SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 32
Baixar para ler offline
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
      จัดเป็นความสัมพันธ์ทางชีวภาพ ได้แก่ พืช สัตว์
       และจุลินทรีย์ต่างๆ ที่เป็นสิ่งมีชีวิต โดยแต่ละชนิดก็จะ      ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ แบ่ง
       มีความสัมพันธ์ต่อกัน                                         ออกเป็น 2 ลักษณะคือ
                                                                    1. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน
                                                                    2. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกัน

                                                                   เพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจ จึงมีการใช้เครื่องหมาย
                                                                    ต่อไปนี้แสดง ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่
                                                                    อาศัยรวมกัน
                                                                    + หมายถึง การได้ประโยชน์จากอีกฝ่ายหนึ่ง
                                                                    - หมายถึง การเสียประโยชน์ให้อีกฝ่ายหนึ่ง
                                                                    0 หมายถึง การไม่ได้ประโยชน์ แต่ก็ไม่เสียประโยชน์

                                                                   ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแบ่งได้
                                                                    เป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ
การได้รับประโยชน์ร่วมกัน

      การได้รับประโยชน์ร่วมกัน (Mutualism) เป็นการอยู่รวมกันของ  ่
       สิ่งมีชีวิต 2 ชนิดทีได้ประโยชน์ด้วยกันทั้งสองชนิด ใช้สัญลักษณ์ +, + เช่น
                           ่
แมลงกับดอกไม้
แมลงดูดน้้าหวานจากดอกไม้เป็นอาหาร และดอกไม้ก็มีแมลงช่วยผสมเกสร
นกเอี้ยงกับควาย
นกเอี้ยงได้กินแมลงต่าง ๆ จากหลังควาย และควายก็ได้นกเอี้ยงช่วยก้าจัด
แมลงที่มาก่อความร้าคาญ
มดดากับเพลี้ย
เพลี้ยได้รับประโยชน์ในการที่มดด้าพาไปดูดน้้าเลี้ยงที่ต้นไม้ และมดด้าก็จะ
ได้รับน้้าหวาน
ปูเสฉวนกับดอกไม้ทะเล (Sea anemore)
ปูเสฉวนอาศัยดอกไม้ทะเลพรางตัวจากศัตรูและยังอาศัยเข็มพิษจาก
ดอกไม้ทะเล ป้องกันศัตรู ส่วนดอกไม้ทะเลก็ได้รับอาหารจากปูเสฉวนที่
ก้าลังกินอาหารด้วย
ไลเคน (Lichen)

คือ การด้ารงชีวิตร่วมกัน
ของรากับสาหร่าย ซึ่งเป็น
การอยู่แบบที่สิ่งมีชีวิตทั้ง 2
ชนิดต่างก็ได้รับประโยชน์
สาหร่ายมีสีเขียวสร้าง
อาหารเองได้โดย
กระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงแต่ต้อง อาศัย
ความชื้นจากรา ส่วนรา
ได้รับธาตุอาหารจาก
สาหร่าย ได้แก่ ไนโตรเจน
จากการตรึง
ไนโตรเจน นอกจากนั้นรา
บางชนิดอาจสร้างสาร
พิษ ซึ่งป้องกันไม่ให้สัตว์
อื่นกินไลเคนเป็น
อาหาร และรายังสร้าง
กรดช่วยใน การละลายหิน
และเปลือกไม้ ช่วยในการ
ละลายหินและเปลือก
ไม้ ท้าให้ไลเคนดูด ซับ
ธาตุอาหารได้ดี
แบคทีเรียไรโซเบียม (Rhizobium) ในปมรากพืชวงศ์ถั่ว
ตรึงไนโตรเจนจากอากาศให้แก่รากถัว ในขณะเดียวกันแบคทีเรียก็ได้รับ
                               ่
ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์และแร่ธาตุจากต้นถั่ว
โปรโตซัวในลาไส้ปลวก
ปลวกไม่มีน้าย่อยส้าหรับย่อยเซลลูโลสในเนื้อไม้ โปรโตซัวช่วยในการย่อย
จนท้าให้ปลวกสามารถกินไม้ได้ และโปรโตรซัวก็ได้รบสารอาหารจากการ
                                                ั
ย่อยสลายเซลลูโลสด้วย
แบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในสาไส้ใหญ่ของคน
แบคทีเรียได้รับอาหารและที่อยูอาศัยจากล้าไส้ของคน ส่วนคนจะได้รับ
                             ่
วิตามินบี 12 จากแบคทีเรีย
ภาวะอิงอาศัยหรือภาวะเกื้อกูล

      ภาวะอิงอาศัยหรือภาวะ
       เกื้อกูล (commensalism) เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่ง
       มีชีวิตโดยที่ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ ส่วนอีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้
       ประโยชน์แต่ก็ไม่เสียประโยชน์ (+,0) เช่น
ปลาฉลามกับเหาฉลาม
เหาฉลามอาศัยอยู่ใกล้ตัวปลาฉลามและกินเศษอาหารจากปลาฉลาม ซึ่ง
ปลาฉลามจะไม่ได้ประโยชน์ แต่ก็ไม่เสียประโยชน์
พลูด่างกับต้นไม้ใหญ่
พลูด่างอาศัยร่มเงาและความชืนจากต้นไม้โดยต้นไม้ไม่ได้ประโยชน์แต่ขณะ
                             ้
เดียว กันก็ไม่เสียประโยชน์อะไร
กล้วยไม้กับต้นไม้ใหญ่
กล้วยไม้ยึดเกาะที่ล้าต้นหรือกิ่งของต้นไม้ซึ่งได้รับความชื้นและแร่ธาตุจาก
ต้นไม้ โดยที่ต้นไม้ไม่ได้รับประโยชน์ แต่ก็ไม่เสียประโยชน์อะไร
เพรียงที่อาศัยเกาะบนผิวหนังของวาฬเพื่อหาอาหาร
วาฬไม่ได้ประโยชน์ แต่ก็ไม่เสียประโยชน์
ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์และอีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์
      ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์และอีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ ใช้สัญลักษณ์ +, - ซึ่ง
       แบ่งเป็น 2 แบบ คือ

