฏศิลป์ ของไทยแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ
1) การแสดงหมู่ คือการแสดงที่ใช้เพลงบรรเลงประกอบทั้งมีเนื้อร้องหรือไม่มี
เนื้อร้องก็ได้ จะเน้นความสมดุลของการใช้พื้นที่บนเวทีให้เกิดความสวยงามโดยจะต้องคานึงถึงความพร้อม
เพรียงกัน มีการแปรแถวที่สวยงาม
2) การแสดงเดี่ยว คือการแสดงที่มีผู้แสดงเพียงคนเดียว เป็นการร่ายราเพื่ออด
ฝีมือของผู้แสดง เน้นการร่ายราที่ใช้มือ แขน และท่าทางต่างๆ
3) การแสดงเป็นเรื่องราว หรือที่เรียกว่าละคร เป็นการนาเอาภาพที่เกิดจาก
จินตนาการและประสบการณ์ต่างๆมาผูกเป็นเรื่องราว มีการเชื่อมโยงเหตุการณ์ ใช้ตัวละครในการดาเนิน
เรื่องราว
4) การแสดงเป็นชุดเป็นตอน คือ การแสดงที่มีความสวยงามตัดตอนมาจาก
การแสดงโขน-ละคร เช่น รารจนาเสี่ยวพวงมาลัย ราหนุมานจับสุพรรณมัจณา ราย่าหรันตามนกยูง
5) การแต่งกาย
การแต่งกายในการแสดงนาฏศิลป์ นั้นเป็นตัวกาหนดรูปแบบลักษณะการ
แสดง ซึ่งประกอบด้วยเสื้อผ้าและเครื่องประดับ เล่น การแสดงโขน-ละคร เครื่องแต่งกายจะมีความวิจิตร
บรรจงสวยงามบ่งบอกถึงลักษณะของตัวละครนั้นๆ การแสดงพื้นบ้านจะบ่งยอกถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่แต่
ละภาค เป็นต้น
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 9
โครงสร้างของบทละคร
บทละคร คือ บทประพันธ์ที่นาเสนอเรื่องราว ความคิด เนื้อหาสาระ และ
จินตนาการของผู้ประพันธ์ เพื่อใช้เป็นสื่อระหว่างผู้แสดงกับผู้ชม และยังเป็นตัวกาหนด
องค์ประกอบต่างๆของการแสดงละคร ทั้งโครงเรื่อง ฉาก แสง สี เสื้อผ้า และการ
แสดงออกของผู้แสดงเรื่องราวที่เกิดขึ้นในละครจะปรากฏอยู่ในบทละคร บทละครมี
องค์ประกอบดังนี้
1.1 โครงเรื่อง
โครงเรื่อง คือ การลาดับเหตุการณ์ของการแสดงตั้งแต่ต้นจนจบการแสดง
กาหนดลักษณะของตัวละครในเรื่องว่าใคร ทาอะไร ที่ไหน อย่างไร และตัวละครมี
ลักษณะนิสัยอย่างไรซึ่งโครงเรื่องที่ดีนั้นจะต้องมีความเป็นเอกภาพและมีความสมบูรณ์อยู่
ในตัวเอง จะประกอบด้วยตอนต้น ตอนกลาง และตอนจบอย่างชัดเจน
โครงเรื่องที่ดีควรมีลักษณะดังนี้
1)โครงเรื่องไม่ควรสั้นหรือยาวจนเกินไป ซึ่งโดยทั่วไปละครเวทีจะมีความ
ยาวในการแสดงตั้งแต่ 30 นาที จนถึง 2 ชั่วโมง แตกต่างจากละครโทรทัศน์ที่สามารถตัด
แบ่งออกเป็นตอนๆได้
2)ฉากที่ใช้ประกอบการแสดงมีความพอเหมาะสถานที่มีความสัมพันธ์กันไม่
ควรหลากหลายจนเกินไป ละครเวทีส่วนใหญ่จะใช้ฉากไม่เกิน 3-5 ฉาก จะเน้นฉากที่มี
ความสาคัญ แต่ละครโทรทัศน์หรือภาพยนตร์จะมีฉากกี่ฉากก็ได้ เพราะถ่ายทาในสถานที่จริง
แล้วนามาตัดต่อออกมาเป็นการแสดงให้ชม
3)เหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในเรื่องจะต้องมีความสัมพันธ์กัน มีความสืบเนื่อง
ต่อๆกันอย่างเป็นเหตุเป็นผล
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 10
ส่วนโครงเรื่องที่ไม่ดีมีลักษณะดังนี้ เหตุการณ์ต่างๆในเรื่องไม่มีความ
เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กัน สามารถตัดตอนหนึ่งตอนใดออกก็ได้โดยไม่กระทบต่อโครงเรื่อง
แม้แต่น้อย
1.2 ตัวละครและการวางลักษณะนิสัยของตัวละคร
1) ตัวละคร ตัวละคร คือ ผู้ที่ดาเนินเรื่องราวต่างๆของละครเป็นผู้ที่ได้รับผลจากการ
กระทาในบทละคร สามารถแบ่งตามลักษณะของตัวละครได้ 2 ประเภท คือ
1.1 ตัวละครที่มีลักษณะแบบตายตัว คือ ตัวละครที่ผู้ชมสามารถมองเห็นได้
เพียงด้านเดียว มีลักษณะนิสัยตามแบบที่ใช้ในการแสดงละครทั่วๆไป เช่น พระเอกเป็นคนดี
มีความเป็นสุภาพบุรุษ นางเอกเป็นคนเรียบร้อย มีความเป็นกุลสตรี น่ารัก นางอิจฉาเป็นคน
ไม่ดี คอยอิจฉาและกลั่นแกล้งนางเอก เป็นต้น ซึ่งตัวละครในลักษณะนี้จะมีลักษณะนิสัยหรือ
คาแรคเตอร์ที่ชัดเจน ผู้ชมสามารถเข้าใจได้ง่าย นิยมใช้ในการแสดงละครสาหรับเด็ก ละคร
พื้นบ้านหรือเทพนิยาย ซึ่งตัวละครจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาการตั้งแต่ต้นเรื่องจนจบ
เรื่อง
1.2 ตัวละครที่เห็นได้รอบด้าน คือตัวละครที่มีความลึกซึ้งเข้าใจยากกว่าตัว
ละครที่มีลักษณะแบบตายตัว มีลักษณะมองได้รอบด้าน ซึ่งมีทั้งส่วนดีและส่วนเสีย ตัวละคร
ประเภทนี้ส่วนมากจะมีพัฒนาการด้านนิสัยใจคอ มีการเปลี่ยนแปลงเจตคติในสิ่งต่างๆของชีวิต
เนื่องจากเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในละคร ตัวละครประเภทนี้จะพบในบทละครสมัยใหม่ และ
มีลักษณะเป็นวรรณกรรมชั้นสูง
2)การวางลักษณะนิสัยของตัวละคร คือ การกาหนดลักษณะนิสัยของตัวละครตามความ
เหมาะสมของเรื่องราวในละครที่นาเสนอ การวางลักษณะนิสัยของตัวละครที่ดีนั้นพฤติกรรม
และลักษณะนิสัยของตัวละครต้องมีหลักของเหตุผล ตัวละครที่มองเห็นได้รอบด้านจะต้องมี
บุคลิกภาพที่เหมือนกับคนในสังคมปัจจุบัน ตัวละครในการแสดงแบ่งออกเป็น
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 11
1.ตัวละครหลักหรือตัวละครสาคัญ คือ ตัวเอกของเรื่องซึ่งถือว่าเป็นผู้ดาเนิน
เรื่องราวในละคร เป็นบุคคลสาคัญแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายดี ได้แก่ พระเอก นางเอก
เรียกว่า “ตัวละครเอก” ฝ่ายร้าย ได้แก่ ตัวโกง นางอิจฉา เรียกว่า “ตัวร้าย” เช่นในละคร
ทั่วไป ซึ่งเรื่องราวเกิดจากความอิจฉาริษยาของตัวละคร
2.ตัวละครรอง คือ ตัวละครที่มีความสาคัญรองจากตัวละครหลัก โดยจะมี
บทบาทเป็นผู้ช่วย สนับสนุน หรือคอยแก้ไขปัญหาต่างๆให้กับตัวละครเอก หรือที่เรียกว่า
ผู้ช่วยพระเอก นางเอก ซึ่งถ้าหากละครเรื่องนั้นมีตัวละครฝ่ายร้ายเป็นตัวเอกก็สามารถที่จะมีตัว
รองได้เหมือนกันเป็นผู้ช่วยของตัวละครฝ่ายร้าย
1.3 ความคิดหรือแก่นของเรื่อง
ความคิดหรือแก่นของเรื่องมีความสาคัญรองจากโครงเรื่องและตัวละคร เป็น
จุดมุ่งหมายของการละครที่ผู้เขียนต้องการนาเสนอต่อผู้ชมเมื่อชมการแสดงจบ ผู้ชมจะทราบถึง
สาระสาคัญของละครที่ได้ชม แต่ส่วนใหญ่ความคิดหรือแก่นของเรื่องจะซ่อนอยู่ในเรื่องราว
และบทสนทนาซึ่งความคิดหรือแก่นของเรื่องในละครมีอยู่มากมาย ดังตัวอย่างต่อไปนี้
1) เรื่องการสูญเสียความรัก เช่น เรื่องคู่กรรม
2) เรื่องความขัดแย้งของญาติพี่น้อง เช่น เรื่องบ้านทรายทอง
3) เรื่องความรักถึงตาย เช่น เรื่องโรมิโอและจูเลียต
4) เรื่องการตัดสินผิด เช่น เรื่องเงาะป่า
5) เรื่องการติดตาม เช่น เรื่องมโนราห์ เรื่องพระรถเมรี
6) เรื่องการสืบสกุล เช่น เรื่องพระลอ
7) เรื่องการแข็งข้อหรือกบฏ เช่น เรื่องแฮมเลต
8) เรื่องศัตรูแอบรัก เช่น สวรรค์เบี่ยง
9) เรื่องชิงดีชิงเด่นระหว่างญาติ เช่น เรื่องริษยา
10)เรื่องฆาตกรรมในวงศ์ญาติ เช่น เรื่องเกี่ยวกับกษัตริย์โบราณ
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 12
ดังนั้น ความคิดหรือแก่นของเรื่องจึงมีคุณค่าต่อจิตใจและสติปัญญาที่ผู้ชมสามารถนามา
ปรับใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวันได้
1.4บทสนทนา
บทสนทนา คือ การใช้คาพูดในการแสดงละครด้วยการใช้ถ้อยคาอย่างมีศิลปะ ซึ่งบท
สนทนานี้จะเป็นร้อยแก้วหรือร้อยกรองก็ได้ ซึ่งนักเขียนที่มีชื่อเสียงของโลกในอดีตหรือ
นักเขียนบทละครของไทยก็นิยมเขียนบทละครเป็นบทร้อยกรอง เช่น เรื่อง เวนิสวานิช
เป็นต้น แต่ละครในปัจจุบันจะใช้บทสนทนาที่เป็นร้อยแก้วซึ่งจะเหมือนกับคาพูดของคน
ในปัจจุบัน
ผู้เขียนบทละครที่ดีจะต้องเขียนได้ตรงตามประเภทของละคร ลักษณะนิสัยของตัว
ละครเหตุการณ์ในแต่ละตอนของละคร และต้องมีความกระจ่าง เพื่อผู้ชมดูแล้วสามารถ
ติดตามเรื่องได้และก็ไม่ยากหรือง่ายจนเกินไป สิ่งที่สาคัญที่สุดของบทสนทนา คือ การ
แสดงถึงลักษณะนิสัยความคิด และอารมณ์ของตัวละครที่นาไปสู่การกระทาต่างๆของตัว
ละครและมีผลต่อการดาเนินเรื่องราวของละคร
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 13
ละครกับชีวิต
ละครเป็นการแสดงที่เน้นการเลียนแบบพฤติกรรมหรือการกระทาของมนุษย์
มีความใกล้เคียงกับชีวิตและมีรูปแบบการนาเสนอที่เหมือนจริง ละครจึงเป็นสิ่งที่สะท้อน
ภาพของชีวิตจริงและธรรมชาติของมนุษย์ได้ชัดเจนที่สุด ละครเป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่
แสดงถึงทัศนะ ปรัชญา ความคิด อารมณ์และความรู้สึก เหตุการณ์หรือสถานการณ์
ต่างๆที่เกิดขึ้นในสังคม ละครจึงสามารถเป็นตัวสะท้อนภาพของชีวิต ขนบธรรมเนียม
ประเพณีของคนในสังคมนั้นๆออกมาได้เหมือนกับความเป็นจริงมากที่สุด ซึ่งจุดมุ่งหมาย
ของละครก็เพื่อตอบสนองความต้องการมนุษย์ 3 ด้าน คือ
1)ด้านอารมณ์ ละครมีจุดประสงค์ในการแสดงเพื่อให้ความบันเทิง ช่วยผ่อน
คลายความตึงเครียด ทาให้มนุษย์มีความสุข มีสุขภาพจิตที่ดี และมีความกระตือรือร้น
ในการดารงชีวิต
2ด้านสมอง ให้คุณค่าทางด้านสติปัญญา สามารถนาข้อคิดที่ได้จากการชม
ละครมาปรับใช้ในการแก้ปัญญา
3)ด้านจิตใจ นอกจากละครจะให้คุณค่าทางด้านของความบันเทิงและแง่คิด
แล้วละครยังมีความสัมพันธ์กับด้านจิตใจของมนุษย์มาเป็นเวลาช้านาน เห็นได้จากการ
ละครของตะวันออกและตะวันตกที่มีกาเนิดมาจากการบวงสรวงเทพเจ้า ของพรเทพเจ้าให้
สมปรารถนา เป็นต้น
ดังนั้น ละครจึงเป็นการแสดงที่จาลองมาจากชีวิตจริงของมนุษย์ โดยนาเอา
