SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 69
พัฒนาการทางการเมือง [email_address] ดร . ณรงค์ บุญสวยขวัญ
ลักษณะของการเมือง He  who is unable  to  live  in  society , or  who has no need  because  he is  sufficient  for  himself  ,  must be  either  a beast  or a God  Aristotle , Politics I
การเมืองกับความหมาย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
อำนาจทางการเมือง   อำนาจทางสังคมชนิดหนึ่งที่ใช้   เพื่อวัตถุประสงค์ทางการเมือง    โดยมี สถาบันต่างๆของรัฐบาล    และมี ประชาชนสนับสนุน   คัดค้าน อำนาจการเมือง  คือ
วัตถุประสงค์ทางการเมือง / หน้าที่ของรัฐ วัตถุประสงค์ทางการเมือง  /  หน้าที่ของรัฐ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ธรรมชาติของอำนาจการเมือง แนว  I   :  เน้นที่ประชาชน พลเมือง   โดยเน้นว่าอำนาจการเมืองเป็นของประชาชน    จึงเป็นสิทธิของประชาชนที่ตั้งใจ  D / M    ในการคัดค้านและสนับสนุนรัฐบาล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
รากฐานสังคมของอำนาจการเมือง อำนาจของ   Governern  มิใช่มาจากตัวเขา แหล่งอำนาจมาจากนอกตัวเขา ก .  แหล่งที่มาของอำนาจ 1 .  Authority 2 .  Knowledge IT 3 .  Rewards 4 .  Material  5 .  Sanction / coersive 6 .  ควบคุมกำลังคน 7 .  Reference ข .  ที่มาแห่งอำนาจ  base - on  การยินยอมเชื่อฟัง ลัทธิ การสั่งการ ลัทธิ การเมือง เชื่อฟัง
รากฐานสังคมของอำนาจการเมือง ค .   การตัดสินใจเชื่อฟัง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การเมืองแบบทางการ การเมืองเชิงสถาบัน พื้นที่การเมืองที่เน้นที่ดำเนินกิจกรรมที่รัฐสภา  ,  ทำเนียบรัฐบาล  ,  หน่วยงานของรัฐ ,  บุคคลทางการเมืองหรือตัวกระทำหรือตัวละครทางการเมืองจำกัดเฉพาะกลุ่ม หรือกลุ่มคนที่ดำเนินกิจกรรมตามพรรคการเมือง  รัฐธรรมนูญ  ,  กิจกรรมทางการเมือง  ออกกฎหมาย  จัดทำนโยบาย  รักษากฎหมาย  เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมกับทุกคน การแข่งขัน  ,  แย่งชิงอำนาจการเมือง  ,  ใครได้อำนาจการเมือง เท่ากับได้อำนาจรัฐ
การเมืองแบบธรรมชาติ  การเมืองในเชิงอันตกิริยาทางสังคม   เป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ของประชาชนในสังคมการเมือง  ,  เป็นธรรมชาติในชีวิตจริง และสัมพันธ์กับอำนาจต่างๆมากมาย  เพียงแต่ไม่เน้นการแย่งชิงอำนาจหรือตำแหน่งทางการเมือง  แต่ต้องการร่วมคิด ตัดสินใจ ดังนั้น  พื้นที่ทางการเมือง  อยู่ในชุมชนหมู่บ้าน ทุกๆสถานที่  ,  บุคคลหรือตัวกระทำทางการเมือง  คนที่เป็นพลเมืองและ  กิจกรรมทางการเมือง   กิจการที่เป็นผลต่อชุมชน  เรื่องขยะ ยาเสพติด โจรโขมย  วัด ทางน้ำ
พื้นที่ทางการเมือง คืออะไร ,[object Object],[object Object]
มุมมองหรือวิธีมองหรือการทำความเข้าใจ อำนาจทางการเมืองเป็นอำนาจสังคม  หมายถึง อำนาจของสมาชิกในสังคม หรือเป็นอำนาจที่มีจากการยอมรัจากสมาชิกหรือประชาชน จึงจะมีการเชื่อฟัง  ( obey )  การได้อำนาจต้องให้ประชาชนยอมรับเสียก่อน  หากประชาชนไม่ยอมรับ เขาก็ไม่เชื่อฟัง  ( Disobedience )  เท่ากับเป็นการปฏิเสธอำนาจทางการเมือง เพราะมาจากการใช้อำนาจก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรม อำนาจ การเมือง การยอมรับ จึงเชื่อฟัง อำนาจ สังคม
ผู้กระทำ หรือ ตัวละครทางการเมือง ดูเป้าหมาย การเมืองเพื่อใคร ดูจำนวนคนว่า ใช้อำนาจทาง การเมืองกี่คน ผู้กระทำหรือ ตัวละครทางการเมือง