                      ก. การล่าเหยือ (Predation) เป็นความสัมพันธ์โดยมี
                                   ่
       ฝ่าย หนึ่งเป็นผู้ล่า (Predator) และอีกฝ่ายหนึงเป็น
                                                    ่
       เหยื่อ (Prey) หรือเป็น อาหารของอีกฝ่าย เช่น
งูกับกบ
ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์และอีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์

      ข. ภาวะปรสิต (parasitism) เป็นความสัมพันธ์ของสิงมีชีวิตที่มีฝ่าย
                                                            ่
       หนึ่ง เป็นผู้เบียดเบียน เรียกว่า ปรสิต (parasite) และอีกฝ่ายหนึ่งเป็น
       เจ้าของบ้าน (host) เช่น
ต้นกาฝาก
ฝอยทองที่ขึ้นอยู่บนต้นไม้ใหญ่ จะดูดน้้าและอาหารจากต้นไม้ใหญ่
หมัด เห็บ ไร พยาธิต่างๆ
ที่อาศัยอยู่กับร่างกายคนและสัตว์
เชื้อโรคต่างๆ
ที่ท้าให้เกิดโรคกับคนและสัตว์
ความสัมพันธ์แบบภาวะมีการย่อยสลาย

    ความสัมพันธ์แบบภาวะมีการย่อยสลาย (Saprophytism) ใช้
    สัญลักษณ์ +, 0 เป็นการด้ารงชีพของกลุ่มผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ เช่น เห็ด
    รา แบคทีเรีย และจุลินทรีย์
รูปจุลินทรีย์
รูปแบคทีเรีย
รูปเห็ด
รูปรา
ภาวะแข่งขัน
    เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ๒ ชีวิต ซึงอาจเป็นชนิดเดียวกันหรือต่างชนิด
                                             ่
    กัน ที่มีความต้องการทีอยู่อาศัยหรืออาหารอย่างเดียวกันในการด้ารงชีวิต
                          ่
    และปัจจัยดังกล่าวนั้นมีจ้ากัด จึงเกิดการแข่งขันเพื่อครอบครองที่อยู่อาศัย
    หรือแย่งชิงอาหารนั้น เช่น
การแย่งอาหาร
การแย่งอาหารของปลา
ภาวะเป็นกลาง
    ภาวะเป็นกลาง (Neutralism) คือ ภาวะที่มีสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ อาศัย
    อยู่ในบริเวณเดียวกัน สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดต่างด้ารงชีวิตกันอย่างไม่เกี่ยวข้อง
    กัน เช่น บริเวณต้นไม้ตนเดียวกันแต่ไม่มีความสัมพันธ์กัน
                            ้
รูปแสดงต้นไม้
ภาวะการกีดกัน
      ภาวะการกีดกัน เป็นภาวะที่การด้ารงอยูของสิ่งมีชีวิต ไปมีผลต่อการอยูรอด
                                               ่                                ่
       ของสิงมีชวิตอีกชนิดหนึ่ง เช่น ต้นไม้ใหญ่บงแสงไม่ให้ส่องถึงไม้เล็กที่อยู่
             ่ ี                                 ั
       ข้างล่าง ท้าให้ไม้เล็กไม่อาจเติบโตได้
จัดทำโดย ด.ช.ศรัณย์ ศรีมี
ม.3/1 เลขที่ 5

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติnaleesaetor
 
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdfบทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdfKatewaree Yosyingyong
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทานkrulef1805
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 

Mais procurados (20)

เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdfบทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
บทที่ 2 อะตอมและสมบัติธาตุ.pdf
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
Plant oui
Plant ouiPlant oui
Plant oui
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 

Semelhante a ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์Tin Savastham
 
Random 100704050224-phpapp01
Random 100704050224-phpapp01Random 100704050224-phpapp01
Random 100704050224-phpapp01Peerapong Bu
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศN'apple Naja
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
Biology lernning 1
Biology lernning 1Biology lernning 1
Biology lernning 1paifon
 
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdfssuserf6586a
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3Tatthep Deesukon
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชvarut
 

Semelhante a ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ (20)

File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์
 
Random 100704050224-phpapp01
Random 100704050224-phpapp01Random 100704050224-phpapp01
Random 100704050224-phpapp01
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
สิ่งแวดล้อมจากเน็ท
สิ่งแวดล้อมจากเน็ทสิ่งแวดล้อมจากเน็ท
สิ่งแวดล้อมจากเน็ท
 
ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
File
FileFile
File
 
ใบความรู้ที่ 3.1
ใบความรู้ที่ 3.1ใบความรู้ที่ 3.1
ใบความรู้ที่ 3.1
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
Biology lernning 1
Biology lernning 1Biology lernning 1
Biology lernning 1
 
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