ประสบการณ์ในชีวิตจริงมาผนวกกับจินตนาการแล้วสร้างสรรค์เป็นเรื่องราวที่สะท้อนภาพ
ชีวิต และนาเสนอออกมาในรูปแบบต่างๆมีผู้แสดงเป็นผู้ถ่ายทอดเรื่องราวแก่ผู้ชม ซึ่งผู้ชม
สามารถนาเอาสาระความรู้ที่ได้รับจากการชมละครมาปรับใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน
ได้
การแสดงละครเวทีเฉลิมพระเกียรติฯ เป็นการแสดงที่สะท้อนให้เห็นถึงพระ
มหากรุณาธิคุณที่พระองค์มีต่อประชาชนชาวไทย
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 14
ความสาคัญและบทบาทของนาฏศิลป์ และการละครกับชีวิตประจาวัน
นาฏศิลป์และการละครมีความสาคัญกับชีวิตประจาวันของมนุษย์มาโดยตลอด
ตั้งแต่เกิดจนตาย จะเห็นได้จากเวลาคนเราเกิดมาในสมัยก่อนจะมีพิธีทาขวัญเดือน โกน
ผมไฟ ซึ่งถือเป็นพิธีมงคล เมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มสาวก็จะมีพิธีโกนจุกเพื่อแสดงว่าเข้าสู่วัยหนุ่ม
สาวแล้ว ชีวิตในช่วงต่างๆของคนไทย เช่น การอุปสมบท พิธีทาขวัญนาค การ
แต่งงาน ขึ้นบ้านใหม่ และพิธีอื่นๆอีกมากมายล้วนมีนาฏศิลป์และการละครเข้ามา
เกี่ยวข้องเสมอ
3.1 ความสาคัญของนาฏศิลป์ และการละคร
นาฏศิลป์และการละครมีความสาคัญดังนี้
1 แสดงถึงความเป็นอารยประเทศ เพราะศิลปะเป็นสิ่งที่มีคุณค่าต่อจิตใจของ
มนุษย์ เป็นเครื่องโน้มน้าวอารมณ์ โดยเฉพาะการแสดงละครเป็นสิ่งที่ช่วยในการกล่อม
เกลาจิตใจ ให้แง่คิดและให้กาลังใจในการที่จะสร้างความเจริญรุ่งเรืองในชาติสืบต่อไป
2 เป็นแหล่งรวมศิลปะแขนงต่างๆ เพราะศิลปะทุกแขนงนั้นมีความเชื่อมโยงเกี่ยว
เนื่องกันทั้งสิ้น ได้แก่
(1) วรรณกรรม คือ การแต่งบทละคร บทร้อง
(2) จิตรกรรม คือ การเขียนฉากละคร การแต่งหน้าตัวละคร
(3) ประติมากรรม คือ การปั้น การหล่อ การสลักรูป เช่น ประดิษฐ์
ศิราภรณ์ต่างๆ
(4) สถาปัตยกรรม คือ การสร้างเวที การสร้างฉาก
(5) ดุริยางคศิลป์ คือ การบรรเลงดนตรี ขับร้อง
การแสดงหุ่นละครหลวงเป็นการแสดงที่รวมศิลปะแขนงต่างๆ ได้แก่ วรรณกรรม
จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และดุริยางคศิลป์ เป็นการแสดงที่มีความ
สวยงามมาก
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 15
3.2 บทบาทของนาฏศิลป์ และการละครกับชีวิตประจาวัน
นาฏศิลป์และการละครเป็นกิจกรรมที่ปรากฏอยู่ในสังคมซึ่งมีความสัมพันธ์กับ
ชีวิตประจาวันของเรา เช่น
1) การเล่านิทาน เป็นกิจกรรมที่มีลักษณะของการละครผสมอยู่เพราะเป็นเรื่อง
ราวที่เล่าต่อๆกันมาหรือเป็นเรื่องของนิทานพื้นบ้าน ซึ่งบางครั้งอาจมีการแสดงท่าทางประกอบ
ซึ่งอาจจะเปรียบได้ว่าผู้เล่าเป็นผู้แสดงที่สื่อสารเรื่องราวให้กับผู้ฟัง
2) การเลียนแบบ สามารถพบเห็นได้จากการสมมุติตนเองในการเล่นของเด็กๆ
เช่น เล่นขายของ สมมุติตนเองเป็นพ่อค้า ลูกค้าที่มีการต่อรองราคาในการซื้อขายสินค้ากัน
การละเล่นงูกินหาง สมมุติตนเองเป็นพ่องู แม่งู และลูกงู เป็นต้น ซึ่งการเล่นหรือการสร้าง
สถานการณ์เช่นนี้มีลักษณะเหมือนกับการแสดงละคร ที่นักแสดงต้องเลียนแบบตัวละครแล้ว
แสดงออกมาให้ผู้ชมได้รับรู้
3) กิจกรรมเพื่อความบันเทิง เป็นการแสดงเพื่อผ่อนคลายความเครียด ความ
เหนื่อยล้าจากการทางาน หรือเป็นการแสดงที่ใช้แสดงในงานเทศกาลต่างๆหรืองานบุญของ
ไทยตั้งแต่อดีตเพื่อสร้างความบันเทิง ประชาชนนิยมเล่นการละเล่นพื้นบ้านที่เป็นการแสดง
พื้นบ้าน ซึ่งกิจกรรมต่างๆเหล่านี้ล้วนมีความเกี่ยวข้องกับนาฏศิลป์และการละครทั้งสิ้น
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 16
การอนุรักษ์นาฏศิลป์ และการละคร
นาฏศิลป์ไทยเป็นศิลปวัฒนธรรมที่ถือว่าเป็นเอกลักษณ์ของชาติ มี
คุณค่าต่อสังคมไทย ซึ่งจะเห็นได้จากการแสดงต่างๆ ที่สะท้อนให้เห็นถึงสภาพ
สังคม วิถีการดาเนินชีวิตและภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ให้
เป็นมรดกของชาติ
การอนุรักนาฏศิลป์ไทยนั้นถือว่าเป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนที่
จะต้องตระหนักถึงคุณค่าของงานนาฏศิลป์ที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์ขึ้นมาตั้งแต่
อดีตถึงปัจจุบัน อีกทั้งยังมีการจัดตั้งหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการช่วยส่งเสริมและ
อนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย เช่น วิทยาลัยนาฏศิลป สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
กระทรวงวัฒนธรรม กรมศิลปากร เป็นต้น
คนไทยสามารถมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และสืบทอดนาฏศิลป์ไทยได้ดังนี้
1)ปลูกฝังให้คนไทยทุกคนยึดถือว่าการอนุรักษ์และส่งเสริมนาฏศิลป์เป็น
หน้าที่ของทุกคนในชาติ
2)ศึกษาถึงประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทยปละนาฏศิลป์ พื้นเมืองใน
ท้องถิ่นของตนเอง
3)ตระหนักถึงความสาคัญของนาฏศิลป์ไทยที่มีต่อสังคมไทยและประเทศชาติ
4)ให้ความร่วมมือในการสนับสนุน เผยแพร่ อนุรักษ์ และให้ความร่วมมือ
ในการเข้าร่วมชมและจัดกิจกรรมการแสดงนาฏศิลป์ไทย
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 17
วิธีเลือกการแสดง 1
การแสดงนาฏศิลป์ไทยสามารถที่จะนามาจัดแสดงในโอกาสต่างๆโดยต้องคานึงถึงรูปแบบของงานว่า
เป็นงานประเภทใด สถานที่มีความเหมาะสมเพียงใด ระยะเวลาที่กาหนดให้มีการจัดการแสดง และวัยของ
ผู้ชม เพื่อที่จะสามารถจัดการแสดงได้เหมาะสมกับโอกาสนั้นๆ การแสดงนาฏศิลป์ไทย เป็นการแสดงที่มีทั้ง
การแสดงเพื่องานมงคลและงานอวมงคล ซึ่งการแสดงแต่และประเภทจะต้องคานึงถึงลักษณะของงาน
นาฏศิลป์ เป็นศิลปะคู่บ้านคู่เมืองที่นามาแสดงได้ทุกโอกาส ทั้งงานพระราชพิธี รัฐพิธี และ งาน
ทั่วๆไปของเอกชน
โดยงานพระราชพิธี และรัฐพิธี เป็นงานในหน้าที่ของกรมศิลปากรที่ต้องจัดการแสดงในโอกาส
สาคัญๆ เช่น
1. งานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 5 ธันวามหาราช
2. งานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระบรมราชินีนาถ 12 สิงหาคม
3. งานพระราชพิธีพระราชทานเลี้ยงพระกระยาหารค่า พระราชอาคันตุกะในพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท และพระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร
4. งานวันปิยมหาราช
5. งานต้อนรับแขกของรัฐบาล ณ ทาเนียบรัฐบาล ซึ่งจัดเป็นประจา
6. งานเฉลิมฉลองวันสาคัญต่างๆ เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ เป็นต้น
7. การจัดแสดงเพื่อเผยแพร่ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
สาหรับพิธีราษฎร์ จัดการแสดงเนื่องในวันสาคัญต่างๆ เช่น วันครู วันเด็ก วันสุนทรภู่
วันสถาปนาลูกเสือแห่งชาติ วันลอยกระทง เป็นต้น
หลักในการเลือกชุดการแสดงให้เหมาะสม
1) เลือกชุดแสดงให้เหมาะสมกับโอกาสที่แสดง ถ้าเป็นงานเฉลิมฉลองความสาเร็จ หรือเป็นงานวัน
สถาปนาโรงเรียน วันเกิดบุคคลสาคัญ ก็ต้องเลือกชุดการแสดงที่เป็นการอานวยพร มอบความเป็น
สิริมงคลให้มั่งมีศรีสุข เช่น ระบากฤดาภินิหาร ฟ้อนอวยพร เป็นต้น หรือแต่งเนื้อร้องขึ้นใหม่ให้
ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยกาหนดเนื้อหาของบทร้องให้ชัดเจนว่าการแสดงชุดนี้จัดขึ้นเพื่ออะไร หรือ
เพื่อใคร มีเป้าหมายอย่างไร
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 18
2) เลือกชุดการแสดงตามที่ผู้จัดต้องการ เช่น รูปแบบของการแสดง ผู้แสดงเครื่องแต่งกาย เวลาที่ใช้
ในกากรแสดง ขนาดของพื้นที่ในการแสดง งบประมาณ เพื่อให้เหมาะสมกับงานนั้นๆ
2
การเลือกรูปแบบการแสดงก็ต้องเป็นระบบ มีกฎเกณฑ์ถูกต้องตามแบบแผนโดยปฏิบัติดังนี้
1. แต่งบทร้องให้ได้ใจความเหมาะสมกับงานนั้นๆ
2. ตีท่าราให้ตรงตามความหมายของบทร้อง มีการแปรแถว ตั้งซุ้มให้สัมพันธ์กับบทร้อง
3. ใส่ทานองเพลงให้ถูกต้องเหมาะสมกับเนื้อเพลง
4. ปี่พาทย์ทาทานองเพลง ผู้แสดงใช้ลีลาท่ารา และตีบทได้ถูกต้อง
5. ช่วงจบปี่พาทย์ทาเพลงรัว ผู้รากลับไปนาพานดอกไม้ออกมาโปรย อันเป็นสัญลักษณ์
ของการราอวยพร
6. คัดเลือกผู้แสดงที่มีความสามารถ มีฝีมือในการรา จานวนผู้แสดงและเครื่องแต่งกาย
เหมาะสมสอดคล้องกับรูปแบบของการแสดงนั้นๆ
การแสดงนาฏศิลป์และการละครของไทยในโอกาสต่างๆ
การนาการแสดงนาฏศิลป์และการละครของไทยไปแสดงในโอกาสต่างๆ ต้องคานึงถึง
รูปแบบของงานที่จัดว่าเป็นงานประเภทใด เช่น งานพระราชพิธี งานมงคล งานอวมงคล งานเทศกาลต่างๆ
เป็นต้น และต้องคานึงสถานที่จัดการแสดงว่ามีบริเวณกว้างหรือแคบมากน้อยเพียงใด ระยะเวลาที่กาหนดให้มี
การแสดง รวมทั้งวัยของผู้ชม เพื่อที่จะได้จัดการแสดงได้เหมาะสมกับโอกาสนั้นๆและถูกใจผู้ชม
การแสดงนาฏศิลป์และการละครของไทยในงานพระราชพิธี
งานพระราชพิธี คือ งานที่จัดเพื่อพระมหากษัตริย์และเชื้อพระวงศ์ เช่น งานสมโภช งานเฉลิม
ฉลองสิริราชสมบัติ งานโสกันต์ เป็นต้น ซึ่งการแสดงนาฏศิลป์และการละครของไทยที่นามาจัดแสดงในงาน
พระราชพิธีนั้นจะมีลักษณะแสดงที่มีแบบแผน ขนบธรรมเนียมประเพณีที่เคร่งครัดและความงดงามในท่าทาง
การร่ายรา การแต่งกาย ความไพเราะของการขับร้องและการบรรเลงเพลงประกอบการแสดง เช่น
การละเล่นของหลวง การแสดงละครใน การแสดงละครนอกแบบหลวง การแสดงโขน ซึ่งการแสดงโขนใน