มุมมองหรือวิธีมองหรือการทำความเข้าใจ การเมืองการปกครอง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
พื้นฐานของการเมืองไทย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],พื้นฐานของการเมืองไทย
พลังศาสนาที่ส่งผลต่อสังคมการเมือง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
คำสอนศาสนาพุทธ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
คำสอนศาสนาพุทธ  ( ต่อ ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ศาสนาพราหมณ์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ศาสนาพราหมณ์  ( ต่อ ) เกิดพิธีกรรมตามมา
ศาสนาพราหมณ์  ( ลัทธิไศวนิกาย )  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เกิดเป็นศูนย์กลางที่ศักดิ์สิทธิ์ นำไปสู่ชุมชน เมือง และได้อำนาจการเมือง โดยมีเมืองอื่นๆ เป็นเครือข่าย เพราะความศักดิ์สิทธิ์เหล่านั้น
ตัวอย่าง  Mandala  หรืออาณาจักรตามพรลิงค์   นคร  ไทรบุรี ปาหัง พัทลุง ภูเก็ต บันทายสมอ ชุมพร ตะกั่วป่า ไชยยา สงขลา สทิงพระ ตรัง ปัตตานี ตัวอย่าง  Mandala  หรืออาณาจักรตามพรลิงค์  หมายถึง การดำรงอยู่ของชุมชนการเมืองภายใต้โครงสร้างความคิดความเชื่อ ความศักดิ์สิทธิ์เดียวกัน  อันมี  พระบรมธาตุ หรือ ตีรถะ
ตัวอย่าง  Mandala  หรืออาณาจักรตามพรลิงค์
ส่งผลคุณลักษณะประจำตัวของผู้คนแถบภาคใต้ ส่งผลคุณลักษณะประจำตัวของผู้คนแถบภาคใต้ และนครศรีธรรมราช อย่างไร อภิปราย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ชาติพันธ์ กับสังคมการเมือง ,[object Object],[object Object],[object Object]
สภาพภูมิประเทศกับ กับสังคมการเมือง ตัวอย่างพื้นที่ต่างๆ ถูกใช้และก่อเกิดวิถีชีวิตที่แตกต่างกัน
สภาพภูมิประเทศกับ กับสังคมการเมือง ตัวอย่างการเป็นพื้นที่เชื่อมต่อกับรัฐอื่นทางตอนใต้ของไทย จุดเชื่อมหลายจุด จึงมีสภาพเป็นจุด เชื่อมโลกตะวันตก และโลกตะวันออก พร้อมๆกับเป็น ประตูการค้า แลก เปลี่ยนวัฒนธรรม
ความสัมพันธ์กับชุมชนการเมืองอื่นๆ ความสัมพันธ์กับชุมชนการเมืองอื่นๆกับสังคมการเมือง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ศาสนากับการเมืองไทย ธรรม ราชา การเมืองแบบเทวราชา  จุดเด่นอยู่พระมหากษัตริย์ คือเทวดาหรือพระนารายณ์อวตาลลงมาเกิด  ,  มีความใกล้ชิดกับราษฎรน้อย  , มีพิธีกรรมมาก  , มีระบบราชการรวมศูนย์  ,  มีระบบศักดินาทำหน้าควบคุมและจัดความสัมพันธ์ เทวราชา การเมืองแบบธรรมราชา  จุดเด่นอยู่ที่ศีลธรรมของผู้ปกครอง ทศพิธราชธรรม ตามหลักพุทธศาสนา  ,  สิทธิของกษัตริย์ขึ้นอยู่กับกรรม  ( ดี ) ,  มีความเมตตาและอยู่ใกล้ชิดกับผู้ใต้ปกครอง
การเมืองการปกครองไทย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ประวัติศาสตร์ไทย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ช่วงแรกก่อนประวัติศาสตร์ไทยถึงปลายสมัยสุโขทัย ประชาชน ผู้นำทาง การเมือง ตัวละครทางการเมือง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ลักษณะหน่วยพื้นฐานพื้นฐาน บ้าน  / หย่อมบ้าน เจริญเติบโตในลุ่มน้ำ เป็นชุมชนการเมืองที่เป็นอิสระ  City -state  และสัมพันธ์แบบเครือข่าย
ช่วงแรกก่อนประวัติศาสตร์ไทยถึงปลายสมัยสุโขทัย ลักษณะการเมืองแบบนี้มีใช้นิยามได้ด้วยคำว่ารัฐสมัยใหม่ ซึ่งอธิบายว่า รัฐมีองค์ประกอบ  ดังต่อไปนี้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เหล่านี้ คือองค์ประกอบรัฐสมัยใหม่  เป็นรัฐชาติ  ( Nation state )
