SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 4
Baixar para ler offline
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่องโครงงานประเภท “การ
ประยุกต์ใช้งาน”
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานประยุกต์ใช้งาน
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริง
ในชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่ง
ภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุ
คนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์
หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี
ประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ใน
การออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้ว
ปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และ
เครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ตัวอย่างโครงงาน 1
ชื่อโครงงาน การศึกษา Computer Generated Hologram และ การประยุกต์ใช้งานอย่างง่าย ชื่อผู้ทา
โครงงาน นายไพโรจน์ ศิรินามารัตนะ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ศ.ดร.สมศักดิ์ ปัญญาแก้ว สถาบันการศึกษา นิสิตระดับ
ปริญญาตรีปีที่ 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทา
โครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ การถ่ายภาพ hologram ด้วยแสงเลเซอร์ (Laser hologram) คือ การบันทึกรูปแบบการ
แทรกสอด (Interference pattern) ของแสง 2 ขบวน คือ แสงที่มาจากวัตถุ (Object beam) กับ แสงอ้างอิง (Reference
beam) ลงบนrecording medium โดยการฉายแสงอ้างอิง ที่ตาแหน่งเดิมกับ recording medium อีกครั้งหนึ่ง ก็จะ
สามารถเห็นภาพวัตถุเป็นแบบ 3 มิติได้
จากการศึกษาการเกิดภาพ 3 มิติ ด้วยวิธีข้างต้น เกิดจากการที่แสงอ้างอิงผ่าน recording medium โดยอาศัยหลักการ
แทรกสอดและเลี้ยวเบนของแสง เมื่อเรารู้ว่าแสงอ้างอิงมีลักษณะอย่างไร และเราต้องการวัตถุ 3 มิติแบบไหน เราก็จะจะ
สามารถคานวณรูปแบบการแทรกสอดบน recording medium, นั้นได้ จากนั้นก็สามารถสร้างรูปแบบการแทรกสอดที่เรา
คานวณได้ด้วยวิธี Laser writing หรือ electron Lithography เป็นต้น ซึ่งhologram ที่ได้นี้ถูกเรียกว่า Computer
GeneratedHologram(CGH)
การประยุกต์ใช้งาน CGH ที่เห็นได้ชัดก็เช่น การสร้างภาพ 3D holographic Television ซึ่งการคานวณ Interference
pattern และการ lithographyเพื่อให้ได้ภาพ 3D ที่ชัดเจนเป็นสิ่งที่ทายากส่วนที่ง่ายลงมาก็คือการใช้ CGH ในการบังคับ
ลาแสงให้เป็นรูปแบบต่างๆ โดยอาจทาเป็น Lens รวมแสง,กระจายแสงให้เป็นรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม ซึ่งสามารถนา
ประยุกต์ใช้งานเป็น Holographic transmitterใน Optical Wireless LANS Systemหรือการทา Holographic Solar
Concentrator เป็นต้น
ตัวอย่างโครงงาน 2
ชื่อโครงงาน การประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า ชื่อผู้ทาโครงงาน
นายสรรเสริญ ขันทอง,นายชัยวัฒน์ ศิระวัฒนานนท์,นายทรงศักดิ์ แซ่จึง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธิดารัตน์ ต่อ
สุข สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทา
โครงงาน 1/1/2551 บทคัดย่อ การ ประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า (Shopping Helper
using Barcode with Mobile Application) มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึงรายละเอียดของสินค้าและค่าใช้จ่ายใน
การเลือกซื้อสินค้าในแต่ละครั้งโดยการพัฒนาระบบใหม่ซึ่งประยุกต์ใช้การอ่านบาร์โค้ด 2 มิติด้วยกล้องจาก
โทรศัพท์เคลื่อนที่ เนื่องจากเดิมสินค้ามีการระบุข้อมูลโดยใช้บาร์โค้ด 1 มิติเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันสินค้าแต่ละชนิดมีข้อมูลที่ใช้
ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า จานวนมากจึงเสนอแนวคิดในการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ด 2 มิติที่สามารถบรรจุข้อมูลได้
มากขึ้น และนามาประยุกต์ใช้บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยระบบการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อ