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 19
งานพระราชพิธีนั้นเรียกว่า โขนหลวง การแสดงหุ่นละครใหญ่หรือหุ่นละครหลวง และการแสดงรา ระบา
แบบมาตรฐาน เป็นต้น
การแสดงโขน
ชุดทศกัณฑ์ รบพระราม
การแสดงนาฏศิลป์และการละครของไทยในงานมงคลทั่วไป 3
งานมงคลทั่วไป เช่น งานทาบุญบ้าน งานวันเกิด งานปีใหม่ เป็นต้น จะนิยมนาการแสดงที่
สื่อความหมายถึงความเป็นสิริมงคล การแสดงที่มีความสนุกสนาน และใช้เวลาในการแสดงแต่ละชุดไม่นานจน
ผู้ชมไม่รู้สึกเกิดความเบื่อหน่ายมาจัดแสดงให้แขกท่าในงานได้รับชม เช่น ราอวยพร ระบากฤดาภินิหาร
ระบาเทพบันเทิง ระบาไกรลาศสาเริง ฟ้อนอวยพร เป็นต้น และการแสดงพื้นเมืองที่มีจังหวะสนุกสนาน
เช่น การแสดงพื้นเมืองที่มีจังหวะสนุกสนาน เช่น การแสดงเซิ้งโปงลาง ระบาร่อนแร่ เป็นต้น ส่วนละคร
ไทยไม่ค่อยนิยมนามาแสดงในงานมงคลทั่วไปเพราะเป็นการแสดงที่ใช้ระยะเวลาในการแสดงนาน
ระบากฤดาภินิหาร (ระบามาตรฐาน)
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 20
ระบาไตรรัตน์ (ราอวยพร)
การแสดงนาฏศิลป์และการละครของไทยในงานอวมงคลทั่วไป 4
งานอวมงคลทั่วไป ได้แก่ งานศพ จะนิยมกากรแสดงที่สื่อความหมายถึงความโศกเศร้าเสียใจ
หรือการแสดงที่มีจังหวะช้าๆมาจัดแสดงในงานเพื่อเป็นเกียรติให้แก่ผู้เสียชีวิต และให้แขกในงานได้รับชมเพื่อ
สร้างความเพลิดเพลินและผ่อนคลายความเครียด เช่น รามโนราห์บูชายัญ ราพลายชุมพล ราฉุยฉายวันทอง
ราฉุยฉายเบญกาย ราฉุยฉายพราหมณ์ ระบาโบราณคดี เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการนาการแสดงเป็นชุดเป็น
ตอนมาจัดแสดง เช่น ราพระลอตามไก่ ราหนุมานจับนางเบญกาย และการแสดงโขน ซึ่งการแสดงโขนใน
งานมงคลทั่วไปนั้นที่เรียกว่าการแสดง โขนหน้าไฟ จะนามาแสดงในตอน เช่น ตอนนางลอย
ตอนสีดาหาย เป็นต้น
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 21
ฉุยฉายวันทอง ราพลายชุมพล
การแสดงชุดหนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา
การแสดงนาฏศิลป์และการละครของไทยในงานเทศกาลต่างๆ 5
งานเทศกาลของไทยนิยมจัดให้มีการแสดงนาฏศิลป์และการละครของไทยโดยได้รับการสนับสนุนจาก
หน่วยงานภาครัฐและเอกชน เพื่อเป็นการสร้างความสนุกสนานให้ผู้ที่มาร่วมงานอีกทั้งเป็นการอนุรักษ์และสืบ
สานนาฏศิลป์ไทย ซึ่งการแสดงนาฏศิลป์และการละครของไทยในงานเทศกาลต่างๆ ยังส่งผลดีต่อเศรษฐกิจ
ด้านการท่องเที่ยว เนื่องจากชาวต่างชาตินิยมมาท่องเที่ยวในประเทศไทยช่วงเทศกาลต่างๆกันมาก เพราะ
นอกจากจะได้ชมสถาปัตยกรรมต่างๆที่งดงามของไทยแล้ว ยังได้ชมศิลปะการแสดงของไทยที่ทุกภาคทั่วไทย
ได้จัดขึ้นด้วย ซึ่งศิลปะการแสดงของไทยเป็นที่ชื่นชมของชาวต่างชาติเป็นอย่างมาก โดยการแสดงนาฏศิลป์
และการละครของไทยทุกประเภทสามารถนามาจัดแสดงในงานเทศกาลต่างๆ ได้อย่างไม่มีข้อจากัดแต่ต้อง
เลือกเลือกนามาแสดงให้เหมาะกับเทศกาลนั้นๆ เช่น การแสดงระบาสุโขทัยในงานลอยกระทง รากลองยาว
ในงานสงกรานต์ ฟ้อนเทียน ฟ้อนเล็บในงานสืบสานล้านนา เป็นต้น โดยส่วนใหญ่แล้วการแสดงพื้นเมือง
ของภาคต่างๆจะนิยมนามาแสดงในงานเทศกาลต่างๆมากที่สุด
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 22
ฟ้อนเทียน
รากลองยาว (ภาคกลาง)
ขั้นตอนการดำเนินการจัดการแสดง 6
1. การจัดการแสดงจาเป็นต้องแบ่งหน้าที่ผู้รับผิดชอบออกเป็นฝ่ายต่างๆเพื่อสะดวกในการจัดการแสดง
ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ฝ่าย คือ ฝ่ายอานวยการแสดง ฝ่ายจัดการแสดง และฝ่ายธุรการ
2. คัดเลือกผู้แสดง ควรพิจารณาจากบุคลิกลักษณะของผู้แสดงให้มีความสอดคล้องกับบทบาทของตัว
ละครนั้นๆ ถ้าเป็นการแสดงประเภทรา ระบา หรือฟ้อนต่างๆ ควรเลือกผู้แสดงที่มีรูปร่างลักษณะใกล้เคียง
กัน เพื่อความสมดุลในการแสดง
3. เรียกประชุมเพื่อมอบหมายงานให้กับเจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างๆเพื่อเตรียมการของงานในส่วนต่างๆ เช่น
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 23
มอบหมายเรื่องค่าใช้จ่ายต่างๆให้กับเจ้าหน้าที่ เหรัญญิก มอบหมายการจัดทาฉากให้กับเจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคนิค
เป็นต้น
4. จัดการประชุมติดตามผลการทางานของแต่ละฝ่าย ซึ่งหัวหน้าจะเป็นผู้รายงานความคืบหน้าอุปสรรค
และปัญหาต่างๆให้ผู้กากับการแสดงและหัวหน้าฝ่ายต่างๆรับรู้ และร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
5. ฝึกซ้อมการแสดง จะมีการกาหนดการซ้อมย่อยและซ้อมใหญ่
6. จัดการแสดงจริง เป็นขั้นตอนที่มีความสาคัญมากที่สุด เพราะทุกฝ่ายจะต้องทาหน้าที่ของตนเอง
อย่างเต็มความสามารถ เพราะถ้าหากมีปัญหาใดๆเกิดขึ้นทุกฝ่ายจะต้องขอคาแนะนาจากผู้กากับการแสดง
7. การสรุปและประเมินผลการแสดง เป็นขั้นตอนสุดท้ายที่ทุกฝ่ายจะมาประชุมสรุปและประเมินผลการ
จัดการแสดง และนาข้อมูลที่ได้มาปรับปรุงแก้ไขให้ดียิ่งขึ้นสาหรับการจัดการแสดงในครั้งต่อไป
ขั้นตอนการแสดง 7
1).เลือกการแสดงที่จะใช้ในงาน เป็นการเลือกรูปแบบการแสดงให้มีความเหมาะสมกับงาน
2).จัดหาสถานที่ในการแสดง ในการจัดการแสดงควรคานึงถึงสถานที่แสดงเพื่อให้สามารถจัดการแสดงได้
เหมาะสม สามารถจัดรูปแบบการแสดงได้สมบูรณ์ ผู้ชมได้รับความเพลิดเพลินในการชมการแสดง
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 24
3).แบ่งหน้าที่ในการทำงาน ในการจัดการแสดงแต่ละครั้งจะต้องมีการแบ่งหน้าที่ในการทางานในแต่ละฝ่าย
เพื่อให้สามารถสร้างสรรค์งานได้อย่างสมบูรณ์ ซึ่งในการทางานแต่ละฝ่ายจะต้องมีความสามัคคีกันเพื่อให้การ
แสดงสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
4).ฝึกซ้อมการแสดง ในการจัดการแสดงแต่ละการแสดงจะต้องมีการฝึกซ้อมการแสดง เพื่อให้แสดงได้ถูกต้อง
และไม่เกิดความผิดพลาดขณะทาการแสดงจริง
5).จัดการแสดงจริง เป็นการจัดแสดงจริงในวันแสดงจริง ซึ่งทุกฝ่ายต้องมีความพร้อมในการจัดการแสดง
และมีฝ่ายต้อนรับผู้ชมในการนาผู้ชมเข้าสู่สถานที่แสดงด้วย
6).จัดเก็บอุปกรณ์และสถานที่หลังเลิกแสดง เมื่อจัดการแสดงเรียบร้อยแล้วทุกคนจะต้องร่วมมือกันจัดเก็บ
อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงและทาความสะอาดสถานที่จัดการแสดงให้เรียบร้อย
8ช่วยให้ผู้แสดงมีความ
กล้าแสดงออก
ทำให้เกิดความสามัคคี ร่วม
แรงร่วมใจในการทำงาน
ทำงาน
เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ในการคิดการแสดง
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 25
การออกแบบและสร้างอุปกรณ์
ประโยชน์และคุณค่า
ของการแสดง
ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
ช่วยผ่อนคลายความ
ตึงเครียด
รู้จักคิดวิเคราะห์ วิจารณ์การ
แสดงอย่างมีเหตุผล
สามารถนำไปบูรณาการกับ
กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นได้
ช่วยอนุรักษ์และสืบทอด
ศิลปวัฒนธรรมของชาติ
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 26
การออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณ์และเครื่องแต่งกายเพื่อการแสดงนาฏศิลป์นั้น เป็นสิ่งที่ทาให้การ
แสดงมีความสวยงามน่าสนใจ ซึ่งการออกแบบและสร้างสรรค์มีหลักและขั้นตอนดังนี้
7.ประเมินผล หลังจากปรับปรุงแก้ไขแล้ว ก็
นามาประเมินผลว่าใช้งานได้ดีหรือไม่ สวยงาม
น่าสนใจหรือไม่ ต้นทุนสูงหรือไม่
6.การปรับปรุงแก้ไข หลังจากทดสอบ
แล้วพบข้อบกพร่องก็ทาการปรับปรุง
แก้ไข โดยอาจเลือกวีการใหม่
5.ทดสอบ เป็นการนาสิ่งประดิษฐ์นั้น
มาทดสอบว่าใช้งานได้หรือไม่ ถ้ายัง
ไม่ได้จะได้นาไปสู่ขั้นตอนการปรับปรุง
2.รวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหา
หรือสนองความต้องการ คือ การเก็บ
รวบรวมข้อมูลและความรู้เกี่ยวกับปัญหา
หรือความต้องการเพื่อหาวิธีการที่เหมาะสม
เช่น หาวิธีการสร้างสรรค์ ออกแบบอุปกรณ์
การแสดงจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
1.กำหนดปัญหาหรือความต้องการ คือ ทา
ความเข้าใจปัญหานั้นๆอย่างละเอียดหรือ
กาหนดขอบเขต ระบุความต้องการให้
ชัดเจน เช่น จะสร้างสรรค์การแสดงอะไร
โดยระบุการแสดงให้ชัดเจน
4.ออกแบบและปฏิบัติการ ขั้นตอนนี้
เป็นการให้นักเรียนรู้จักคิดออกแบบ
เพื่อนาไปสู่การลงมือทาสิ่งที่ออกแบบไว้
3.เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความ
ต้องการ ในขั้นตอนนี้เป็นการตัดสินใจโดยการ
เลือกวิธีการแก้ปัญหาว่าจะใช้วิธีใด เพื่อให้สะดวก
รวดเร็วและให้สอดคล้องกับทรัพยากรที่มีอยู่ เช่น
จะออกแบบอุปกรณ์การแสดงด้วยวิธีใด และเป็นการ
ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า
รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 27
อ้างอิง
ดุษฎี มีป้อม . นิลวรรณ ถมังรักษ์สัตว์ คู่มือการสอน เพื่อครูผู้สอน ดนตรี – นาฏศิลป์ ม.3
วัฒนาพานิช วพ สาราษราษฎร์
ราศิยส วงศ์ศิลปะกุล . ศิริรัตน์ วุฐสกุล ดนตรี – นาฏศิลป์ ม.3 สถาบันพัฒนาคุณภาพ
วิชาการ (พว.)
สุมามาลย์ นิ่มเนติพันธ์ และคณะ ดนตรี – นาฏศิลป์ ม.3 อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด

More Related Content

What's hot

แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)Panomporn Chinchana
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลPonpirun Homsuwan
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4Panomporn Chinchana
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติPanomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4Panomporn Chinchana
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 

What's hot (20)

แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 

Similar to รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)

เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯเอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯPanomporn Chinchana
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทยประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทยnasaporn
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆPanomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2Panomporn Chinchana
 
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมPUy Praputsron
 
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่นศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่นTin Savastham
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯเอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯPanomporn Chinchana
 
การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างละครไทยกับซีรีย์เกาหลี
การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างละครไทยกับซีรีย์เกาหลีการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างละครไทยกับซีรีย์เกาหลี
การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างละครไทยกับซีรีย์เกาหลีamonjung
 

Similar to รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่) (13)

เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯเอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
 
ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทยประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
 
Radio drama
Radio dramaRadio drama
Radio drama
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
 
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
 
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่นศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯเอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
 
การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างละครไทยกับซีรีย์เกาหลี
การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างละครไทยกับซีรีย์เกาหลีการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างละครไทยกับซีรีย์เกาหลี
การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างละครไทยกับซีรีย์เกาหลี
 

More from Panomporn Chinchana

ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...Panomporn Chinchana
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 

More from Panomporn Chinchana (10)

ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
 
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
 

รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)