ช่วงสองการเมืองแบบศักดินา   ช่วงสองการเมืองแบบศักดินา ปลายสุโขทัยถึงต้นรัตนโกสินทร์ หรือการเมืองที่อยู่ในช่วงเวลาส่วนใหญ่ของอยุธยา ตัวกระทำ หรือตัวละครทางการเมือง พระมหากษัตริย์ ขุนนาง ไพร่   /   ทาส ระบบศักดินา ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สถานภาพที่แตกต่างกันของตัวกระทำทางการเมือง กษัตริย์ เป็นผู้ที่ดำรงสถานภาพด้วยการสถาปนาว่าเป็นเหมือนหรือตัวแทนสมมุติเทพ มีการแย่งชิงอำนาจระหว่างกันบ่อยครั้ง เป็นขุนศึก หรือข้าราชการ ที่เป็นเครื่องมือ อยู่ภายใต้อุปถัมป์ของกษัตริย์มีความจงรักภักดี มีการเลื่อนชั้น และมีการระดมหรือเกณฑ์ผู้คน ไพร่จำนวนมาก ขุนนาง ประกอบด้วยไพร่สม  ไพร่หลวง  ไพร่ส่วย เป็นผู้ถูกกระทำ มีอิสระสิทธิ์เสรีภาพค่อนข้างจำกัดมากๆ ถูกครอบงำ ควบคุมโดย ขุนนาง และ กษัตริย์  ด้วยการใช้อุดมการณ์ศาสนา  แต่สามารถเลือนชั้นทางสังคมได้ตามศักยภาพ ไพร่
รูปแบบอุปถัมภ์
รูปแบบอุปถัมภ์ นาย ช .
รูปแบบอุปถัมภ์
ลักษณะความสัมพันธ์แบบอุปถัมป์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ลักษณะความสัมพันธ์แบบอุปถัมป์
ส่งผลต่อการเมืองเศรษฐกิจและสังคมของอยุธยา ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตัวกระทำทางการค้า สมัยอยุธยา  หรือศักดินา ราชสำนัก สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ขุนนาง ฝรั่ง  ชาวจีน
ช่วงสาม การเมืองแบบจักรวรรดินิยม   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การเปลี่ยนแปลงการเมือง เหตุผลเปลี่ยนแปลงการเมืองเพื่อสร้างชาติ  เพราะมี  2   ปัจจัย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ส่งผล ปัญหาเอกภาพการบริหาร ความขัดแย้ง ความรับผิดชอบ สวัสดิภาพของประชาชน ประสิทธิภาพการเก็บรายได้
ผลการปฏิรูป ภายนอก ปรับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่เคยเน้นความสัมพันธ์แบบอยู่รอด ไปสู่ความสัมพันธ์กับมหาอำนาจ ภายใน ปรับปรุงระบบการปกครองหัวเมืองและการจัดเก็บรายได้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],มีระบบบริหารราชการแผ่นดิน ผูกขาดอธิปัตย์ ไม่ให้ตัวแทน
ช่วงที่สี่  การสร้างความเป็นประชาธิปไตย Characters  of Democracy ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ช่วงสี่ การเมืองหลังการเปลี่ยนแปลง ช่วงสี่ การเมืองหลังการเปลี่ยนแปลงเป็นประชาธิปไตย  2475 พระมหากษัตริย์ อำมาตยาธิปไตย ประชาชน รัฐธรรมนูญ ปฎิวัติ รัฐบาล เลือกตั้ง
การพระราชทานรัฐธรรมนูญ  2475  ให้คณะราษฏร์ พระราชทานรัฐธรรมนูญ  2475  ให้คณะราษฏร์
การพลัดเปลี่ยนอำนาจ เป็นการพลัดเปลี่ยนมือของผู้ใช้อำนาจจากพระมหากษัตริย์มาสู่ขุนนางหรือข้าราชการ  ประชาชนยังมีส่วนร่วมทางการเมืองต่ำ  สิทธิ์ทางการเมืองมีเพียงแค่การออกเสียงเลือกตั้งเท่านั้น  อำนาจทางการเมือง และอำนาจการบริหารหรืออำนาจระบบราชการจำกัดอยู่ในมือกลุ่มขุนนางเพียงกลุ่มเดียวที่ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนผ่านการแย่งชิงขึ้นมาสู่การกุมอำนาจทางการเมือง  และมีการเลือกตั้งเป็นเครื่องบ่งชี้ว่าเป็นประชาธิปไตย แต่ผู้บริหารมิได้มาจากการเลือกตั้ง กลับตรงกันข้ามเป็นข้าราชการหรือขุนนาง นี้คือ อำมาตยาธิปไตย  (Bureaucratic  Polity)
นักปฏิวัติ  นักการทหารและนักการเมือง จอมพล ป . พิบูลสงคราม
ประชาธิปไตยแบบไทยๆ ประชาธิปไตยแบบไทยๆ  เริ่มแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ครั้งแรก เขื่อนภูมิพล
ประชาธิปไตยแบบไทยๆ ประชาธิปไตยแบบไทยๆ  เริ่มแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ครั้งแรก เขื่อนชัยนาท