ขายสินค้า จะใช้กล้องบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อ่านบาร์โค้ด 2 มิติ เพื่อให้สามารถบอกรายละเอียดของสินค้าเพื่อช่วยในการ
ตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า ตรวจสอบค่าใช้จ่ายของสินค้าทั้งหมดที่เลือกให้อยู่ในงบประมาณที่ตั้งไว้ ระบบจะทาการแจ้ง
เตือน เมื่อผู้บริโภคใช้จ่ายสินค้าเกินงบประมาณที่กาหนด ซึ่งระบบจะมีการนาข้อมูลชนิดสินค้า รายละเอียดสินค้า ราคา
สินค้า จากฐานข้อมูล และผู้บริโภคสามารถนารายละเอียดของสินค้ามาเปรียบเทียบกันได้ โดยระบบนี้จะแบ่งการทางาน
ออกเป็นส่วน ๆ คือระบบการสร้างรหัสบาร์โค้ดจากข้อมูลรายละเอียดของสินค้าของผู้ให้บริการ และระบบการให้บริการ
โดยแสดงรายละเอียดสินค้า การเลือกซื้อสินค้าบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ แจ้งเตือนงบประมาณที่เกินกาหนด ยกเลิกสินค้าที่ไม่
ต้องการ และระบบจะตรวจสอบการรวมราคาของสินค้านั้นก่อนที่จะไปชาระค่าสินค้า เพื่อให้ผู้บริโภคทราบราคารวมของ
สินค้านั้นตรงกับราคาที่ต้องชาระจริง ซึ่งจะอานวยความสะดวกในการจัดสรรเลือกซื้อสินค้าตามงบประมาณของผู้บริโภค
ได้
ตัวอย่างโครงงาน 3
ชื่อโครงงานการ ประยุกต์ใช้แบบรูปการเคลื่อนที่ของดาวเปราะในแบบรูปการเคลื่อนที่ของหุ่น
ยนต์ The Application of Brittle Star Locomotion Patterns for Robotic Locomotion โปรแกรมเพื่อประยุกต์การ
ใช้งาน (นักเรียน) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวสุพิชญา สุจริยากุล, นายพิลิปดา เหลืองประเสริฐ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.
ดร.สโรช ไทรเมฆ สถาบันการศึกษา โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ระดับชั้น มัธยมปลาย หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/
เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม นี้ เขียนขึ้นเพื่อใช้ในการศึกษาการเคลื่อนที่ หรือการเคลื่อนไหวของ
วัตถุที่เราสนใจ (ซึ่งในที่นี้เน้นเรื่องหุ่นยนต์) โดยรับข้อมูลจากภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกจากกล้องที่อยู่นิ่ง มาวิเคราะห์ถึง
ข้อมูลต่างๆ อันได้แก่ ตาแหน่ง ตาแหน่งของส่วนต่างๆ ความเร็ว การหมุน ซึ่งในขณะนี้โปรแกรมกาลังถูกพัฒนาให้สามารถ
ทางานได้ตามดังที่กล่าวไว้ข้าง ต้น โดยในขณะนี้สามารถตรวจจับความเปลี่ยนแปลงของภาพได้ แต่ยังไม่สามารถระบุ
ตาแหน่งที่ชัดเจนได้ เนื่องจากสิ่งที่เราสนใจไม่จาเป็นจะมีลักษณะเป็นก้อน อาจมีส่วนแขนยื่นออกมา และมี
มากกว่า 1 ส่วนที่กาลังเคลื่อนที่ เช่น ส่วนหนึ่งเคลื่อนไปด้านหน้าอีกส่วนหนึ่งเคลื่อนไปด้านหลังเป็นต้น
This software is a work developed for study the movement of object by input video file from a standing video
recorder. It will work by analyze position, coordinating system, velocity and rotation. We have developed this
program until this program can detect the different in 2 or more images. But it is not totally work for detect a
right position, because an object may have some part move freely from others, for example, some moves
forward while the other moves backward.
ตัวอย่างโครงงาน 4
ชื่อโครงงาน การประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า ชื่อผู้ทาโครงงาน
นายสรรเสริญ ขันทอง,นายชัยวัฒน์ ศิระวัฒนานนท์,นายทรงศักดิ์ แซ่จึง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธิดารัตน์ ต่อ
สุข สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทา
โครงงาน 1/1/2551 บทคัดย่อ การ ประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า (Shopping Helper
using Barcode with Mobile Application) มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึงรายละเอียดของสินค้าและค่าใช้จ่ายใน
การเลือกซื้อสินค้าในแต่ละครั้ง โดยการพัฒนาระบบใหม่ซึ่งประยุกต์ใช้การอ่านบาร์โค้ด 2 มิติด้วยกล้องจาก
โทรศัพท์เคลื่อนที่ เนื่องจากเดิมสินค้ามีการระบุข้อมูลโดยใช้บาร์โค้ด 1 มิติเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันสินค้าแต่ละชนิดมีข้อมูลที่ใช้
ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า จานวนมากจึงเสนอแนวคิดในการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ด 2 มิติที่สามารถบรรจุข้อมูลได้
มากขึ้น และนามาประยุกต์ใช้บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยระบบการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อ
ขายสินค้า จะใช้กล้องบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อ่านบาร์โค้ด 2 มิติ เพื่อให้สามารถบอกรายละเอียดของสินค้าเพื่อช่วยในการ
ตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า ตรวจสอบค่าใช้จ่ายของสินค้าทั้งหมดที่เลือกให้อยู่ในงบประมาณที่ตั้งไว้ ระบบจะทาการแจ้ง
เตือน เมื่อผู้บริโภคใช้จ่ายสินค้าเกินงบประมาณที่กาหนด ซึ่งระบบจะมีการนาข้อมูลชนิดสินค้า รายละเอียดสินค้า ราคา
สินค้า จากฐานข้อมูล และผู้บริโภคสามารถนารายละเอียดของสินค้ามาเปรียบเทียบกันได้ โดยระบบนี้จะแบ่งการทางาน
ออกเป็นส่วน ๆ คือระบบการสร้างรหัสบาร์โค้ดจากข้อมูลรายละเอียดของสินค้าของผู้ให้บริการ และระบบการให้บริการ
โดยแสดงรายละเอียดสินค้า การเลือกซื้อสินค้าบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ แจ้งเตือนงบประมาณที่เกินกาหนด ยกเลิกสินค้าที่ไม่
ต้องการ และระบบจะตรวจสอบการรวมราคาของสินค้านั้นก่อนที่จะไปชาระค่าสินค้า เพื่อให้ผู้บริโภคทราบราคารวมของ
สินค้านั้นตรงกับราคาที่ต้องชาระจริง ซึ่งจะอานวยความสะดวกในการจัดสรรเลือกซื้อสินค้าตามงบประมาณของผู้บริโภค
ได้
ตัวอย่างโครงงาน 5
ชื่อโครงงาน โปรแกรมประยุกต์พจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประเภท Mobile
Application ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วรพงศ์ โรจน์เรืองมาศ , นางสาว ศุภิสรา จันทราภิสิทธิ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.
รัชลิดา ลิปิกรณ์ สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี
ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม พจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพนี้ ได้ถูกพัฒนามาจาก
โปรแกรมแบบเดิมที่ผู้ใช้ต้องพิมพ์คาศัพท์โดยกดปุ่มตัวเลข เพื่อหาความหมาย เพื่อให้ผู้ใช้สะดวกสบายในการใช้งานเพียง
แค่ถ่ายภาพคาศัพท์ที่ต้องการ รวมถึงระบบการใช้งานที่เข้าใจง่าย และสามารถใช้งานได้จากที่ใดก็ได้ ทั้งนี้ยังคงมีรูปแบบ
การพิมพ์คาศัพท์แบบเดิมอยู่
โปรแกรมพจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนของโปรแกรมบนโทรศัพท์มือถือ
และส่วนเซิร์ฟเวอร์ โดยผู้ใช้สามารถคีย์หรือถ่ายภาพคาศัพท์บนโทรศัพท์มือถือ แล้วส่งคา หรือภาพถ่ายนั้นผ่านเครือข่าย
ไปยังเครื่องเซิร์ฟเวอร์ โดยให้เครื่องเซิร์ฟเวอร์ทาการวิเคราะห์ภาพคาศัพท์ออกมาเป็นตัวอักษร ด้วยหลักการการ
ประมวลผลภาพ และหาความหมายคาศัพท์นั้นจากฐานข้อมูลคาศัพท์ จากนั้นจึงส่งความหมายของคาศัพท์กลับมายัง
โทรศัพท์มือถือ
Image-based Mobile Dictionary Application is developed from the original application which users have to
type a word to be searched for the meaning. This application is easy to use, a user only need to capture a
void using a digital camera on a mobile phone or type it in. In addition, its system also offers user-friendly
interfaces which users can easily understand once they have seen it.
Image-based Mobile Dictionary Application consists of two functions; software on a mobile phone and
software on a server. A vocabulary, which is typed or captured by users, is automatically sent via network to
the server. If the input is an image file, the software on the server will recognize each character using image
processing and then search for its meaning from database list. Afterwards, that vocabulary and its meaning
will transfered to the mobile phone.
ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/17030?page=0%2C7
http://www.slideshare.net/Zikkapoo/ss-13963683
http://www.vcharkarn.com/project/view/689