  • 1. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 1 วิชานาฏศิลป์ เรื่อง รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์ไทย รำเดี่ยว รำหมู่ รำเป็นชุดเป็นตอน การแสดงนาฏศิลป์ในโอกาสต่างๆ การออกแบบอุปกรณ์ประกอบการแสดง ละครกับชีวิต องค์ประกอบนาฏศิลป์ โครงสร้างบทละคร โดย คุณครูพนมพร ชินชนะ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 2. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 2 รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์ไทย คือ ศิลปะการฟ้อนราที่มนุษย์สร้างสรรค์และประดิษฐ์ ขึ้น มีความงดงามประณีตและให้ความบันเทิงใจแก่ผู้ชม รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์ ไทยแบ่งประเภทตามลักษณะการราได้ดังนี้ 1.1 การแสดงเป็นหมู่ การแสดงเป็นหมู่ คือ การแสดงที่มีผู้แสดงตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ใช้เพลงบรรเลง ประกอบการแสดงทั้งมีเนื้อร้องและไม่มีเนื้อร้อง เน้นความพร้อมเพรียงความสมดุลใน การแสดงหรือที่เรียกว่า “ระบา” อีกทั้งยังหมายความรวมไปถึง “ฟ้อนและเซิ้ง”ด้วย เพราะมีรูปแบบการแสดงที่เหมือนกันแต่เป็นการแสดงออกให้เห็นถึงความแตกต่าง ของแต่ละท้องถิ่นนั้นๆเช่น ฟ้อนสาวไหม ฟ้อนเทียน ฟ้อนที ฟ้อนภูไท เซิ้ง กระหยัง เซิ้งตังหวาย เซิ้งสวิง เซิ้งแพรวากาฬสินธุ์ ระบาวิชนี ระบานพรัตน์ ระบาปาเต๊ะ ระบาตารีบุหงาราไป เป็นต้น เซิ้งตังหวาย ระบาวิชนี
  • 3. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 3 1.2 การแสดงเดี่ยว การแสดงเดี่ยว คือการแสดงที่มีผู้แสดงเพียงคนเดียว มุ่งเน้นความสวยงามของ การเคลื่อนไหวร่างกาย เป็นการแสดงฝีมือของผู้แสดงที่ร่ายราถูกต้องตาท่วงทานอง จังหวะเพลงและงดงามตามแบบแผน เช่น ราพลายชุมพล ราฉุยฉายพราหมณ์ รา ฉุยฉายเบญกายแปลง ราฉุยฉายยอพระกลิ่น ราฉุยฉายวันทอง ราฉุยฉายฮเนา เป็นต้น ฉุยฉายเบญกาย ฉุยฉายวันทอง ราพลายชุมพล รามโนห์ราบูชายันต์
  • 4. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 4 1.3การแสดงละคร การแสดงละคร คือ การแสดงที่ดาเนินเป็นเรื่องราว ผู้แสดงที่รับบทบาทตัว ละครเป็นผู้ถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ โดยใช้การร้อง การแสดงออกของลีลาท่ารา และ การใช้เพลงประกอบตามแบบแผนของการแสดงละครแต่ละประเภท ละครไทยมี วิวัฒนาการตามยุคสมัยแบ่งออกได้ดังนี้ ประเภทละครไทย ละครแบบดั้งเดิม ละครชาตรี ละครนอก ละครใน ละครราแบบปรับปรุง ละครดึกดาบรรพ์ ละครพันทาง ละครเสภา
  • 5. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 5 ละครที่พัฒนาขึ้นใหม่ ละครพูด ละครร้อง ละครสังคีต ละครอิงประวัติศาสตร์ ละครเพลง ละครวิทยุ ละครโทรทัศน์ ละครร้อง ละครพูด ละครสังคีต 1.3 การแสดงเป็นชุดเป็นตอน การแสดงเป็นชุดเป็นตอน คือ การแสดงที่สอดแทรกอยู่ในการแสดงละครที่ ตัดตอนนามาแสดงเป็นชุดเป็นตอนสั้น จุดประสงค์เพื่อเป็นการราอวดฝีมือของผู้ แสดงการแสดงที่ตัดตอนมาจากการแสดงเรื่องใหญ่เป็นการแสดงประเภทราเดี่ยว ราคู่ หรือระบา ขึ้นอยู่กับลักษณะการราเช่น การแสดงชุดพระรามตามกวาง อยู่ในการ แสดงเรื่องรามเกียรติ์ ตอนลักสีดา การแสดงุดหนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา อยู่ใน การแสดงเรื่องรามเกียรติ์ ตอนจองถนน การแสดงชุดรจนาเสี่ยงพวงมาลัย อยู่ในการ แสดงเรื่องสังข์ทอง ตอนเลือกคู่ การแสดงชุดระบาเริงอรุณ อยู่ในการแสดงเรื่อง รามเกียรติ์ ตอนศึกวิรุฬจาบัง การแสดงชุดระบากฤดาภินิหาร อยู่ในละครเรื่องเกียรติ ศักดิ์ไทย เป็นต้น
  • 6. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 6 พระรามตามกวาง หนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา รำเมขลารามสูร รำ รจนาเสี่ยงพวงมาลัย ระบำกฤดาภินิหาร
  • 7. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 7 องค์ประกอบของนาฏศิลป์ องค์ประกอบของการแสดงนาฏศิลป์จะประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆที่ช่วยให้การ แสดงนั้นดูสมบูรณ์และสวยงาม ดังนี้ 1) จังหวะทานอง จังหวะทานองเป็นส่วนหนึ่งของดนตรี ซึ่งมีอิทธิพลต่อการแสดงนาฏศิลป์ มี ส่วนในการสร้างอรรถรสของการแสดง เสริมสร้างบรรยากาศและความสนุกสนานเพลิดเพลินอันเกิดจาก เครื่องบรรเลงที่มนุษย์เป็นผู้ประดิษฐ์ขึ้น จังหวะเป็นการแบ่งเวลาที่ดาเนินไปอย่างสม่าเสมอ ซึ่งเครื่อง ดนตรีที่ใช้ในการกากับจังหวะ ได้แก่ ฉิ่ง กรับ กลอง เป็นต้น โดยจังหวะสามารถแบ่งได้เป็นจังหวะช้า ปานกลาง และเร็ว ในภาษาของตนตรีจะเรียกว่า จังหวะสามชั้น สองชั้น และชั้นเดียว ส่วนทานอง หมายถึง เสียงที่มีความสูง-ต่า มีจังหวะสั้น-ยาว ในการแสดงนาฏศิลป์ นั้นทานองอาจจะเป็นการบรรเลง ดนตรีล้วนหรือมีบทร้องประกอบก็ได้ 2) การเคลื่อนไหว การเคลื่อนไหวของการแสดงนาฏศิลป์ หมายถึง การแสดงออกทางลีลาท่ารา เป็นการเคลื่อนไหวร่างกายที่มีแบบแผนและสวยงาม เกิดจากการประดิษฐ์สร้างสรรค์ของมนุษย์ที่ใช้ในการ สื่อสารระหว่างผู้แสดงกับผู้ชม ซึ่งถือว่าเป็นหัวใจสาคัญในการแสดงนาฏศิลป์ เพราะลีลาท่าราจะเป็นสื่อ ในการถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ แทนการพูด สื่อความหมายถึงขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรม และวิถี ชีวิตของชาวบ้านในแต่ละท้องถิ่น เช่น เซิ้งแหย่ไข่มดแดง ระบาปาเต๊ะ ระบากรีดยาง เต้นการาเคียว เป็น ต้น 3) อารมณ์และความรู้สึก อารมณ์และความรู้สึกมีความสาคัญต่อการแสดงนาฏศิลป์ ผู้แสดงจะถ่ายทอด ออกมาทางสีหน้าท่าทางเพื่อให้ผู้ชมได้รับรู้ มีความรู้สึกร่วมกับการแสดง และมีส่วนช่วยให้การแสดงนั้นมี ความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น เกิดอรรถรสร่วมในการชมการแสดง
  • 8. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 8 4) นาฏยศัพท์และภาษาท่า นาฏยศัพท์คือ ศัพท์เฉพาะทางนาฏศิลป์ ที่ใช้เรียกท่าราส่วนต่างๆของร่างกาย เช่น จีบ ตั้งวง ล่อแก้ว ประเท้า กระดก เป็นต้น ภาษาท่าคือ กรแสดงท่าทางแทนคาพูดที่ใช้สื่อให้เห็นถึง อารมณ์ความรู้สึกต่างๆของตัวละคร ซึ่งในทางนาฏศิลป์ นั้นนาฏยศัพท์และภาษาท่าถือว่ามีความสาคัญใน การถ่ายทอดเรื่องราวในการแสดง ต้องมีการศึกษาความหมายของท่าราตามหลักนาฏศิลป์ไทย เพื่อที่จะ สามารถเข้าใจในความหมายของท่าราได้อย่างชัดเจนและถูกต้องตามความหมายของท่ารานั้นๆ 5) รูปแบบการแสดง การแสดงนาฏศิลป์ ของไทยแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ 1) การแสดงหมู่ คือการแสดงที่ใช้เพลงบรรเลงประกอบทั้งมีเนื้อร้องหรือไม่มี เนื้อร้องก็ได้ จะเน้นความสมดุลของการใช้พื้นที่บนเวทีให้เกิดความสวยงามโดยจะต้องคานึงถึงความพร้อม เพรียงกัน มีการแปรแถวที่สวยงาม 2) การแสดงเดี่ยว คือการแสดงที่มีผู้แสดงเพียงคนเดียว เป็นการร่ายราเพื่ออด ฝีมือของผู้แสดง เน้นการร่ายราที่ใช้มือ แขน และท่าทางต่างๆ 3) การแสดงเป็นเรื่องราว หรือที่เรียกว่าละคร เป็นการนาเอาภาพที่เกิดจาก จินตนาการและประสบการณ์ต่างๆมาผูกเป็นเรื่องราว มีการเชื่อมโยงเหตุการณ์ ใช้ตัวละครในการดาเนิน เรื่องราว 4) การแสดงเป็นชุดเป็นตอน คือ การแสดงที่มีความสวยงามตัดตอนมาจาก การแสดงโขน-ละคร เช่น รารจนาเสี่ยวพวงมาลัย ราหนุมานจับสุพรรณมัจณา ราย่าหรันตามนกยูง 5) การแต่งกาย การแต่งกายในการแสดงนาฏศิลป์ นั้นเป็นตัวกาหนดรูปแบบลักษณะการ แสดง ซึ่งประกอบด้วยเสื้อผ้าและเครื่องประดับ เล่น การแสดงโขน-ละคร เครื่องแต่งกายจะมีความวิจิตร บรรจงสวยงามบ่งบอกถึงลักษณะของตัวละครนั้นๆ การแสดงพื้นบ้านจะบ่งยอกถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่แต่ ละภาค เป็นต้น