ประชาธิปไตยแบบไทยๆ ภาพการดระโดร่ม
จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ประชาธิปไตยแบบไทยๆ
กลุ่มอำมาตยาธิปไตย  มิได้ใช้อำนาจแค่อำนาจการเมืองการบริหาร  แต่คงเริ่มผนวกเข้าสู่อำนาจทางธุรกิจมากขึ้น  ,  พร้อมๆกับดำเนินนโยบายต่างประเทศตามความผันผวนของการเมืองโลก เช่น สงครามโลกครั้งที่สอง  ,  สงครามเย็น ดังนั้น  “ การพัฒนา ”  ( Developmental )  จึงเป็นไปตามการชี้นำของสหรัฐอเมริกา อุดมการณ์การพัฒนานิยม  กลายเป็นเงื่อนไขสำคัญทางการการบริหารและเศรษฐกิจซึ่งทุกคนสามารถเข้าถึง  ผ่านการวางแผนพัฒนา   (planned development)  โดยบทบาทของราชการ มากกว่าการเมืองหรือการเมืองปิดกั้นโอกาส  ทำให้ราชการแทรกแซงสังคมอย่างรุนแรง ประชาธิปไตยแบบไทยๆ
ประชาธิปไตยแบบไทยๆ ในช่วงนี้จึงมีความพยายามต่อสู้ระหว่างคณะบุคคลหรือบุคคลที่ พยามาใช้อำนาจเหนือรัฐ และใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือแสวงหาผลประโยชน์ ประการหนึ่ง ,  แต่พลังทางเศรษฐกิจที่เติบโตขึ้น ประการหนึ่ง  ,  การพัฒนาความเป็นพลเมืองผ่านระบบการศึกษา ประการหนึ่ง  ,  การที่สังคมการเมืองไทยไม่ได้เปลี่ยนแปลงระบบการเมือง และปรากฏการณ์การเมืองไม่รุนแรงและฉับพลันหรือมิได้เปลี่ยนแปลงในความหมาย “การปฏิวัติ”  แต่เป็นการแย่งชิงอำนาจการเมืองในระบบเดิม  ( ประชาธิปไตย + กษัตริย์เป็นประมุข )  ประการหนึ่ง  , การมีพระกษัตริย์เป็นหลักในการแก้ไขปัญหาของสังคมในครั้งสำคัญๆ ประการหนึ่ง ในทัศนะนี้ คือ การสร้างความเป็นประชาธิปไตย  (Democratization)
ประชาธิปไตยแบบไทยๆ นายกรัฐมนตรี ที่ทำการปฏิวัติตัวเอง จนนักศึกษาเคลื่อนไหวเรียกร้องรัฐธรรมนูญ  14  ตุลาคม  2516  ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี หรืออำนาจบริหารจัดการกับการเคลื่อนไหวทางการเมือง ภาพชุมนุมเรียกร้อง  14  ตุลาคม
ภาพชุมนุมเรียกร้อง  14  ตุลาคม ประชาธิปไตยแบบไทยๆ
ประชาธิปไตยแบบไทยๆ ภาพชุมนุมเรียกร้อง  14  ตุลาคม
ประชาธิปไตยแบบไทยๆ ภาพชุมนุมเรียกร้อง  14  ตุลาคม
นายยกพระราชทาน นายสัญญา ธรรมศักดิ์
ประชาธิปไตยแบบไทยๆ เปรม ตินสูลานนท์   พรรคธรรมสังคม พรรคประชาธิปัตย์ พรรคกิจสังคม พรรคชาติไทย
ประชาธิปไตยแบบไทยๆ พลเอกเปรม ตินสูลานนท์  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ประชาธิปไตยแบบไทยๆ การต่อสู้ระหว่างคณะบุคคล , บุคคลที่อยู่เหนืออำนาจเหนือรัฐ และใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือ ความเติบโตทางเศรษฐกิจ ผลของระบบการศึกษา ระบบการเมืองไม่เปลี่ยนรุนแรงและฉับพลัน พระกษัตริย์เป็นหลักในการแก้ปัญหา Democratization ตัวกระทำ  :  ความชอบธรรม ตัวกระทำ  :  ประสิทธิภาพ ตัวกระทำทางการเมืองนอกราชการ
ช่วงห้า การเมืองยุคการจรรโลงประชาธิปไตย ช่วงห้า การเมืองยุคการจรรโลงประชาธิปไตย Democracy consolidation
พลเอกชาติชาย ,[object Object],[object Object],ช่วงห้า การเมืองยุคการจรรโลงประชาธิปไตย
ช่วงห้า การเมืองยุคการจรรโลงประชาธิปไตย ภาพเหตุการณ์ วันพฤษภาทมิฬ พลเอก   สุจินดา คราประยูร พลตรีจำลอง ศรีเมือง
ช่วงห้า การเมืองยุคการจรรโลงประชาธิปไตย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],นายชวน หลีกภัย
ช่วงห้า การเมืองยุคการจรรโลงประชาธิปไตย นายบรรหาร ศิลปอาชา
ช่วงห้า การเมืองยุคการจรรโลงประชาธิปไตย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ทักษิณ ชินวัตร