Mais conteúdo relacionado

Mais de Nutcha Kbn

ข้อสอบ O-net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O-net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O-net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O-net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6Nutcha Kbn
 
ข้อสอบ O-net 50 ภาษาอังกฤษ ม 6
ข้อสอบ O-net 50 ภาษาอังกฤษ ม 6ข้อสอบ O-net 50 ภาษาอังกฤษ ม 6
ข้อสอบ O-net 50 ภาษาอังกฤษ ม 6Nutcha Kbn
 
ข้อสอบ O-net 50 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O-net 50 ภาษาไทย ม 6ข้อสอบ O-net 50 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O-net 50 ภาษาไทย ม 6Nutcha Kbn
 
ข้อสอบ O-net 50 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O-net 50 คณิตศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O-net 50 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O-net 50 คณิตศาสตร์ ม 6Nutcha Kbn
 
ข้อสอบ O-net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O-net 50 สังคม ม 6ข้อสอบ O-net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O-net 50 สังคม ม 6Nutcha Kbn
 
ข้อสอบ O -net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O -net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O -net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O -net 52 สังคมศึกษาNutcha Kbn
 
ข้อสอบ O -net 52 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O -net 52 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O -net 52 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O -net 52 วิทยาศาสตร์Nutcha Kbn
 
ข้อสอบ O n-et 52 ภาษาอังกฤษ
ข้อสอบ O n-et 52 ภาษาอังกฤษข้อสอบ O n-et 52 ภาษาอังกฤษ
ข้อสอบ O n-et 52 ภาษาอังกฤษNutcha Kbn
 
ข้อสอบ O -net 52 ภาษาไทย
ข้อสอบ O -net 52 ภาษาไทยข้อสอบ O -net 52 ภาษาไทย
ข้อสอบ O -net 52 ภาษาไทยNutcha Kbn
 
ข้อสอบ O -net 52 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O -net 52 คณิตศาสตร์ข้อสอบ O -net 52 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O -net 52 คณิตศาสตร์Nutcha Kbn
 
ข้อสอบ O -net 52 สุขศึกษา
ข้อสอบ O -net 52 สุขศึกษาข้อสอบ O -net 52 สุขศึกษา
ข้อสอบ O -net 52 สุขศึกษาNutcha Kbn
 
ใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานสำรวจตัวเองใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานสำรวจตัวเองNutcha Kbn
 

Mais de Nutcha Kbn (12)

ข้อสอบ O-net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O-net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O-net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O-net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6
 
ข้อสอบ O-net 50 ภาษาอังกฤษ ม 6
ข้อสอบ O-net 50 ภาษาอังกฤษ ม 6ข้อสอบ O-net 50 ภาษาอังกฤษ ม 6
ข้อสอบ O-net 50 ภาษาอังกฤษ ม 6
 
ข้อสอบ O-net 50 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O-net 50 ภาษาไทย ม 6ข้อสอบ O-net 50 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O-net 50 ภาษาไทย ม 6
 
ข้อสอบ O-net 50 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O-net 50 คณิตศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O-net 50 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O-net 50 คณิตศาสตร์ ม 6
 
ข้อสอบ O-net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O-net 50 สังคม ม 6ข้อสอบ O-net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O-net 50 สังคม ม 6
 
ข้อสอบ O -net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O -net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O -net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O -net 52 สังคมศึกษา
 
ข้อสอบ O -net 52 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O -net 52 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O -net 52 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O -net 52 วิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบ O n-et 52 ภาษาอังกฤษ
ข้อสอบ O n-et 52 ภาษาอังกฤษข้อสอบ O n-et 52 ภาษาอังกฤษ
ข้อสอบ O n-et 52 ภาษาอังกฤษ
 
ข้อสอบ O -net 52 ภาษาไทย
ข้อสอบ O -net 52 ภาษาไทยข้อสอบ O -net 52 ภาษาไทย
ข้อสอบ O -net 52 ภาษาไทย
 
ข้อสอบ O -net 52 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O -net 52 คณิตศาสตร์ข้อสอบ O -net 52 คณิตศาสตร์
ข้อสอบ O -net 52 คณิตศาสตร์
 
ข้อสอบ O -net 52 สุขศึกษา
ข้อสอบ O -net 52 สุขศึกษาข้อสอบ O -net 52 สุขศึกษา
ข้อสอบ O -net 52 สุขศึกษา
 
ใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานสำรวจตัวเองใบงานสำรวจตัวเอง
ใบงานสำรวจตัวเอง
 

ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”

  • 1. ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน” ใบงานที่ 7 เรื่องโครงงานประเภท “การ ประยุกต์ใช้งาน” โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริง ในชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่ง ภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุ คนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ใน การออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้ว ปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และ เครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างโครงงาน 1 ชื่อโครงงาน การศึกษา Computer Generated Hologram และ การประยุกต์ใช้งานอย่างง่าย ชื่อผู้ทา โครงงาน นายไพโรจน์ ศิรินามารัตนะ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ศ.ดร.สมศักดิ์ ปัญญาแก้ว สถาบันการศึกษา นิสิตระดับ ปริญญาตรีปีที่ 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทา โครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ การถ่ายภาพ hologram ด้วยแสงเลเซอร์ (Laser hologram) คือ การบันทึกรูปแบบการ แทรกสอด (Interference pattern) ของแสง 2 ขบวน คือ แสงที่มาจากวัตถุ (Object beam) กับ แสงอ้างอิง (Reference beam) ลงบนrecording medium โดยการฉายแสงอ้างอิง ที่ตาแหน่งเดิมกับ recording medium อีกครั้งหนึ่ง ก็จะ สามารถเห็นภาพวัตถุเป็นแบบ 3 มิติได้ จากการศึกษาการเกิดภาพ 3 มิติ ด้วยวิธีข้างต้น เกิดจากการที่แสงอ้างอิงผ่าน recording medium โดยอาศัยหลักการ แทรกสอดและเลี้ยวเบนของแสง เมื่อเรารู้ว่าแสงอ้างอิงมีลักษณะอย่างไร และเราต้องการวัตถุ 3 มิติแบบไหน เราก็จะจะ สามารถคานวณรูปแบบการแทรกสอดบน recording medium, นั้นได้ จากนั้นก็สามารถสร้างรูปแบบการแทรกสอดที่เรา คานวณได้ด้วยวิธี Laser writing หรือ electron Lithography เป็นต้น ซึ่งhologram ที่ได้นี้ถูกเรียกว่า Computer GeneratedHologram(CGH) การประยุกต์ใช้งาน CGH ที่เห็นได้ชัดก็เช่น การสร้างภาพ 3D holographic Television ซึ่งการคานวณ Interference pattern และการ lithographyเพื่อให้ได้ภาพ 3D ที่ชัดเจนเป็นสิ่งที่ทายากส่วนที่ง่ายลงมาก็คือการใช้ CGH ในการบังคับ ลาแสงให้เป็นรูปแบบต่างๆ โดยอาจทาเป็น Lens รวมแสง,กระจายแสงให้เป็นรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม ซึ่งสามารถนา
  • 2. ประยุกต์ใช้งานเป็น Holographic transmitterใน Optical Wireless LANS Systemหรือการทา Holographic Solar Concentrator เป็นต้น ตัวอย่างโครงงาน 2 ชื่อโครงงาน การประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า ชื่อผู้ทาโครงงาน นายสรรเสริญ ขันทอง,นายชัยวัฒน์ ศิระวัฒนานนท์,นายทรงศักดิ์ แซ่จึง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธิดารัตน์ ต่อ สุข สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทา โครงงาน 1/1/2551 บทคัดย่อ การ ประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า (Shopping Helper using Barcode with Mobile Application) มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึงรายละเอียดของสินค้าและค่าใช้จ่ายใน การเลือกซื้อสินค้าในแต่ละครั้งโดยการพัฒนาระบบใหม่ซึ่งประยุกต์ใช้การอ่านบาร์โค้ด 2 มิติด้วยกล้องจาก โทรศัพท์เคลื่อนที่ เนื่องจากเดิมสินค้ามีการระบุข้อมูลโดยใช้บาร์โค้ด 1 มิติเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันสินค้าแต่ละชนิดมีข้อมูลที่ใช้ ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า จานวนมากจึงเสนอแนวคิดในการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ด 2 มิติที่สามารถบรรจุข้อมูลได้ มากขึ้น และนามาประยุกต์ใช้บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยระบบการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อ ขายสินค้า จะใช้กล้องบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อ่านบาร์โค้ด 2 มิติ เพื่อให้สามารถบอกรายละเอียดของสินค้าเพื่อช่วยในการ ตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า ตรวจสอบค่าใช้จ่ายของสินค้าทั้งหมดที่เลือกให้อยู่ในงบประมาณที่ตั้งไว้ ระบบจะทาการแจ้ง เตือน เมื่อผู้บริโภคใช้จ่ายสินค้าเกินงบประมาณที่กาหนด ซึ่งระบบจะมีการนาข้อมูลชนิดสินค้า รายละเอียดสินค้า ราคา สินค้า จากฐานข้อมูล และผู้บริโภคสามารถนารายละเอียดของสินค้ามาเปรียบเทียบกันได้ โดยระบบนี้จะแบ่งการทางาน ออกเป็นส่วน ๆ คือระบบการสร้างรหัสบาร์โค้ดจากข้อมูลรายละเอียดของสินค้าของผู้ให้บริการ และระบบการให้บริการ โดยแสดงรายละเอียดสินค้า การเลือกซื้อสินค้าบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ แจ้งเตือนงบประมาณที่เกินกาหนด ยกเลิกสินค้าที่ไม่ ต้องการ และระบบจะตรวจสอบการรวมราคาของสินค้านั้นก่อนที่จะไปชาระค่าสินค้า เพื่อให้ผู้บริโภคทราบราคารวมของ สินค้านั้นตรงกับราคาที่ต้องชาระจริง ซึ่งจะอานวยความสะดวกในการจัดสรรเลือกซื้อสินค้าตามงบประมาณของผู้บริโภค ได้ ตัวอย่างโครงงาน 3 ชื่อโครงงานการ ประยุกต์ใช้แบบรูปการเคลื่อนที่ของดาวเปราะในแบบรูปการเคลื่อนที่ของหุ่น ยนต์ The Application of Brittle Star Locomotion Patterns for Robotic Locomotion โปรแกรมเพื่อประยุกต์การ ใช้งาน (นักเรียน) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวสุพิชญา สุจริยากุล, นายพิลิปดา เหลืองประเสริฐ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. ดร.สโรช ไทรเมฆ สถาบันการศึกษา โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ระดับชั้น มัธยมปลาย หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/ เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม นี้ เขียนขึ้นเพื่อใช้ในการศึกษาการเคลื่อนที่ หรือการเคลื่อนไหวของ วัตถุที่เราสนใจ (ซึ่งในที่นี้เน้นเรื่องหุ่นยนต์) โดยรับข้อมูลจากภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกจากกล้องที่อยู่นิ่ง มาวิเคราะห์ถึง ข้อมูลต่างๆ อันได้แก่ ตาแหน่ง ตาแหน่งของส่วนต่างๆ ความเร็ว การหมุน ซึ่งในขณะนี้โปรแกรมกาลังถูกพัฒนาให้สามารถ ทางานได้ตามดังที่กล่าวไว้ข้าง ต้น โดยในขณะนี้สามารถตรวจจับความเปลี่ยนแปลงของภาพได้ แต่ยังไม่สามารถระบุ ตาแหน่งที่ชัดเจนได้ เนื่องจากสิ่งที่เราสนใจไม่จาเป็นจะมีลักษณะเป็นก้อน อาจมีส่วนแขนยื่นออกมา และมี มากกว่า 1 ส่วนที่กาลังเคลื่อนที่ เช่น ส่วนหนึ่งเคลื่อนไปด้านหน้าอีกส่วนหนึ่งเคลื่อนไปด้านหลังเป็นต้น This software is a work developed for study the movement of object by input video file from a standing video recorder. It will work by analyze position, coordinating system, velocity and rotation. We have developed this
  • 3. program until this program can detect the different in 2 or more images. But it is not totally work for detect a right position, because an object may have some part move freely from others, for example, some moves forward while the other moves backward. ตัวอย่างโครงงาน 4 ชื่อโครงงาน การประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า ชื่อผู้ทาโครงงาน นายสรรเสริญ ขันทอง,นายชัยวัฒน์ ศิระวัฒนานนท์,นายทรงศักดิ์ แซ่จึง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธิดารัตน์ ต่อ สุข สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทา โครงงาน 1/1/2551 บทคัดย่อ การ ประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า (Shopping Helper using Barcode with Mobile Application) มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึงรายละเอียดของสินค้าและค่าใช้จ่ายใน การเลือกซื้อสินค้าในแต่ละครั้ง โดยการพัฒนาระบบใหม่ซึ่งประยุกต์ใช้การอ่านบาร์โค้ด 2 มิติด้วยกล้องจาก โทรศัพท์เคลื่อนที่ เนื่องจากเดิมสินค้ามีการระบุข้อมูลโดยใช้บาร์โค้ด 1 มิติเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันสินค้าแต่ละชนิดมีข้อมูลที่ใช้ ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า จานวนมากจึงเสนอแนวคิดในการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ด 2 มิติที่สามารถบรรจุข้อมูลได้ มากขึ้น และนามาประยุกต์ใช้บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยระบบการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อ ขายสินค้า จะใช้กล้องบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อ่านบาร์โค้ด 2 มิติ เพื่อให้สามารถบอกรายละเอียดของสินค้าเพื่อช่วยในการ ตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า ตรวจสอบค่าใช้จ่ายของสินค้าทั้งหมดที่เลือกให้อยู่ในงบประมาณที่ตั้งไว้ ระบบจะทาการแจ้ง เตือน เมื่อผู้บริโภคใช้จ่ายสินค้าเกินงบประมาณที่กาหนด ซึ่งระบบจะมีการนาข้อมูลชนิดสินค้า รายละเอียดสินค้า ราคา สินค้า จากฐานข้อมูล และผู้บริโภคสามารถนารายละเอียดของสินค้ามาเปรียบเทียบกันได้ โดยระบบนี้จะแบ่งการทางาน ออกเป็นส่วน ๆ คือระบบการสร้างรหัสบาร์โค้ดจากข้อมูลรายละเอียดของสินค้าของผู้ให้บริการ และระบบการให้บริการ โดยแสดงรายละเอียดสินค้า การเลือกซื้อสินค้าบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ แจ้งเตือนงบประมาณที่เกินกาหนด ยกเลิกสินค้าที่ไม่ ต้องการ และระบบจะตรวจสอบการรวมราคาของสินค้านั้นก่อนที่จะไปชาระค่าสินค้า เพื่อให้ผู้บริโภคทราบราคารวมของ สินค้านั้นตรงกับราคาที่ต้องชาระจริง ซึ่งจะอานวยความสะดวกในการจัดสรรเลือกซื้อสินค้าตามงบประมาณของผู้บริโภค ได้
  • 4. ตัวอย่างโครงงาน 5 ชื่อโครงงาน โปรแกรมประยุกต์พจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประเภท Mobile Application ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วรพงศ์ โรจน์เรืองมาศ , นางสาว ศุภิสรา จันทราภิสิทธิ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. รัชลิดา ลิปิกรณ์ สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม พจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพนี้ ได้ถูกพัฒนามาจาก โปรแกรมแบบเดิมที่ผู้ใช้ต้องพิมพ์คาศัพท์โดยกดปุ่มตัวเลข เพื่อหาความหมาย เพื่อให้ผู้ใช้สะดวกสบายในการใช้งานเพียง แค่ถ่ายภาพคาศัพท์ที่ต้องการ รวมถึงระบบการใช้งานที่เข้าใจง่าย และสามารถใช้งานได้จากที่ใดก็ได้ ทั้งนี้ยังคงมีรูปแบบ การพิมพ์คาศัพท์แบบเดิมอยู่ โปรแกรมพจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนของโปรแกรมบนโทรศัพท์มือถือ และส่วนเซิร์ฟเวอร์ โดยผู้ใช้สามารถคีย์หรือถ่ายภาพคาศัพท์บนโทรศัพท์มือถือ แล้วส่งคา หรือภาพถ่ายนั้นผ่านเครือข่าย ไปยังเครื่องเซิร์ฟเวอร์ โดยให้เครื่องเซิร์ฟเวอร์ทาการวิเคราะห์ภาพคาศัพท์ออกมาเป็นตัวอักษร ด้วยหลักการการ ประมวลผลภาพ และหาความหมายคาศัพท์นั้นจากฐานข้อมูลคาศัพท์ จากนั้นจึงส่งความหมายของคาศัพท์กลับมายัง โทรศัพท์มือถือ Image-based Mobile Dictionary Application is developed from the original application which users have to type a word to be searched for the meaning. This application is easy to use, a user only need to capture a void using a digital camera on a mobile phone or type it in. In addition, its system also offers user-friendly interfaces which users can easily understand once they have seen it. Image-based Mobile Dictionary Application consists of two functions; software on a mobile phone and software on a server. A vocabulary, which is typed or captured by users, is automatically sent via network to the server. If the input is an image file, the software on the server will recognize each character using image processing and then search for its meaning from database list. Afterwards, that vocabulary and its meaning will transfered to the mobile phone. ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/17030?page=0%2C7 http://www.slideshare.net/Zikkapoo/ss-13963683 http://www.vcharkarn.com/project/view/689