  • 9. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 9 โครงสร้างของบทละคร บทละคร คือ บทประพันธ์ที่นาเสนอเรื่องราว ความคิด เนื้อหาสาระ และ จินตนาการของผู้ประพันธ์ เพื่อใช้เป็นสื่อระหว่างผู้แสดงกับผู้ชม และยังเป็นตัวกาหนด องค์ประกอบต่างๆของการแสดงละคร ทั้งโครงเรื่อง ฉาก แสง สี เสื้อผ้า และการ แสดงออกของผู้แสดงเรื่องราวที่เกิดขึ้นในละครจะปรากฏอยู่ในบทละคร บทละครมี องค์ประกอบดังนี้ 1.1 โครงเรื่อง โครงเรื่อง คือ การลาดับเหตุการณ์ของการแสดงตั้งแต่ต้นจนจบการแสดง กาหนดลักษณะของตัวละครในเรื่องว่าใคร ทาอะไร ที่ไหน อย่างไร และตัวละครมี ลักษณะนิสัยอย่างไรซึ่งโครงเรื่องที่ดีนั้นจะต้องมีความเป็นเอกภาพและมีความสมบูรณ์อยู่ ในตัวเอง จะประกอบด้วยตอนต้น ตอนกลาง และตอนจบอย่างชัดเจน โครงเรื่องที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ 1)โครงเรื่องไม่ควรสั้นหรือยาวจนเกินไป ซึ่งโดยทั่วไปละครเวทีจะมีความ ยาวในการแสดงตั้งแต่ 30 นาที จนถึง 2 ชั่วโมง แตกต่างจากละครโทรทัศน์ที่สามารถตัด แบ่งออกเป็นตอนๆได้ 2)ฉากที่ใช้ประกอบการแสดงมีความพอเหมาะสถานที่มีความสัมพันธ์กันไม่ ควรหลากหลายจนเกินไป ละครเวทีส่วนใหญ่จะใช้ฉากไม่เกิน 3-5 ฉาก จะเน้นฉากที่มี ความสาคัญ แต่ละครโทรทัศน์หรือภาพยนตร์จะมีฉากกี่ฉากก็ได้ เพราะถ่ายทาในสถานที่จริง แล้วนามาตัดต่อออกมาเป็นการแสดงให้ชม 3)เหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในเรื่องจะต้องมีความสัมพันธ์กัน มีความสืบเนื่อง ต่อๆกันอย่างเป็นเหตุเป็นผล
  • 10. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 10 ส่วนโครงเรื่องที่ไม่ดีมีลักษณะดังนี้ เหตุการณ์ต่างๆในเรื่องไม่มีความ เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กัน สามารถตัดตอนหนึ่งตอนใดออกก็ได้โดยไม่กระทบต่อโครงเรื่อง แม้แต่น้อย 1.2 ตัวละครและการวางลักษณะนิสัยของตัวละคร 1) ตัวละคร ตัวละคร คือ ผู้ที่ดาเนินเรื่องราวต่างๆของละครเป็นผู้ที่ได้รับผลจากการ กระทาในบทละคร สามารถแบ่งตามลักษณะของตัวละครได้ 2 ประเภท คือ 1.1 ตัวละครที่มีลักษณะแบบตายตัว คือ ตัวละครที่ผู้ชมสามารถมองเห็นได้ เพียงด้านเดียว มีลักษณะนิสัยตามแบบที่ใช้ในการแสดงละครทั่วๆไป เช่น พระเอกเป็นคนดี มีความเป็นสุภาพบุรุษ นางเอกเป็นคนเรียบร้อย มีความเป็นกุลสตรี น่ารัก นางอิจฉาเป็นคน ไม่ดี คอยอิจฉาและกลั่นแกล้งนางเอก เป็นต้น ซึ่งตัวละครในลักษณะนี้จะมีลักษณะนิสัยหรือ คาแรคเตอร์ที่ชัดเจน ผู้ชมสามารถเข้าใจได้ง่าย นิยมใช้ในการแสดงละครสาหรับเด็ก ละคร พื้นบ้านหรือเทพนิยาย ซึ่งตัวละครจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาการตั้งแต่ต้นเรื่องจนจบ เรื่อง 1.2 ตัวละครที่เห็นได้รอบด้าน คือตัวละครที่มีความลึกซึ้งเข้าใจยากกว่าตัว ละครที่มีลักษณะแบบตายตัว มีลักษณะมองได้รอบด้าน ซึ่งมีทั้งส่วนดีและส่วนเสีย ตัวละคร ประเภทนี้ส่วนมากจะมีพัฒนาการด้านนิสัยใจคอ มีการเปลี่ยนแปลงเจตคติในสิ่งต่างๆของชีวิต เนื่องจากเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในละคร ตัวละครประเภทนี้จะพบในบทละครสมัยใหม่ และ มีลักษณะเป็นวรรณกรรมชั้นสูง 2)การวางลักษณะนิสัยของตัวละคร คือ การกาหนดลักษณะนิสัยของตัวละครตามความ เหมาะสมของเรื่องราวในละครที่นาเสนอ การวางลักษณะนิสัยของตัวละครที่ดีนั้นพฤติกรรม และลักษณะนิสัยของตัวละครต้องมีหลักของเหตุผล ตัวละครที่มองเห็นได้รอบด้านจะต้องมี บุคลิกภาพที่เหมือนกับคนในสังคมปัจจุบัน ตัวละครในการแสดงแบ่งออกเป็น
  • 11. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 11 1.ตัวละครหลักหรือตัวละครสาคัญ คือ ตัวเอกของเรื่องซึ่งถือว่าเป็นผู้ดาเนิน เรื่องราวในละคร เป็นบุคคลสาคัญแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายดี ได้แก่ พระเอก นางเอก เรียกว่า “ตัวละครเอก” ฝ่ายร้าย ได้แก่ ตัวโกง นางอิจฉา เรียกว่า “ตัวร้าย” เช่นในละคร ทั่วไป ซึ่งเรื่องราวเกิดจากความอิจฉาริษยาของตัวละคร 2.ตัวละครรอง คือ ตัวละครที่มีความสาคัญรองจากตัวละครหลัก โดยจะมี บทบาทเป็นผู้ช่วย สนับสนุน หรือคอยแก้ไขปัญหาต่างๆให้กับตัวละครเอก หรือที่เรียกว่า ผู้ช่วยพระเอก นางเอก ซึ่งถ้าหากละครเรื่องนั้นมีตัวละครฝ่ายร้ายเป็นตัวเอกก็สามารถที่จะมีตัว รองได้เหมือนกันเป็นผู้ช่วยของตัวละครฝ่ายร้าย 1.3 ความคิดหรือแก่นของเรื่อง ความคิดหรือแก่นของเรื่องมีความสาคัญรองจากโครงเรื่องและตัวละคร เป็น จุดมุ่งหมายของการละครที่ผู้เขียนต้องการนาเสนอต่อผู้ชมเมื่อชมการแสดงจบ ผู้ชมจะทราบถึง สาระสาคัญของละครที่ได้ชม แต่ส่วนใหญ่ความคิดหรือแก่นของเรื่องจะซ่อนอยู่ในเรื่องราว และบทสนทนาซึ่งความคิดหรือแก่นของเรื่องในละครมีอยู่มากมาย ดังตัวอย่างต่อไปนี้ 1) เรื่องการสูญเสียความรัก เช่น เรื่องคู่กรรม 2) เรื่องความขัดแย้งของญาติพี่น้อง เช่น เรื่องบ้านทรายทอง 3) เรื่องความรักถึงตาย เช่น เรื่องโรมิโอและจูเลียต 4) เรื่องการตัดสินผิด เช่น เรื่องเงาะป่า 5) เรื่องการติดตาม เช่น เรื่องมโนราห์ เรื่องพระรถเมรี 6) เรื่องการสืบสกุล เช่น เรื่องพระลอ 7) เรื่องการแข็งข้อหรือกบฏ เช่น เรื่องแฮมเลต 8) เรื่องศัตรูแอบรัก เช่น สวรรค์เบี่ยง 9) เรื่องชิงดีชิงเด่นระหว่างญาติ เช่น เรื่องริษยา 10)เรื่องฆาตกรรมในวงศ์ญาติ เช่น เรื่องเกี่ยวกับกษัตริย์โบราณ
  • 12. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 12 ดังนั้น ความคิดหรือแก่นของเรื่องจึงมีคุณค่าต่อจิตใจและสติปัญญาที่ผู้ชมสามารถนามา ปรับใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวันได้ 1.4บทสนทนา บทสนทนา คือ การใช้คาพูดในการแสดงละครด้วยการใช้ถ้อยคาอย่างมีศิลปะ ซึ่งบท สนทนานี้จะเป็นร้อยแก้วหรือร้อยกรองก็ได้ ซึ่งนักเขียนที่มีชื่อเสียงของโลกในอดีตหรือ นักเขียนบทละครของไทยก็นิยมเขียนบทละครเป็นบทร้อยกรอง เช่น เรื่อง เวนิสวานิช เป็นต้น แต่ละครในปัจจุบันจะใช้บทสนทนาที่เป็นร้อยแก้วซึ่งจะเหมือนกับคาพูดของคน ในปัจจุบัน ผู้เขียนบทละครที่ดีจะต้องเขียนได้ตรงตามประเภทของละคร ลักษณะนิสัยของตัว ละครเหตุการณ์ในแต่ละตอนของละคร และต้องมีความกระจ่าง เพื่อผู้ชมดูแล้วสามารถ ติดตามเรื่องได้และก็ไม่ยากหรือง่ายจนเกินไป สิ่งที่สาคัญที่สุดของบทสนทนา คือ การ แสดงถึงลักษณะนิสัยความคิด และอารมณ์ของตัวละครที่นาไปสู่การกระทาต่างๆของตัว ละครและมีผลต่อการดาเนินเรื่องราวของละคร
  • 13. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 13 ละครกับชีวิต ละครเป็นการแสดงที่เน้นการเลียนแบบพฤติกรรมหรือการกระทาของมนุษย์ มีความใกล้เคียงกับชีวิตและมีรูปแบบการนาเสนอที่เหมือนจริง ละครจึงเป็นสิ่งที่สะท้อน ภาพของชีวิตจริงและธรรมชาติของมนุษย์ได้ชัดเจนที่สุด ละครเป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่ แสดงถึงทัศนะ ปรัชญา ความคิด อารมณ์และความรู้สึก เหตุการณ์หรือสถานการณ์ ต่างๆที่เกิดขึ้นในสังคม ละครจึงสามารถเป็นตัวสะท้อนภาพของชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณีของคนในสังคมนั้นๆออกมาได้เหมือนกับความเป็นจริงมากที่สุด ซึ่งจุดมุ่งหมาย ของละครก็เพื่อตอบสนองความต้องการมนุษย์ 3 ด้าน คือ 1)ด้านอารมณ์ ละครมีจุดประสงค์ในการแสดงเพื่อให้ความบันเทิง ช่วยผ่อน คลายความตึงเครียด ทาให้มนุษย์มีความสุข มีสุขภาพจิตที่ดี และมีความกระตือรือร้น ในการดารงชีวิต 2ด้านสมอง ให้คุณค่าทางด้านสติปัญญา สามารถนาข้อคิดที่ได้จากการชม ละครมาปรับใช้ในการแก้ปัญญา 3)ด้านจิตใจ นอกจากละครจะให้คุณค่าทางด้านของความบันเทิงและแง่คิด แล้วละครยังมีความสัมพันธ์กับด้านจิตใจของมนุษย์มาเป็นเวลาช้านาน เห็นได้จากการ ละครของตะวันออกและตะวันตกที่มีกาเนิดมาจากการบวงสรวงเทพเจ้า ของพรเทพเจ้าให้ สมปรารถนา เป็นต้น ดังนั้น ละครจึงเป็นการแสดงที่จาลองมาจากชีวิตจริงของมนุษย์ โดยนาเอา ประสบการณ์ในชีวิตจริงมาผนวกกับจินตนาการแล้วสร้างสรรค์เป็นเรื่องราวที่สะท้อนภาพ ชีวิต และนาเสนอออกมาในรูปแบบต่างๆมีผู้แสดงเป็นผู้ถ่ายทอดเรื่องราวแก่ผู้ชม ซึ่งผู้ชม สามารถนาเอาสาระความรู้ที่ได้รับจากการชมละครมาปรับใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน ได้ การแสดงละครเวทีเฉลิมพระเกียรติฯ เป็นการแสดงที่สะท้อนให้เห็นถึงพระ มหากรุณาธิคุณที่พระองค์มีต่อประชาชนชาวไทย
  • 14. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 14 ความสาคัญและบทบาทของนาฏศิลป์ และการละครกับชีวิตประจาวัน นาฏศิลป์และการละครมีความสาคัญกับชีวิตประจาวันของมนุษย์มาโดยตลอด ตั้งแต่เกิดจนตาย จะเห็นได้จากเวลาคนเราเกิดมาในสมัยก่อนจะมีพิธีทาขวัญเดือน โกน ผมไฟ ซึ่งถือเป็นพิธีมงคล เมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มสาวก็จะมีพิธีโกนจุกเพื่อแสดงว่าเข้าสู่วัยหนุ่ม สาวแล้ว ชีวิตในช่วงต่างๆของคนไทย เช่น การอุปสมบท พิธีทาขวัญนาค การ แต่งงาน ขึ้นบ้านใหม่ และพิธีอื่นๆอีกมากมายล้วนมีนาฏศิลป์และการละครเข้ามา เกี่ยวข้องเสมอ 3.1 ความสาคัญของนาฏศิลป์ และการละคร นาฏศิลป์และการละครมีความสาคัญดังนี้ 1 แสดงถึงความเป็นอารยประเทศ เพราะศิลปะเป็นสิ่งที่มีคุณค่าต่อจิตใจของ มนุษย์ เป็นเครื่องโน้มน้าวอารมณ์ โดยเฉพาะการแสดงละครเป็นสิ่งที่ช่วยในการกล่อม เกลาจิตใจ ให้แง่คิดและให้กาลังใจในการที่จะสร้างความเจริญรุ่งเรืองในชาติสืบต่อไป 2 เป็นแหล่งรวมศิลปะแขนงต่างๆ เพราะศิลปะทุกแขนงนั้นมีความเชื่อมโยงเกี่ยว เนื่องกันทั้งสิ้น ได้แก่ (1) วรรณกรรม คือ การแต่งบทละคร บทร้อง (2) จิตรกรรม คือ การเขียนฉากละคร การแต่งหน้าตัวละคร (3) ประติมากรรม คือ การปั้น การหล่อ การสลักรูป เช่น ประดิษฐ์ ศิราภรณ์ต่างๆ (4) สถาปัตยกรรม คือ การสร้างเวที การสร้างฉาก (5) ดุริยางคศิลป์ คือ การบรรเลงดนตรี ขับร้อง การแสดงหุ่นละครหลวงเป็นการแสดงที่รวมศิลปะแขนงต่างๆ ได้แก่ วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และดุริยางคศิลป์ เป็นการแสดงที่มีความ สวยงามมาก
  • 15. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 15 3.2 บทบาทของนาฏศิลป์ และการละครกับชีวิตประจาวัน นาฏศิลป์และการละครเป็นกิจกรรมที่ปรากฏอยู่ในสังคมซึ่งมีความสัมพันธ์กับ ชีวิตประจาวันของเรา เช่น 1) การเล่านิทาน เป็นกิจกรรมที่มีลักษณะของการละครผสมอยู่เพราะเป็นเรื่อง ราวที่เล่าต่อๆกันมาหรือเป็นเรื่องของนิทานพื้นบ้าน ซึ่งบางครั้งอาจมีการแสดงท่าทางประกอบ ซึ่งอาจจะเปรียบได้ว่าผู้เล่าเป็นผู้แสดงที่สื่อสารเรื่องราวให้กับผู้ฟัง 2) การเลียนแบบ สามารถพบเห็นได้จากการสมมุติตนเองในการเล่นของเด็กๆ เช่น เล่นขายของ สมมุติตนเองเป็นพ่อค้า ลูกค้าที่มีการต่อรองราคาในการซื้อขายสินค้ากัน การละเล่นงูกินหาง สมมุติตนเองเป็นพ่องู แม่งู และลูกงู เป็นต้น ซึ่งการเล่นหรือการสร้าง สถานการณ์เช่นนี้มีลักษณะเหมือนกับการแสดงละคร ที่นักแสดงต้องเลียนแบบตัวละครแล้ว แสดงออกมาให้ผู้ชมได้รับรู้ 3) กิจกรรมเพื่อความบันเทิง เป็นการแสดงเพื่อผ่อนคลายความเครียด ความ เหนื่อยล้าจากการทางาน หรือเป็นการแสดงที่ใช้แสดงในงานเทศกาลต่างๆหรืองานบุญของ ไทยตั้งแต่อดีตเพื่อสร้างความบันเทิง ประชาชนนิยมเล่นการละเล่นพื้นบ้านที่เป็นการแสดง พื้นบ้าน ซึ่งกิจกรรมต่างๆเหล่านี้ล้วนมีความเกี่ยวข้องกับนาฏศิลป์และการละครทั้งสิ้น
  • 16. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 16 การอนุรักษ์นาฏศิลป์ และการละคร นาฏศิลป์ไทยเป็นศิลปวัฒนธรรมที่ถือว่าเป็นเอกลักษณ์ของชาติ มี คุณค่าต่อสังคมไทย ซึ่งจะเห็นได้จากการแสดงต่างๆ ที่สะท้อนให้เห็นถึงสภาพ สังคม วิถีการดาเนินชีวิตและภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ให้ เป็นมรดกของชาติ การอนุรักนาฏศิลป์ไทยนั้นถือว่าเป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนที่ จะต้องตระหนักถึงคุณค่าของงานนาฏศิลป์ที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์ขึ้นมาตั้งแต่ อดีตถึงปัจจุบัน อีกทั้งยังมีการจัดตั้งหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการช่วยส่งเสริมและ อนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย เช่น วิทยาลัยนาฏศิลป สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม กรมศิลปากร เป็นต้น คนไทยสามารถมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และสืบทอดนาฏศิลป์ไทยได้ดังนี้ 1)ปลูกฝังให้คนไทยทุกคนยึดถือว่าการอนุรักษ์และส่งเสริมนาฏศิลป์เป็น หน้าที่ของทุกคนในชาติ 2)ศึกษาถึงประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทยปละนาฏศิลป์ พื้นเมืองใน ท้องถิ่นของตนเอง 3)ตระหนักถึงความสาคัญของนาฏศิลป์ไทยที่มีต่อสังคมไทยและประเทศชาติ 4)ให้ความร่วมมือในการสนับสนุน เผยแพร่ อนุรักษ์ และให้ความร่วมมือ ในการเข้าร่วมชมและจัดกิจกรรมการแสดงนาฏศิลป์ไทย
  • 17. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 17 วิธีเลือกการแสดง 1 การแสดงนาฏศิลป์ไทยสามารถที่จะนามาจัดแสดงในโอกาสต่างๆโดยต้องคานึงถึงรูปแบบของงานว่า เป็นงานประเภทใด สถานที่มีความเหมาะสมเพียงใด ระยะเวลาที่กาหนดให้มีการจัดการแสดง และวัยของ ผู้ชม เพื่อที่จะสามารถจัดการแสดงได้เหมาะสมกับโอกาสนั้นๆ การแสดงนาฏศิลป์ไทย เป็นการแสดงที่มีทั้ง การแสดงเพื่องานมงคลและงานอวมงคล ซึ่งการแสดงแต่และประเภทจะต้องคานึงถึงลักษณะของงาน นาฏศิลป์ เป็นศิลปะคู่บ้านคู่เมืองที่นามาแสดงได้ทุกโอกาส ทั้งงานพระราชพิธี รัฐพิธี และ งาน ทั่วๆไปของเอกชน โดยงานพระราชพิธี และรัฐพิธี เป็นงานในหน้าที่ของกรมศิลปากรที่ต้องจัดการแสดงในโอกาส สาคัญๆ เช่น 1. งานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 5 ธันวามหาราช 2. งานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระบรมราชินีนาถ 12 สิงหาคม 3. งานพระราชพิธีพระราชทานเลี้ยงพระกระยาหารค่า พระราชอาคันตุกะในพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท และพระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร 4. งานวันปิยมหาราช 5. งานต้อนรับแขกของรัฐบาล ณ ทาเนียบรัฐบาล ซึ่งจัดเป็นประจา 6. งานเฉลิมฉลองวันสาคัญต่างๆ เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ เป็นต้น 7. การจัดแสดงเพื่อเผยแพร่ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ สาหรับพิธีราษฎร์ จัดการแสดงเนื่องในวันสาคัญต่างๆ เช่น วันครู วันเด็ก วันสุนทรภู่ วันสถาปนาลูกเสือแห่งชาติ วันลอยกระทง เป็นต้น หลักในการเลือกชุดการแสดงให้เหมาะสม 1) เลือกชุดแสดงให้เหมาะสมกับโอกาสที่แสดง ถ้าเป็นงานเฉลิมฉลองความสาเร็จ หรือเป็นงานวัน สถาปนาโรงเรียน วันเกิดบุคคลสาคัญ ก็ต้องเลือกชุดการแสดงที่เป็นการอานวยพร มอบความเป็น สิริมงคลให้มั่งมีศรีสุข เช่น ระบากฤดาภินิหาร ฟ้อนอวยพร เป็นต้น หรือแต่งเนื้อร้องขึ้นใหม่ให้ ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยกาหนดเนื้อหาของบทร้องให้ชัดเจนว่าการแสดงชุดนี้จัดขึ้นเพื่ออะไร หรือ เพื่อใคร มีเป้าหมายอย่างไร
  • 18. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 18 2) เลือกชุดการแสดงตามที่ผู้จัดต้องการ เช่น รูปแบบของการแสดง ผู้แสดงเครื่องแต่งกาย เวลาที่ใช้ ในกากรแสดง ขนาดของพื้นที่ในการแสดง งบประมาณ เพื่อให้เหมาะสมกับงานนั้นๆ 2 การเลือกรูปแบบการแสดงก็ต้องเป็นระบบ มีกฎเกณฑ์ถูกต้องตามแบบแผนโดยปฏิบัติดังนี้ 1. แต่งบทร้องให้ได้ใจความเหมาะสมกับงานนั้นๆ 2. ตีท่าราให้ตรงตามความหมายของบทร้อง มีการแปรแถว ตั้งซุ้มให้สัมพันธ์กับบทร้อง 3. ใส่ทานองเพลงให้ถูกต้องเหมาะสมกับเนื้อเพลง 4. ปี่พาทย์ทาทานองเพลง ผู้แสดงใช้ลีลาท่ารา และตีบทได้ถูกต้อง 5. ช่วงจบปี่พาทย์ทาเพลงรัว ผู้รากลับไปนาพานดอกไม้ออกมาโปรย อันเป็นสัญลักษณ์ ของการราอวยพร 6. คัดเลือกผู้แสดงที่มีความสามารถ มีฝีมือในการรา จานวนผู้แสดงและเครื่องแต่งกาย เหมาะสมสอดคล้องกับรูปแบบของการแสดงนั้นๆ การแสดงนาฏศิลป์และการละครของไทยในโอกาสต่างๆ การนาการแสดงนาฏศิลป์และการละครของไทยไปแสดงในโอกาสต่างๆ ต้องคานึงถึง รูปแบบของงานที่จัดว่าเป็นงานประเภทใด เช่น งานพระราชพิธี งานมงคล งานอวมงคล งานเทศกาลต่างๆ เป็นต้น และต้องคานึงสถานที่จัดการแสดงว่ามีบริเวณกว้างหรือแคบมากน้อยเพียงใด ระยะเวลาที่กาหนดให้มี การแสดง รวมทั้งวัยของผู้ชม เพื่อที่จะได้จัดการแสดงได้เหมาะสมกับโอกาสนั้นๆและถูกใจผู้ชม การแสดงนาฏศิลป์และการละครของไทยในงานพระราชพิธี งานพระราชพิธี คือ งานที่จัดเพื่อพระมหากษัตริย์และเชื้อพระวงศ์ เช่น งานสมโภช งานเฉลิม ฉลองสิริราชสมบัติ งานโสกันต์ เป็นต้น ซึ่งการแสดงนาฏศิลป์และการละครของไทยที่นามาจัดแสดงในงาน พระราชพิธีนั้นจะมีลักษณะแสดงที่มีแบบแผน ขนบธรรมเนียมประเพณีที่เคร่งครัดและความงดงามในท่าทาง การร่ายรา การแต่งกาย ความไพเราะของการขับร้องและการบรรเลงเพลงประกอบการแสดง เช่น การละเล่นของหลวง การแสดงละครใน การแสดงละครนอกแบบหลวง การแสดงโขน ซึ่งการแสดงโขนใน
  • 19. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 19 งานพระราชพิธีนั้นเรียกว่า โขนหลวง การแสดงหุ่นละครใหญ่หรือหุ่นละครหลวง และการแสดงรา ระบา แบบมาตรฐาน เป็นต้น การแสดงโขน ชุดทศกัณฑ์ รบพระราม การแสดงนาฏศิลป์และการละครของไทยในงานมงคลทั่วไป 3 งานมงคลทั่วไป เช่น งานทาบุญบ้าน งานวันเกิด งานปีใหม่ เป็นต้น จะนิยมนาการแสดงที่ สื่อความหมายถึงความเป็นสิริมงคล การแสดงที่มีความสนุกสนาน และใช้เวลาในการแสดงแต่ละชุดไม่นานจน ผู้ชมไม่รู้สึกเกิดความเบื่อหน่ายมาจัดแสดงให้แขกท่าในงานได้รับชม เช่น ราอวยพร ระบากฤดาภินิหาร ระบาเทพบันเทิง ระบาไกรลาศสาเริง ฟ้อนอวยพร เป็นต้น และการแสดงพื้นเมืองที่มีจังหวะสนุกสนาน เช่น การแสดงพื้นเมืองที่มีจังหวะสนุกสนาน เช่น การแสดงเซิ้งโปงลาง ระบาร่อนแร่ เป็นต้น ส่วนละคร ไทยไม่ค่อยนิยมนามาแสดงในงานมงคลทั่วไปเพราะเป็นการแสดงที่ใช้ระยะเวลาในการแสดงนาน ระบากฤดาภินิหาร (ระบามาตรฐาน)