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)Weera Wongsatjachock
 
ความดี
ความดีความดี
ความดีroh1109
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗นายจักราวุธ คำทวี
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมรายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมNanthapong Sornkaew
 

Mais procurados (14)

8.2
8.28.2
8.2
 
8.3
8.38.3
8.3
 
8.1
8.18.1
8.1
 
8.4
8.48.4
8.4
 
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
 
ธรรมชาติ
ธรรมชาติธรรมชาติ
ธรรมชาติ
 
123456
123456123456
123456
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
Lesson2 bp
Lesson2 bpLesson2 bp
Lesson2 bp
 
รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมรายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
 
ข้อสอบO-NET
ข้อสอบO-NETข้อสอบO-NET
ข้อสอบO-NET
 

Semelhante a พัฒนาทางการเมือง

Lesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsLesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsKatawutPK
 
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทยYaowaluk Chaobanpho
 
En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1Yota Bhikkhu
 
Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองbunchai
 
ปรัชญาการ..
ปรัชญาการ..ปรัชญาการ..
ปรัชญาการ..kruruty
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรDental Faculty,Phayao University.
 
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยพัน พัน
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateKatawutPK
 
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-599. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59Taraya Srivilas
 
People Politic
People PoliticPeople Politic
People Politicpailinsarn
 
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯTaraya Srivilas
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองPoramate Minsiri
 
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนTaraya Srivilas
 

Semelhante a พัฒนาทางการเมือง (20)

Soc
SocSoc
Soc
 
Lesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutionsLesson 4 constitutional political institutions
Lesson 4 constitutional political institutions
 
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
 
สรุปคำบรรยายหลังเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายหลังเรียน (ผศ.พิมล)สรุปคำบรรยายหลังเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายหลังเรียน (ผศ.พิมล)
 
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
 
En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1
 
Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมือง
 
ปรัชญาการ..
ปรัชญาการ..ปรัชญาการ..
ปรัชญาการ..
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
 
ส่งงานค่ะ ~
ส่งงานค่ะ ~ ส่งงานค่ะ ~
ส่งงานค่ะ ~
 
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
 
Lesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the stateLesson 1 introduction to the state
Lesson 1 introduction to the state
 
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-599. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
 
People Politic
People PoliticPeople Politic
People Politic
 
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
 

พัฒนาทางการเมือง