  • 20. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 20 ระบาไตรรัตน์ (ราอวยพร) การแสดงนาฏศิลป์และการละครของไทยในงานอวมงคลทั่วไป 4 งานอวมงคลทั่วไป ได้แก่ งานศพ จะนิยมกากรแสดงที่สื่อความหมายถึงความโศกเศร้าเสียใจ หรือการแสดงที่มีจังหวะช้าๆมาจัดแสดงในงานเพื่อเป็นเกียรติให้แก่ผู้เสียชีวิต และให้แขกในงานได้รับชมเพื่อ สร้างความเพลิดเพลินและผ่อนคลายความเครียด เช่น รามโนราห์บูชายัญ ราพลายชุมพล ราฉุยฉายวันทอง ราฉุยฉายเบญกาย ราฉุยฉายพราหมณ์ ระบาโบราณคดี เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการนาการแสดงเป็นชุดเป็น ตอนมาจัดแสดง เช่น ราพระลอตามไก่ ราหนุมานจับนางเบญกาย และการแสดงโขน ซึ่งการแสดงโขนใน งานมงคลทั่วไปนั้นที่เรียกว่าการแสดง โขนหน้าไฟ จะนามาแสดงในตอน เช่น ตอนนางลอย ตอนสีดาหาย เป็นต้น
  • 21. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 21 ฉุยฉายวันทอง ราพลายชุมพล การแสดงชุดหนุมานจับนางสุพรรณมัจฉา การแสดงนาฏศิลป์และการละครของไทยในงานเทศกาลต่างๆ 5 งานเทศกาลของไทยนิยมจัดให้มีการแสดงนาฏศิลป์และการละครของไทยโดยได้รับการสนับสนุนจาก หน่วยงานภาครัฐและเอกชน เพื่อเป็นการสร้างความสนุกสนานให้ผู้ที่มาร่วมงานอีกทั้งเป็นการอนุรักษ์และสืบ สานนาฏศิลป์ไทย ซึ่งการแสดงนาฏศิลป์และการละครของไทยในงานเทศกาลต่างๆ ยังส่งผลดีต่อเศรษฐกิจ ด้านการท่องเที่ยว เนื่องจากชาวต่างชาตินิยมมาท่องเที่ยวในประเทศไทยช่วงเทศกาลต่างๆกันมาก เพราะ นอกจากจะได้ชมสถาปัตยกรรมต่างๆที่งดงามของไทยแล้ว ยังได้ชมศิลปะการแสดงของไทยที่ทุกภาคทั่วไทย ได้จัดขึ้นด้วย ซึ่งศิลปะการแสดงของไทยเป็นที่ชื่นชมของชาวต่างชาติเป็นอย่างมาก โดยการแสดงนาฏศิลป์ และการละครของไทยทุกประเภทสามารถนามาจัดแสดงในงานเทศกาลต่างๆ ได้อย่างไม่มีข้อจากัดแต่ต้อง เลือกเลือกนามาแสดงให้เหมาะกับเทศกาลนั้นๆ เช่น การแสดงระบาสุโขทัยในงานลอยกระทง รากลองยาว ในงานสงกรานต์ ฟ้อนเทียน ฟ้อนเล็บในงานสืบสานล้านนา เป็นต้น โดยส่วนใหญ่แล้วการแสดงพื้นเมือง ของภาคต่างๆจะนิยมนามาแสดงในงานเทศกาลต่างๆมากที่สุด
  • 22. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 22 ฟ้อนเทียน รากลองยาว (ภาคกลาง) ขั้นตอนการดำเนินการจัดการแสดง 6 1. การจัดการแสดงจาเป็นต้องแบ่งหน้าที่ผู้รับผิดชอบออกเป็นฝ่ายต่างๆเพื่อสะดวกในการจัดการแสดง ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ฝ่าย คือ ฝ่ายอานวยการแสดง ฝ่ายจัดการแสดง และฝ่ายธุรการ 2. คัดเลือกผู้แสดง ควรพิจารณาจากบุคลิกลักษณะของผู้แสดงให้มีความสอดคล้องกับบทบาทของตัว ละครนั้นๆ ถ้าเป็นการแสดงประเภทรา ระบา หรือฟ้อนต่างๆ ควรเลือกผู้แสดงที่มีรูปร่างลักษณะใกล้เคียง กัน เพื่อความสมดุลในการแสดง 3. เรียกประชุมเพื่อมอบหมายงานให้กับเจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างๆเพื่อเตรียมการของงานในส่วนต่างๆ เช่น
  • 23. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 23 มอบหมายเรื่องค่าใช้จ่ายต่างๆให้กับเจ้าหน้าที่ เหรัญญิก มอบหมายการจัดทาฉากให้กับเจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคนิค เป็นต้น 4. จัดการประชุมติดตามผลการทางานของแต่ละฝ่าย ซึ่งหัวหน้าจะเป็นผู้รายงานความคืบหน้าอุปสรรค และปัญหาต่างๆให้ผู้กากับการแสดงและหัวหน้าฝ่ายต่างๆรับรู้ และร่วมกันหาแนวทางแก้ไข 5. ฝึกซ้อมการแสดง จะมีการกาหนดการซ้อมย่อยและซ้อมใหญ่ 6. จัดการแสดงจริง เป็นขั้นตอนที่มีความสาคัญมากที่สุด เพราะทุกฝ่ายจะต้องทาหน้าที่ของตนเอง อย่างเต็มความสามารถ เพราะถ้าหากมีปัญหาใดๆเกิดขึ้นทุกฝ่ายจะต้องขอคาแนะนาจากผู้กากับการแสดง 7. การสรุปและประเมินผลการแสดง เป็นขั้นตอนสุดท้ายที่ทุกฝ่ายจะมาประชุมสรุปและประเมินผลการ จัดการแสดง และนาข้อมูลที่ได้มาปรับปรุงแก้ไขให้ดียิ่งขึ้นสาหรับการจัดการแสดงในครั้งต่อไป ขั้นตอนการแสดง 7 1).เลือกการแสดงที่จะใช้ในงาน เป็นการเลือกรูปแบบการแสดงให้มีความเหมาะสมกับงาน 2).จัดหาสถานที่ในการแสดง ในการจัดการแสดงควรคานึงถึงสถานที่แสดงเพื่อให้สามารถจัดการแสดงได้ เหมาะสม สามารถจัดรูปแบบการแสดงได้สมบูรณ์ ผู้ชมได้รับความเพลิดเพลินในการชมการแสดง
  • 24. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 24 3).แบ่งหน้าที่ในการทำงาน ในการจัดการแสดงแต่ละครั้งจะต้องมีการแบ่งหน้าที่ในการทางานในแต่ละฝ่าย เพื่อให้สามารถสร้างสรรค์งานได้อย่างสมบูรณ์ ซึ่งในการทางานแต่ละฝ่ายจะต้องมีความสามัคคีกันเพื่อให้การ แสดงสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี 4).ฝึกซ้อมการแสดง ในการจัดการแสดงแต่ละการแสดงจะต้องมีการฝึกซ้อมการแสดง เพื่อให้แสดงได้ถูกต้อง และไม่เกิดความผิดพลาดขณะทาการแสดงจริง 5).จัดการแสดงจริง เป็นการจัดแสดงจริงในวันแสดงจริง ซึ่งทุกฝ่ายต้องมีความพร้อมในการจัดการแสดง และมีฝ่ายต้อนรับผู้ชมในการนาผู้ชมเข้าสู่สถานที่แสดงด้วย 6).จัดเก็บอุปกรณ์และสถานที่หลังเลิกแสดง เมื่อจัดการแสดงเรียบร้อยแล้วทุกคนจะต้องร่วมมือกันจัดเก็บ อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงและทาความสะอาดสถานที่จัดการแสดงให้เรียบร้อย 8ช่วยให้ผู้แสดงมีความ กล้าแสดงออก ทำให้เกิดความสามัคคี ร่วม แรงร่วมใจในการทำงาน ทำงาน เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการคิดการแสดง
  • 25. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 25 การออกแบบและสร้างอุปกรณ์ ประโยชน์และคุณค่า ของการแสดง ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ช่วยผ่อนคลายความ ตึงเครียด รู้จักคิดวิเคราะห์ วิจารณ์การ แสดงอย่างมีเหตุผล สามารถนำไปบูรณาการกับ กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นได้ ช่วยอนุรักษ์และสืบทอด ศิลปวัฒนธรรมของชาติ
  • 26. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 26 การออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณ์และเครื่องแต่งกายเพื่อการแสดงนาฏศิลป์นั้น เป็นสิ่งที่ทาให้การ แสดงมีความสวยงามน่าสนใจ ซึ่งการออกแบบและสร้างสรรค์มีหลักและขั้นตอนดังนี้ 7.ประเมินผล หลังจากปรับปรุงแก้ไขแล้ว ก็ นามาประเมินผลว่าใช้งานได้ดีหรือไม่ สวยงาม น่าสนใจหรือไม่ ต้นทุนสูงหรือไม่ 6.การปรับปรุงแก้ไข หลังจากทดสอบ แล้วพบข้อบกพร่องก็ทาการปรับปรุง แก้ไข โดยอาจเลือกวีการใหม่ 5.ทดสอบ เป็นการนาสิ่งประดิษฐ์นั้น มาทดสอบว่าใช้งานได้หรือไม่ ถ้ายัง ไม่ได้จะได้นาไปสู่ขั้นตอนการปรับปรุง 2.รวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหา หรือสนองความต้องการ คือ การเก็บ รวบรวมข้อมูลและความรู้เกี่ยวกับปัญหา หรือความต้องการเพื่อหาวิธีการที่เหมาะสม เช่น หาวิธีการสร้างสรรค์ ออกแบบอุปกรณ์ การแสดงจากแหล่งข้อมูลต่างๆ 1.กำหนดปัญหาหรือความต้องการ คือ ทา ความเข้าใจปัญหานั้นๆอย่างละเอียดหรือ กาหนดขอบเขต ระบุความต้องการให้ ชัดเจน เช่น จะสร้างสรรค์การแสดงอะไร โดยระบุการแสดงให้ชัดเจน 4.ออกแบบและปฏิบัติการ ขั้นตอนนี้ เป็นการให้นักเรียนรู้จักคิดออกแบบ เพื่อนาไปสู่การลงมือทาสิ่งที่ออกแบบไว้ 3.เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความ ต้องการ ในขั้นตอนนี้เป็นการตัดสินใจโดยการ เลือกวิธีการแก้ปัญหาว่าจะใช้วิธีใด เพื่อให้สะดวก รวดเร็วและให้สอดคล้องกับทรัพยากรที่มีอยู่ เช่น จะออกแบบอุปกรณ์การแสดงด้วยวิธีใด และเป็นการ ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า
  • 27. รูปแบบการแสดง พนมพร ชินชนะ [พิมพ์ข้อความ] หน้า 27 อ้างอิง ดุษฎี มีป้อม . นิลวรรณ ถมังรักษ์สัตว์ คู่มือการสอน เพื่อครูผู้สอน ดนตรี – นาฏศิลป์ ม.3 วัฒนาพานิช วพ สาราษราษฎร์ ราศิยส วงศ์ศิลปะกุล . ศิริรัตน์ วุฐสกุล ดนตรี – นาฏศิลป์ ม.3 สถาบันพัฒนาคุณภาพ วิชาการ (พว.) สุมามาลย์ นิ่มเนติพันธ์ และคณะ ดนตรี – นาฏศิลป์ ม.3 อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด