SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 22
Baixar para ler offline
TIAC

                 ศูนยบริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี (Technical Information Access Center-
TIAC) ไดจดตั้งเมื่อ วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2531 เปนโครงการความรวมมือระหวางรัฐบาลไทยกับ
             ั
รัฐบาลสหรัฐอเมริกา โดยไดรับการสนับสนุนงบประมาณเงินกูและเงินชวยเหลือแบบใหเปลา เพือ    ่
ริเริ่มบริการฐานขอมูลและขาวสารสําหรับการพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี ธุรกิจ และ
อุตสาหกรรมของประเทศไทย               ในรูปเครือขายความรวมมือในการแลกเปลี่ยนและใชทรัพยากร
รวมกัน ลดตนทุนสารสนเทศจากตางประเทศ เปนหนวยงานบริการสารสนเทศแหงแรกของ
ประเทศไทยทีบริการเชิงพาณิชยแตไมหวังผลกําไร สรางเครือขายหองสมุด ผูใหบริการและ
               ่
ผูใชบริการ สรางสรรคบริการและเทคโนโลยีใหม สนองและเติมเต็มแกสังคมสารสนเทศอยาง
ตอเนื่อง

เปดตัว ป 2533 ฐานขอมูลออนไลนตางประเทศ

       อาคารสํานักงาน ชั้น 8 ศูนยการคาเซ็นทรัลพลาซา ลาดพราว
       804 ถนนพหลโยธิน บางเขน กรุงเทพฯ 10900
       โทร 541-1704-6 โทรสาร 276-1326
       บริการสืบคนฐานขอมูลออนไลนจากตางประเทศ และบริการฝกอบรมแนะนําฐานขอมูล
บริการที่ปรึกษาการสืบคนขอมูล

ขยาย ป 2534 บริการเอกสารฉบับเต็ม

       อาคารวิทยพัฒนา ชั้น 6 หอง 602 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
       ซอยจุฬาลงกรณ 12 ถนนพญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
       โทร 216-8801-4 โทรสาร 216-8800
       www.tiac.or.th
       บริการเอกสารฉบับเต็มจากฐานขอมูล CD-ROM ครั้งแรกในประเทศไทย และบริการซื้อ
หนังสือและฐานขอมูล CD-ROM จากตางประเทศ บริการสืบคนวารสารและฐานขอมูลสหวารสาร
-2-

ออนไลน หองสมุดเสมือนครั้งแรก รับจัดทําฐานขอมูลใหตางหนวยงาน ฐานขอมูล
วิทยานิพนธไทย 2540 ความริเริ่มจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล และ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

เติมเต็ม ป 2539 หองสมุดวารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

         อาคารสวทช. สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ
         73/1 ถนนพระราม 6 ราชเทวี พญาไท กรุงเทพฯ 10400
         โทร 02 644 8150-89 โทรสาร 02 644 8038-39
         www.tiac.or.th

          สูหองสมุดดิจทัล วารสารตางประเทศฉบับพิมพ 1600 ชื่อ และซีด-รอม 1000 ชื่อ บริการ
                        ิ                                             ี
วารสารภาษาไทยจากฐานขอมูลสารบัญวารสารออนไลน ฐานขอมูลสารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน
ในพระราชประสงคของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหว CD-ROM ฉบับแรก วารสารปญญาวุธ
                                                  ั
ST-NETโครงการเรียนออนไลน Cybertools for Research รวมกับมหาวิทยาลัยมหิดลและTGIST
ผูนําดับลินคอร เมทาดาทา ใชครั้งแรกสําหรับฐานขอมูลงานวิจยของประเทศไทย 4 สถาบัน
                                                           ั

ผูนํามาตรฐานสากล ป 2545 หองสมุดเสมือน คลังความรู จดหมายเหตุดิจิทัล

         อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย
         111 ถนนพหลโยธิน ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120
         โทร 02 564 7000 โทรสาร 02 564 7060
         www.tiac.or.th

        ศูนยประสานงาน APIN-Unesco Asia-Pacific Information Network - 2546 JournalLink -
2547 ศูนยความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (STKC) - 2547 บริการวารสารอิเล็กทรอนิกส - 2549
สารสนเทศวิเคราะห - 2550 Chemtrack STKC One Search จดหมายเหตุดิจทัล สวทช.
                                                                  ิ




STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
-3-

                     STKS: ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

        www.stks.or.th ป 2551 ศูนยบริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี เปลี่ยนชื่อเปนศูนยบริการ
ความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Science and Technology Knowledge Services: STKS/
ศวท.) ขยายบริการและปรับภารกิจเพื่อสังคมความรูดิจิทลแบบเปด สรางเวทีแลกเปลี่ยนความรูใน
                                                       ั
อินเทอรเน็ต เพิ่มคุณคาการวิจัย การเรียนรู ขยายบริการสูสังคมชนบทและผูดอยโอกาส สรางและ
ขยายโอกาสบันทึกความรูวทยาศาสตรในภูมิปญญาไทยใหปรากฎแกสาธารณะ ทุกคนเขาถึงความรู
                          ิ
และใชงานสะดวก

วิสัยทัศน (Vision)
      ศูนยรวมความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อบริการแกชุมชนวิจย ผูสรางนวัตกรรม
                                                                   ั
และภาคการผลิตในการสรางขีดความสามารถ และยกระดับศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ของประเทศไทย

พันธกิจ (Mission)
       1. หองสมุดมีแหลงความรูทุกรูปแบบของไทยและตางประเทศที่ทันสมัยระดับสากล
       2. ศูนยกลางบริการฐานขอมูลวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทดีที่สดของประเทศไทย
                                                                ี่ ุ
       3. บริการทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลแบบออนไลน เขาถึงสะดวก ไมจํากัดสถานที่ บุคคล
          และเวลา
       4. สรางพันธมิตรการจัดการองคความรู สูสังคมความรู การเรียนรูและภูมิปญญา




STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
-4-

กิจกรรมและบริการ


    งานบริการความรู           งานพัฒนาและบริการ              งานจัดการความรู    งานบริหารจัดการทั่วไป
      และหองสมุด                 สื่อสาระดิจิทัล         (Knowledge Management) (General Administration)
 (Knowledge and Library          (Digital Content
        Services)               Development and
                                      Services)

     บริการ ความรู              ออกแบบพัฒนาและ                บริหารจัดการความรูและ       บริหาร จัดการ
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี     บริการสื่อสาระดิจิทัล ศึกษา   ฐานขอมูลของ สวทช.            งบประมาณ การเงิน ธุรการ
เนนความรูเพื่อการวิจัย    และถายทอดเทคโนโลยี           พัฒนาเครื่องมือจัดการ         และระบบงานภายใน
จัดหา สงเสริมและพัฒนา      เพื่อประยุกตในงานจัดการ      ความรูตามมาตรฐานสากล         หนวยงาน รวมทัง ้
ทักษะการใชทรัพยากร         ความรูและการบริการ           เพื่อประยุกต และถายทอด      ประสานงานความรวมมือ
เพื่อบริการภายใน สวทช.      อยางเหมาะสมทั้งฮารดแวร     เทคโนโลยีสําหรับงาน           กับหนวยงานอื่นๆ
รวมเครือขาย                และซอฟตแวร                  บริหารจัดการความรูของ        ทั้งภายในและภายนอก
กระทรวงวิทยาศาสตรและ                                     องคกร                        สวทช.
เทคโนโลยี




STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
-5-

                               การจัดการความรูและคลังความรู สวทช. ระบบเปด

         การจัดการความรู สวทช. เริ่มดําเนินการโดย ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและ
คอมพิวเตอรแหงชาติ (NECTEC) รวมกับศูนยพนธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชวภาพแหงชาติ
                                                ั                      ี
(BIOTEC) จัดการคลังความรู (Knowledge Repository – KR) กําหนดความตองการและออกแบบ
ใชเปนกิจกรรมแรกของการใช KM เพื่อประโยชนของพนักงาน สวทช. คูขนานไปกับการเพิ่ม
มูลคาของ สวทช. ในการจัดการความรู และการสรางวัฒนธรรมการแบงปน ปจจุบันศูนยบริการ
ความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมกับ NECTEC และ BIOTEC ดําเนินการระบบเพือ     ่
สนับสนุนกิจกรรมการจัดการความรูและคลังความรู สวทช. ระบบเปด และสนับสนุนการใชความรู
เพื่อพัฒนาองคกรและประเทศไดอยางเต็มประสิทธิภาพ




ผลงาน
        พัฒนาระบบคลังความรูดวยการใชโอเพนซอรสซอฟตแวร โดยใช DSpace          และ
Greenstone เปนระบบจัดการหลัก ผสมผสานกับระบบอื่น เชน Blog Wiki e-Research
e-Knowledge และ e-Learning




STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
-6-

                                                                           แผนที่ความรู

           ความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีเผยแพรในแหลงขอมูลที่สําคัญหลายแหลง        เชน
บทความวิชาการวิทยาศาสตร มีการพัฒนาการอยางรวดเร็วจากสื่อสิ่งพิมพ สูสื่ออิเล็กทรอนิกส และ
สื่อดิจิทัลในยุคปจจุบัน ผูใชสามารถเขาถึงดวยการสืบคน ฐานขอมูลวิชาการออนไลนไดอยาง
                             
สะดวก รวดเร็ว เอกสาร สิทธิบัตร เปนแหลงขอมูลเทคโนโลยีที่สําคัญ ลักษณะขอมูลที่เปดเผย
ไดแก ขอมูลภาพรวมของวิทยาการเบื้องตนของเทคโนโลยี ขอมูลภูมิหลังในประวัติของปญหา
ขอมูลที่ระบุปญหา และวิธีการแกปญหา/ขอมูลขอรองสิทธิ์ และขอบเขตของการประดิษฐ ขอมูล
ชื่อผูประดิษฐ พันธมิตร คูแขงขัน คําอธิบาย แนวทางการฝกปฏิบัตของการประดิษฐ ปจจุบน
                                                                     ิ                      ั
สิทธิบัตรมีบริการในรูปฐานขอมูลออนไลนมากมาย การวิเคราะหความรูวิชาการ จากเอกสาร
บทความวิจัยและสิทธิบัตร (ในปริมาณเอกสารจํานวนมาก ในรูปแฟมอิเล็กทรอนิกส) สามารถ
ดําเนินการไดงายดวยเครื่องมือที่ใชเทคโนโลยี Data/Text Mining สามารถประมวลผลไดอยาง
ถูกตอง รวดเร็ว สะดวกกวาประมวลผลดวยมือ เปนกิจกรรมที่สําคัญของ ภาคอุตสาหกรรม และ
ภาคการวิจัย ทั่วโลกตางใหความสนใจ ผลการ
วิเคราะห ชวยใหทราบถึงแนวโนมของเทคโนโลยี
ชวยกําหนดแนวทางนโยบายการวิจัยพัฒนา เพื่อ
ติดตามนวัตกรรมเทคโนโลยี

ผลงาน
         ศึกษา วิเคราะหเอกสารสิทธิบัตร และ
จัดทํารายงานแผนที่สิทธิบตร ในเทคโนโลยี ที่
                         ั
สวทช.จัดเปนโปรแกรมวิจยหลัก เชน เซลล
                           ั
แสงอาทิตย โรคติดเชื้ออุบัติใหม ไดแก โรค
ไขหวัดนก โรคมาลาเรีย โรคไขเลือดออก
เทคโนโลยี RFID CMOS Pressure Sensor และ
ไวรัสกุง รวม 7 เรื่อง เผยแพรบนเว็บไซต STKS
และ NSTDA ในป 2550 ป 2551 เปาหมายวิเคราะหสิทธิบัตร รวม 12 เรื่อง

STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
-7-

                                                         หองสมุดอัตโนมัติระบบเปด

         ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตระหนักถึงความรูตางๆ ที่สั่งสมมา
เปนเวลานาน โดยเฉพาะฐานขอมูลทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยูในหองสมุด ทรัพยากรสารสนเทศ
บางเรื่อง หองสมุดอื่นไมมี ศวท. ทําหนาที่เปนแหลงเก็บสิ่งพิมพ สวทช. เพื่อความเปนหนึ่งเดียว
รวบรวมผลงานทั้งหมด และนําออกใหบริการไดอยางแพรหลายในอินเทอรเน็ต และผานระบบ
หองสมุดอัตโนมัติ

         พัฒนาระบบหองสมุดอัตโนมัติ ใชโอเพนซอรสซอฟตแวรแบบบูรณาการ (Koha) ทํางาน
รวมกับศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ      สามารถขยายการเชื่อมโยงกับ
ฐานขอมูลอื่นๆ เปนระบบ Shared service ผูใชบริการทั้งภายใน สวทช. และภายนอกสามารถเก็บ
เกี่ยวความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดครบสมบูรณ

ผลงาน
       ระบบหองสมุดอัตโนมัติ ตนแบบในการศึกษา
และพัฒนาระบบหองสมุดอัตโนมัติที่เปนโอเพนซอรส
ซอฟตแวร เปนทางเลือกสําหรับหองสมุด โครงการนี้
สามารถเชื่อมโยงฐานขอมูลตางๆ เพื่อใหบริการระบบ
One search ระบบหองสมุดอัตโนมัติ Koha กําหนด
บริการภายในป 2551




STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
-8-

                                                  หองสมุดและสื่อดิจิทลระบบเปด
                                                                      ั

        กระแสความตองการและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) สงผลให
ขอมูลในรูปดิจิทัลเปนสื่อที่มีความตองการและใชงานแพรหลาย เกิดความจําเปนในการจัดทําระบบ
บริหารจัดการสื่อดิจิทัลในรูปแบบหองสมุดดิจิทัล          ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี มีภารกิจในการพัฒนาและบริการสื่อสาระดิจิทัล เห็นความจําเปนในการเผยแพรเนื้อหา
ความรูที่ถูกตอง และการพัฒนาสื่อดิจิทัลรูปแบบตางๆ รวมทั้งการพัฒนาหองสมุดดิจิทัลระบบเปด
ดวยซอฟตแวรฟรีที่เปดเผยตนฉบับ (Open Source Software) เพื่อลดภาระคาใชจายการจัดซื้อจัดหา
                                                                            
ซอฟตแวร รวมทั้งสงเสริมการเลือกใชซอฟตแวรทไมละเมิดกฏหมายลิขสิทธิ์
                                                 ี่

          ศวท. จัดทํามาตรฐานการพัฒนาสื่อสาระดิจิทัลรูปแบบตางๆ เชน เอกสารเว็บ สื่อวีดิทัศน
สื่อเสียง สื่อมัลติมีเดีย และสื่อเอกสารทั่วไป เผยแพรผานระบบ e-Learning และเอกสารตําราคูมือ
นําเสนอความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของ สวทช. ในรูปแบบสื่อดิจิทัลที่เหมาะสม และจัดเก็บ
ดวยโปรแกรมจัดการหองสมุดดิจิทัลระบบเปดดวยซอฟตแวร เชน Greenstone สงเสริม แนะนําให
ความรูเกี่ยวกับการพัฒนาสือสาระดิจิทัลมาตรฐานใหหนวยงานพันธมิตร และหนวยงานสาธารณะ
                             ่
เพื่อใหเปนคลังความรูดิจิทัลของประเทศ

ผลงาน

       ป 2551 ศวท. เริ่มพัฒนาเว็บไซตของหนวยงานดวย Open Source CMS (Content
Management System) ภายใต URL http://www.stks.or.th พัฒนาสื่อดิจิทัลผลงานของศวท. และ
สวทช. โดยเลือกใชโปรแกรมในกลุม Open Source ตางๆ เผยแพรผานหมวดเนือหา หองเรียน
                                                                         ้
ออนไลน คลังความรู คลังภาพ และคลังสื่อนําเสนอ นอกจากนี้ไดพัฒนาระบบบริหารจัดการความรู
ของบุคลากร STKS ผาน Blog และสรุปความรูจาก Blog เปนเนื้อหาสาระความรูในรูปแบบ Wiki
ดวยซอฟตแวร Wordpress และ MediaWiki ซึ่งเปนซอฟตแวรกลุม Open Source




STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
-9-

                                                         คลังขอมูลภูมิปญญาทองถิ่น

          ประเทศไทยมีวัฒนธรรมที่เปนเอกลักษณ      และมีภมปญญาพื้นบานมาตั้งแตอดีตจนถึง
                                                         ู ิ
ปจจุบัน แตเนืองจากการเปลียนแปลงของเทคโนโลยี พรอมการเกิดประเด็นอุบัตใหมในสังคมและ
                ่           ่                                             ิ
ระบบเศรษฐกิจ ทําใหภูมปญญาพื้นบานและวัฒนธรรมทองถิ่นลดความสําคัญลงไปจากวิถีชวตของ
                        ิ                                                         ีิ
คนไทยอยางรวดเร็ว และบางอยางไดสูญสลายโดยคนไทยสวนใหญ อาจไมตระหนัก โครงการนํา
รองเพื่อรวมศึกษาประเด็นของปญหา          ความตองการความรูในชุมชนทีนามาสูการเรียนรูใน
                                                                      ่ ํ
การแกไขปญหา โดยเฉพาะการประสานความรูภายใน สวทช. เพื่อนําไปปรับใชในชุมชน ตนแบบ
และความรูจากการศึกษานี้ เปนประโยชนในการพิจารณาองคประกอบที่จําเปนสําหรับการพัฒนา
ขอมูลและจัดการความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และเปนอุปกรณพื้นฐาน สําหรับการเรียนรู
และ การใชงานจริงในชีวิตประจําวัน

ผลงาน
         ระบบคลังขอมูลภูมิปญญาทองถิ่น ดวย Open source system
         มาตรฐานเมทาดาทาสําหรับการจัดเก็บขอมูลเอกสารโบราณ(พับสา ใบลาน) ขอมูล
         สมุนไพรพื้นบาน สําหรับการแลกเปลี่ยนระหวางชุมชนในอนาคต
         ระบบ e-shelf ที่บริการ virtual library catalog สําหรับการสืบคนขอมูลของเยาวชนและ
         ชุมชน และระบบบริการขอมูลผาน CD ROM
         การใชงานระบบ จด-จํา (Community Knowledge Blog and MediaWiki) ในชุมชน
         ตนแบบการนํา NSTDA KM เพื่อประโยชนในการบริการขอมูลที่ชุมชนตองการในการ
         แกปญหา หรือการพัฒนาสิงแวดลอมและความเปนอยูในชุมชน
                                    ่
         หองสมุดชุมชนตนแบบ 3 แหง ไดแก ชุมชนบานแปนโปงชัย อ.แจหม จ.ลําปาง
                                                                            
         ชุมชนบานปาเหมี้ยง อ.เมืองปาน จ.ลําปาง ชุมชนบานสามขา อ.แมทะ จ.ลําปาง




STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
- 10 -

                                                      โครงการริเริ่ม ศวท.องคกรเรียนรู

         การกาวไปสูจดมุงหมายขององคกร
                       ุ                        จําเปนตองอาศัยองคประกอบที่เกื้อกูลกันระหวาง
วิสัยทัศน นโยบาย คน สภาพแวดลอมในการทํางาน งบประมาณและความจําเปนพืนฐานที่              ้
สนับสนุน การปรับตัวเขาสูสภาพแวดลอมใหมในสังคมที่ไรพรมแดนและเต็มไปดวยการแขงขัน
นั้น เฟองทุกตัวขององคกรจะตองหมุนไปในทิศทางและในจังหวะที่สอดรับกัน เพื่อใหไดผลลัพธที่
ทําใหกาวไปขางหนาไดอยางเชื่อมั่นและมันคง ในองคประกอบ “คน” มีคุณคาและมีความหมายทีมี
                                          ่                                                    ่
นัยสําคัญอยางยิ่งตอความสําเร็จของงานและองคกร            องคกรแหงการเรียนรูจะเกิดเปนจริงได
จําเปนตองอาศัยปจจัย “คน” เปนแรงขับเคลื่อน

         ศวท. เปนหนวยงาน สวทช. ที่ทําหนาที่รวบรวมและบริการความรูสําหรับบุคลากร ภายใน
และภายนอกองคกร การบรรลุเปาประสงคดังกลาว ตองเริ่มจากการเรียนรูภายใน คือ การเปน
ตนแบบของการกาวไปสูองคกรแหงการเรียนรูของ สวทช. ในอนาคต ศวท. นําแนวทางของ
พุทธศาสตร การเรียนรูดวยภูมิปญญา (Constructionism) และแนวคิดในการบริหารองคกรดวย The
                        
Fifth Disciplines ของ Peter Senge เปนหลักในการปฏิบัติ ประกอบดวย
              1. แนวคิดดานพุทธศาสตร
              2. ทฤษฎีการเรียนรู (Constructionism) ของ Prof. Seymour Papert จาก MIT
              3. The Fifth Disciplines โดย Prof. Peter Senge จาก Harvard University

ผลงาน
         ศวท. เปนองคกรแหงการเรียนรู




STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
- 11 -

                        โครงการอนุรักษพนธุกรรมพืช อันเนืองมาจากพระราชดําริ
                                        ั                ่
                               สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
                             คลังขอมูล พรรณไม งานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน

        สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดมีพระราชดําริในการดําเนินงาน
โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริฯ มาตั้งแตป 2535 และไดพระราชทาน
พระราชดําริเปนแนวทางดําเนินงานตอเนืองมาเปนลําดับจนถึงปจจุบน
                                      ่                         ั    เพื่อกําหนดกรอบแนว
ทางการดําเนินงาน เนนและใหความสําคัญของวิชาการทุกสาขา และใหความสําคัญกับการพัฒนา
รวบรวมขอมูลสารสนเทศเรื่องการอนุรกษพันธุกรรมพืช และงานวิจยพืชประจําถิ่น ใหมีเมทาดาทา
                                    ั                         ั
ระบบเดียวกัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงานการเรียนรูทรัพยากรในโรงเรียนและทองถิ่น
และการสรางจิตสํานึกในการอนุรกษพันธุกรรมพืช การเรียนรูและแลกเปลี่ยนความรูระหวางกัน
                              ั
ควบคูไปกับการปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารประโยชนการและใชขอมูลอยางเปน
สากล

         ศวท. กําหนดแผนงานเพื่อสนองพระราชดําริในการดําเนินงานโครงการอนุรักษพันธุกรรม
พืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อันสอดคลองกับ
แผนแมบทโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชฯ1 ระยะที่ 5 ปที่ 4 (ตุลาคม พ.ศ. 2549 - กันยายน พ.ศ.
2554) กิจกรรมที่ 5 ศูนยขอมูลพันธุกรรมพืช และกิจกรรมที่ 7 การมีจิตสํานึกในการอนุรักษ
พันธุกรรมพืช โดยเฉพาะในสวนของงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน การรวบรวม การบริหาร
จัดการขอมูล และการใชประโยชนจากขอมูล ศวท. จึงเสนอระบบการบริหารจัดการคลังขอมูลงาน
ศึกษาและใชประโยชนพรรณไม งานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน ในโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืช
อันเนื่องมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อใชประโยชนใน
การสรางจิตสํานึกการอนุรักษพันธุกรรมพืชตามแนวพระราชดําริ โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศใน
การจัดทําระบบขอมูลการศึกษาพรรณไม ที่สามารถเชื่อมตอและแลกเปลี่ยนขอมูลกันไดระหวาง
โรงเรียนสมาชิกและระหวางโรงเรียนสมาชิกกับศูนยฯ ในอินเทอรเน็ต พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อ


1   แผนแมบทฯ หนา 36 หนวยงานลําดับที่ 55


STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
- 12 -

บริหารจัดการขอมูลการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ พัฒนาเครือขายสนับสนุนการเรียนรู
ดานเทคโนโลยีและชีวภาพรวมกับ สวทช. เพื่อพัฒนาศักยภาพและคุณภาพสิ่งประดิษฐของนักเรียน
ในโรงเรียนสมาชิกสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน

ผลงาน
         ระบบคลังขอมูลงานศึกษาพรรณไมและการใชประโยชนที่เปนฐานขอมูลกลางในการ
         รวบรวม จัดเก็บขอมูลพรรณไมของประเทศไทย บนมาตรฐานเมทาดาทา และ
         Open source และสามารถใชประโยชนรวมกันระหวางสถาบันการศึกษา หนวยราชการ
         ตลอดจนภาคเอกชนที่มีการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการใชประโยชนจากพันธุกรรมพืช
         ระบบฐานขอมูลงานศึกษาพรรณไมและการใชประโยชน ที่สามารถใชงานรวมกันระหวาง
         โรงเรียนบนเครือขายสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน บนระบบ
         สามารถตอเชื่อมผลงานของนักเรียนกับ NSTDA Knowledge Repository ใหเกิดมูลคาเพิ่ม
         และนําไปใชในชุมชน เปนตัวอยางการพัฒนาทรัพยากรไทย ผันสูวิถีใหมบนฐานไทยใน
         ระดับโรงเรียน
         เครือขายสนับสนุนการทํางานของโรงเรียนสมาชิกสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน
         ตนแบบการใช OLPC (One Laptop Per Child) สําหรับ
         งานการเก็บขอมูลพรรณไมและการใชประโยชนจาก
         โรงเรียนตนแบบ จํานวน 3 โรงเรียน ไดแก โรงเรียน
         วัดโยธีฯ โรงเรียนวัดธรรมปญญา จ.นครนายก
         โรงเรียนบานสามขา อ.แมทะ จ.ลําปาง




STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
- 13 -

                                                      ฐานขอมูลวิทยานิพนธไทย

          แหลงรวมงานวิจัยจากวิทยานิพนธ สําหรับศึกษาสถานภาพของการทําวิทยานิพนธของ
ประเทศไทย ตรวจสอบหัวขอวิทยานิพนธเพื่อไมใหเกิดความซ้ําซอน ทําใหผลงานวิจยวิทยานิพนธ
                                                                            ั
มีหัวขอใหมและมีความทันสมัย ฐานขอมูลวิทยานิพนธไทยรวบรวมบทคัดยอวิทยานิพนธ ตั้งแต
ป พ.ศ. 2535 จนถึงปจจุบน จากสถาบันอุดมศึกษาภาครัฐและเอกชน 80 แหง มีขอมูลมากกวา
                           ั                                                  
80,000 ระเบียน ขอมูลที่บันทึกในฐานขอมูลไดนําไปวิเคราะหเพือสรางคลังศัพท และกําหนด
                                                             ่
หมวดวิชา สราง Taxonomy ตัวแทนความรูวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคมศาสตร จากสาขาที่มี
การทําวิทยานิพนธในประเทศไทย นําไปประยุกตมาตรฐานศัพท เพือประโยชนในการสรางดัชนี
                                                               ่
หัวเรื่อง       เกณฑมาตรฐานการลงรายการชื่อหนวยงาน        สาขาวิชา       ตามกลุมภารกิจ
กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี          และเปนเกณฑมาตรฐานสําหรับการจัดการความรูของ
ประเทศไทย




STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
- 14 -

                           โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศทัณฑสถาน
      ตามพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

          สืบเนื่องจากโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศทัณฑสถาน             หนึงในโครงการยอยของ
                                                                      ่
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ที่ไดพระราชทานเครื่องคอมพิวเตอรพรอมอุปกรณ และหองเรียนแกทัณฑสถานตางๆ เชน
ทัณฑสถานหญิงกลาง บางเขน ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง เรือนจําพิเศษกรุงเทพมหานคร และ
เรือนจํากลางคลองเปรม ตั้งแตป พ.ศ. 2542 นั้น ศูนยบริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี หรือ
ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในปจจุบัน ไดมีสวนรวมในการฝกสอนผูตองขัง
เรียนรูทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศ และจัดสงงานพิมพใหแกผูตองขัง ใหสามารถใชความรูที่ได
จากโครงการปฏิบัติงานจริง ทั้งงานพิมพ งานออกแบบกราฟก งานบันทึกสื่อมัลติมีเดีย เพื่อใหเกิด
ความชํานาญและพรอมที่จะนําความรูความสามารถไปใชในการประกอบอาชีพเมื่อพนโทษ

ผลงาน
              ฐานขอมูลวิทยานิพนธไทย
              ฐานขอมูลสารบัญวารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
                 วารสารภาษาไทย
                 วารสารภาษาอังกฤษ
                 ฐานขอมูลจดหมายเหตุดจิทล สวทช.
                                      ิ ั
                 หนังสือเสียงระบบเดซี
                 รายไดมอบโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามพระราชดําริ




STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
- 15 -

                                                                      JournalLink

          JournalLink (JL) คือ ฐานขอมูลชี้แหลงวารสารในประเทศไทย เกิดจากความรวมมือ
ระหวางหองสมุดตางๆ 211 แหงทัวประเทศไทย รวบรวมรายชื่อวารสารภาษาไทย/อังกฤษ 17,500
                                  ่
ชื่อ มีวัตถุประสงคหลักเพื่อใชทรัพยากรสารสนเทศรวมกัน ใหเกิดประโยชนและความคุมคาทาง
เศรษฐกิจของประเทศ Journallink เกิดจากความรวมมือระหวาง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สกว. และ
สวทช. โดยออกแบบใหหองสมุดเครือขายนําเขาและปรับปรุงขอมูลเอง ในระบบออนไลน
ผูใชบริการสามารถสืบคนหาแหลงบริการ และสั่งเอกสารพรอมชําระคาบริการลวงหนาดวยตนเอง
ไดอยางสะดวก ทันสมัย และรวดเร็ว และขอใชบริการจากหองสมุดออนไลนผานระบบบัตร PIN
ทางอินเทอรเน็ต ที่ www.journallink.or.th




STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
- 16 -

                                                               บริการเอกสารฉบับเต็ม

         บริการเสริมเพื่อรองรับความตองการแหลงความรูของผูใชบริการแบบครบวงจร ศวท. จึง
เปนสื่อกลางในการติดตอหนวยบริการเอกสาร                จากแหลงพันธมิตรคุณภาพทั้งภายในและ
ตางประเทศ เชน The British Library Document Supply Services เปนตน ทําให ศวท. เปนแหลง
จัดหาความรูใหแกผูบริหาร นักวิจัย และผูใชทั่วไปไดรวดเร็วสามารถมีความรูเพื่อประกอบธุรกิจ
และการบริหารที่มีคุณภาพ

         ความรูหลายรูปแบบ จากเอกสารวิชาการทุกประเภท
         •    บทความจากหนังสือและวารสาร รายงานการประชุม/การวิจย
                                                              ั
         •    บริการยืมหนังสือจากในและตางประเทศ
         •    สิทธิบัตร
         •    สั่งซื้อสําเนาวิทยานิพนธ
         •    สั่งซื้อหนังสือจากตางประเทศทั่วโลก
         ชองทางการใหบริการ
          •    E-Mail: ratana@nstda.or.th, ilada@nstda.or.th
          •    Fax: 0-2564-7060
          •    Telephone: 0-2564-7000 ตอ 1237
          •    เคานเตอรบริการศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี:
               อาคารสวนงานกลาง ชั้น 2 หอง 206 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย
               ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120




STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
- 17 -

                                                                        บริการหองสมุด


บริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
         สงรอน สงไว STKS Delivery บริการจัดสงอาหารสมองที่ตองการถึงมือผูใชบริการ โดย
แจงชื่อหนังสือที่ตองการมาที่ dds@nstda.or.th หรือ 0-2564-7000 ตอ 1244 เพียงเทานี้อาหารสมอง
สดๆ รอนๆ จะสงถึงมือโดยไมเสียคาใชจายใดๆ ทั้งสิ้น

บริการหองสมุด/บริการออนไลน /Call center
        ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดจัดบริการหองสมุดตั้งแต ป 2539
บริการหนังสือ วารสาร รายงาน วิทยานิพนธ สือโสตทัศนวัสดุ บริการพื้นที่อาน บริการ
                                                ่
อินเทอรเน็ต LAN/Wifi บริการถายสําเนา บริการนิทรรศการ บริการแนะนําสิ่งพิมพใหม บริการ
โปรแกรม/ซอฟตแวร บริการที่ประชุม บริการถามตอบ นอกจากนี้ยังไดจัดบริการ Library Catalog
ฐานขอมูลออนไลน บริการวารสารอิเล็กทรอนิกส ฐานขอมูลที่ผลิตเองไดแก ฐานขอมูล
วิทยานิพนธไทย ฐานขอมูล JournalLink บริการตาม พ.ร.บ. ขอมูลขาวสารของราชการ รับบริการ
ทั้งหมดไดที่ สวทช. อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย และอาคารโยธี และออนไลนตลอดเวลาจาก
www.stks.or.th




STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
- 18 -

                                                                 สัมมนา ฝกอบรม ศวท.

       สัมมนา และฝกอบรมเกี่ยวกับแหลงบริการสารสนเทศ/ความรูและการจัดการความรู ไมซํา  ้
ใคร สําหรับผูใชบริการกลุมเปาหมาย เพื่อพัฒนาศักยภาพผูใหบริการ และเพื่อบริการสังคมโดย
การบริการ และแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณระหวางบุคลากรวิชาชีพบรรณารักษศาสตร
และสารสนเทศศาสตร รวมทั้งการฝกงานนักศึกษาบรรณารักษศาสตร สารสนเทศศาสตร และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ

หัวขอสัมมนา

         บริการหองสมุดและสารสนเทศ

        การประชาสัมพันธ แนะนํา อบรม การใชทรัพยากรสารสนเทศ และฐานขอมูลตางประเทศ
บริการขอมูลสิทธิบัตร และการทําแผนทีสิทธิบัตร
                                    ่
         การจัดทําสารสนเทศวิเคราะห รายงานดัชนีวรรณกรรม

         พัฒนาและบริการสื่อสาระดิจิทัล
         แนะนําแหลงความรูจากสื่อในอินเทอรเน็ต เชน Wikipedia Blogs และ Google
         แนะนําเทคโนโลยีใหมเพื่อสรางตระหนักในการแสวงหาทางเลือกในการจัดหา จัดการและ
เขาถึงความรู ไดแก การสงเสริมการใช Open source
         การจัดทํา E-book การใช Open source software ในการบริหารจัดการ บริการทรัพยากรความรู

         งานจัดการความรู

       การอบรมมาตรฐานการจัดการความรูดิจิทล การฝกอบรมเชิงปฏิบัติการการใชเมทาดาทา
                                          ั
และดับลินคอร




STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
- 19 -


                                                                            อัตราคาบริการ

สืบคนฐานขอมูลออนไลน
              นักศึกษาปริญญาตรี             300.00 บาท   (10 - 25 ระเบียน   พรอมบทคัดยอ)
              นักศึกษาปริญญาโท              500.00 บาท   (10 - 25 ระเบียน   พรอมบทคัดยอ)
              ราชการ (รวม สวทช.)            900.00 บาท   (10 - 25 ระเบียน   พรอมบทคัดยอ)
              เอกชน/รัฐวิสาหกิจ           1,800.00 บาท   (10 - 25 ระเบียน   พรอมบทคัดยอ)
บริการเอกสาร
         คาบริการสั่งซื้อ
             หนังสือ/เอกสาร/รายงานการประชุม 200.00       บาท/เรื่อง
             วิทยานิพนธตางประเทศ        2,900.00       บาท
             วิทยานิพนธไทย                 500.00       บาท
             วารสารตางประเทศ ราชการ        750.00       บาท
                                   ดวน 3,400.00         บาท
                                 เอกชน      950.00       บาท
                                   ดวน 3,600.00         บาท
             สิทธิบัตร                      750.00       บาท
         บริการถายเอกสาร
             เอกสารมีที่ ศวท.                 2.00       บาท/หนา (ถายเอกสารเอง)
                                           100.00        บาท/เรื่อง (บริการออนไลนและ
                                                         เจาหนาที่บริการ ไมเกิน 30 หนา)
             เอกสารในประเทศ (ภายนอก ศวท.) 500.00         บาท/เรื่อง
         ยืมระหวางหองสมุด
             ตางประเทศ                 2,000.00         บาท
             ในประเทศ                     500.00         บาท




STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
การเดินทาง
รถเมล: 39 ปอ. 29 ปอ. 39 ปอ. 510 และ
ปอ. 520
รถตู ทารถ BTS หมอชิต NGV
         และทารถอนุสาวรียชัย

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandMOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandBoonlert Aroonpiboon
 
Technology for National Document Preservation
Technology for National Document PreservationTechnology for National Document Preservation
Technology for National Document PreservationRachabodin Suwannakanthi
 
Library Web Design for Digital Era
Library Web Design for Digital EraLibrary Web Design for Digital Era
Library Web Design for Digital EraBoonlert Aroonpiboon
 

Mais procurados (20)

20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
The 21st century-online-media
The 21st century-online-mediaThe 21st century-online-media
The 21st century-online-media
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
Digital Archives Management
Digital Archives ManagementDigital Archives Management
Digital Archives Management
 
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandMOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
 
The 21st Century Library Website
The 21st Century Library Website The 21st Century Library Website
The 21st Century Library Website
 
Nectec Digital Archive Concept
Nectec Digital Archive ConceptNectec Digital Archive Concept
Nectec Digital Archive Concept
 
Technology for National Document Preservation
Technology for National Document PreservationTechnology for National Document Preservation
Technology for National Document Preservation
 
Wat Makutkasattriyaram e-museum
Wat Makutkasattriyaram e-museumWat Makutkasattriyaram e-museum
Wat Makutkasattriyaram e-museum
 
Personal Digital Archives Development
Personal Digital Archives DevelopmentPersonal Digital Archives Development
Personal Digital Archives Development
 
Personal Digital Library Development
Personal Digital Library DevelopmentPersonal Digital Library Development
Personal Digital Library Development
 
Digital Museum
Digital MuseumDigital Museum
Digital Museum
 
Open Digital Education
Open Digital EducationOpen Digital Education
Open Digital Education
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
asean-library-ict
asean-library-ictasean-library-ict
asean-library-ict
 
The 21st Century Library
The 21st Century LibraryThe 21st Century Library
The 21st Century Library
 
Library Web Design for Digital Era
Library Web Design for Digital EraLibrary Web Design for Digital Era
Library Web Design for Digital Era
 
Copyright : Digital Media
Copyright : Digital MediaCopyright : Digital Media
Copyright : Digital Media
 

Destaque (8)

Social Networking For Organizations
Social Networking For OrganizationsSocial Networking For Organizations
Social Networking For Organizations
 
20150327 newsletter-april-2015
20150327 newsletter-april-201520150327 newsletter-april-2015
20150327 newsletter-april-2015
 
NSTDA Annual Report-2002
NSTDA Annual Report-2002NSTDA Annual Report-2002
NSTDA Annual Report-2002
 
NSTDA Annual Report-2001
NSTDA Annual Report-2001NSTDA Annual Report-2001
NSTDA Annual Report-2001
 
Koha & Openbiblio
Koha & OpenbiblioKoha & Openbiblio
Koha & Openbiblio
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 27, ประจำเดือนมิถุนายน 2558
สาระวิทย์ ฉบับที่ 27, ประจำเดือนมิถุนายน 2558สาระวิทย์ ฉบับที่ 27, ประจำเดือนมิถุนายน 2558
สาระวิทย์ ฉบับที่ 27, ประจำเดือนมิถุนายน 2558
 
STKS Initiative
STKS InitiativeSTKS Initiative
STKS Initiative
 
Climate change and Thailand
Climate change and ThailandClimate change and Thailand
Climate change and Thailand
 

Semelhante a STKS Handbook

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้TDew Ko
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
information management training
information management traininginformation management training
information management trainingsomying yamyim
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2Warakon Phommanee
 
Information Technology for Knowledge society
Information Technology for Knowledge societyInformation Technology for Knowledge society
Information Technology for Knowledge societyBoonlert Aroonpiboon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 

Semelhante a STKS Handbook (20)

Introduction to STKS, Thailand
Introduction to STKS, ThailandIntroduction to STKS, Thailand
Introduction to STKS, Thailand
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
NECTEC Annual Report 2014
NECTEC Annual Report 2014NECTEC Annual Report 2014
NECTEC Annual Report 2014
 
Thai Research
Thai ResearchThai Research
Thai Research
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
TISTR-KLC presentation 2011-th
TISTR-KLC presentation 2011-thTISTR-KLC presentation 2011-th
TISTR-KLC presentation 2011-th
 
e-Commerce
e-Commercee-Commerce
e-Commerce
 
information management training
information management traininginformation management training
information management training
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2
 
Information Technology for Knowledge society
Information Technology for Knowledge societyInformation Technology for Knowledge society
Information Technology for Knowledge society
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
Educational Media Apply
Educational Media ApplyEducational Media Apply
Educational Media Apply
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
e-Government Thailand
e-Government Thailande-Government Thailand
e-Government Thailand
 
In honour of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn on the Occasion of Her Fifth...
In honour of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn on the Occasion of Her Fifth...In honour of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn on the Occasion of Her Fifth...
In honour of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn on the Occasion of Her Fifth...
 
S&T with NSTDA
S&T with NSTDAS&T with NSTDA
S&T with NSTDA
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 

Mais de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

Mais de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
 

STKS Handbook

  • 1.
  • 2.
  • 3. TIAC ศูนยบริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี (Technical Information Access Center- TIAC) ไดจดตั้งเมื่อ วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2531 เปนโครงการความรวมมือระหวางรัฐบาลไทยกับ ั รัฐบาลสหรัฐอเมริกา โดยไดรับการสนับสนุนงบประมาณเงินกูและเงินชวยเหลือแบบใหเปลา เพือ ่ ริเริ่มบริการฐานขอมูลและขาวสารสําหรับการพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี ธุรกิจ และ อุตสาหกรรมของประเทศไทย ในรูปเครือขายความรวมมือในการแลกเปลี่ยนและใชทรัพยากร รวมกัน ลดตนทุนสารสนเทศจากตางประเทศ เปนหนวยงานบริการสารสนเทศแหงแรกของ ประเทศไทยทีบริการเชิงพาณิชยแตไมหวังผลกําไร สรางเครือขายหองสมุด ผูใหบริการและ ่ ผูใชบริการ สรางสรรคบริการและเทคโนโลยีใหม สนองและเติมเต็มแกสังคมสารสนเทศอยาง ตอเนื่อง เปดตัว ป 2533 ฐานขอมูลออนไลนตางประเทศ อาคารสํานักงาน ชั้น 8 ศูนยการคาเซ็นทรัลพลาซา ลาดพราว 804 ถนนพหลโยธิน บางเขน กรุงเทพฯ 10900 โทร 541-1704-6 โทรสาร 276-1326 บริการสืบคนฐานขอมูลออนไลนจากตางประเทศ และบริการฝกอบรมแนะนําฐานขอมูล บริการที่ปรึกษาการสืบคนขอมูล ขยาย ป 2534 บริการเอกสารฉบับเต็ม อาคารวิทยพัฒนา ชั้น 6 หอง 602 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ซอยจุฬาลงกรณ 12 ถนนพญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร 216-8801-4 โทรสาร 216-8800 www.tiac.or.th บริการเอกสารฉบับเต็มจากฐานขอมูล CD-ROM ครั้งแรกในประเทศไทย และบริการซื้อ หนังสือและฐานขอมูล CD-ROM จากตางประเทศ บริการสืบคนวารสารและฐานขอมูลสหวารสาร
  • 4. -2- ออนไลน หองสมุดเสมือนครั้งแรก รับจัดทําฐานขอมูลใหตางหนวยงาน ฐานขอมูล วิทยานิพนธไทย 2540 ความริเริ่มจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล และ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เติมเต็ม ป 2539 หองสมุดวารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อาคารสวทช. สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ 73/1 ถนนพระราม 6 ราชเทวี พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร 02 644 8150-89 โทรสาร 02 644 8038-39 www.tiac.or.th สูหองสมุดดิจทัล วารสารตางประเทศฉบับพิมพ 1600 ชื่อ และซีด-รอม 1000 ชื่อ บริการ ิ ี วารสารภาษาไทยจากฐานขอมูลสารบัญวารสารออนไลน ฐานขอมูลสารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน ในพระราชประสงคของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหว CD-ROM ฉบับแรก วารสารปญญาวุธ ั ST-NETโครงการเรียนออนไลน Cybertools for Research รวมกับมหาวิทยาลัยมหิดลและTGIST ผูนําดับลินคอร เมทาดาทา ใชครั้งแรกสําหรับฐานขอมูลงานวิจยของประเทศไทย 4 สถาบัน ั ผูนํามาตรฐานสากล ป 2545 หองสมุดเสมือน คลังความรู จดหมายเหตุดิจิทัล อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย 111 ถนนพหลโยธิน ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 โทร 02 564 7000 โทรสาร 02 564 7060 www.tiac.or.th ศูนยประสานงาน APIN-Unesco Asia-Pacific Information Network - 2546 JournalLink - 2547 ศูนยความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (STKC) - 2547 บริการวารสารอิเล็กทรอนิกส - 2549 สารสนเทศวิเคราะห - 2550 Chemtrack STKC One Search จดหมายเหตุดิจทัล สวทช. ิ STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
  • 5. -3- STKS: ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี www.stks.or.th ป 2551 ศูนยบริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี เปลี่ยนชื่อเปนศูนยบริการ ความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Science and Technology Knowledge Services: STKS/ ศวท.) ขยายบริการและปรับภารกิจเพื่อสังคมความรูดิจิทลแบบเปด สรางเวทีแลกเปลี่ยนความรูใน ั อินเทอรเน็ต เพิ่มคุณคาการวิจัย การเรียนรู ขยายบริการสูสังคมชนบทและผูดอยโอกาส สรางและ ขยายโอกาสบันทึกความรูวทยาศาสตรในภูมิปญญาไทยใหปรากฎแกสาธารณะ ทุกคนเขาถึงความรู ิ และใชงานสะดวก วิสัยทัศน (Vision) ศูนยรวมความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อบริการแกชุมชนวิจย ผูสรางนวัตกรรม ั และภาคการผลิตในการสรางขีดความสามารถ และยกระดับศักยภาพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ของประเทศไทย พันธกิจ (Mission) 1. หองสมุดมีแหลงความรูทุกรูปแบบของไทยและตางประเทศที่ทันสมัยระดับสากล 2. ศูนยกลางบริการฐานขอมูลวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทดีที่สดของประเทศไทย ี่ ุ 3. บริการทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลแบบออนไลน เขาถึงสะดวก ไมจํากัดสถานที่ บุคคล และเวลา 4. สรางพันธมิตรการจัดการองคความรู สูสังคมความรู การเรียนรูและภูมิปญญา STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
  • 6. -4- กิจกรรมและบริการ งานบริการความรู งานพัฒนาและบริการ งานจัดการความรู งานบริหารจัดการทั่วไป และหองสมุด สื่อสาระดิจิทัล (Knowledge Management) (General Administration) (Knowledge and Library (Digital Content Services) Development and Services) บริการ ความรู ออกแบบพัฒนาและ บริหารจัดการความรูและ บริหาร จัดการ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี บริการสื่อสาระดิจิทัล ศึกษา ฐานขอมูลของ สวทช. งบประมาณ การเงิน ธุรการ เนนความรูเพื่อการวิจัย และถายทอดเทคโนโลยี พัฒนาเครื่องมือจัดการ และระบบงานภายใน จัดหา สงเสริมและพัฒนา เพื่อประยุกตในงานจัดการ ความรูตามมาตรฐานสากล หนวยงาน รวมทัง ้ ทักษะการใชทรัพยากร ความรูและการบริการ เพื่อประยุกต และถายทอด ประสานงานความรวมมือ เพื่อบริการภายใน สวทช. อยางเหมาะสมทั้งฮารดแวร เทคโนโลยีสําหรับงาน กับหนวยงานอื่นๆ รวมเครือขาย และซอฟตแวร บริหารจัดการความรูของ ทั้งภายในและภายนอก กระทรวงวิทยาศาสตรและ องคกร สวทช. เทคโนโลยี STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
  • 7. -5- การจัดการความรูและคลังความรู สวทช. ระบบเปด การจัดการความรู สวทช. เริ่มดําเนินการโดย ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและ คอมพิวเตอรแหงชาติ (NECTEC) รวมกับศูนยพนธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชวภาพแหงชาติ ั ี (BIOTEC) จัดการคลังความรู (Knowledge Repository – KR) กําหนดความตองการและออกแบบ ใชเปนกิจกรรมแรกของการใช KM เพื่อประโยชนของพนักงาน สวทช. คูขนานไปกับการเพิ่ม มูลคาของ สวทช. ในการจัดการความรู และการสรางวัฒนธรรมการแบงปน ปจจุบันศูนยบริการ ความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมกับ NECTEC และ BIOTEC ดําเนินการระบบเพือ ่ สนับสนุนกิจกรรมการจัดการความรูและคลังความรู สวทช. ระบบเปด และสนับสนุนการใชความรู เพื่อพัฒนาองคกรและประเทศไดอยางเต็มประสิทธิภาพ ผลงาน พัฒนาระบบคลังความรูดวยการใชโอเพนซอรสซอฟตแวร โดยใช DSpace และ Greenstone เปนระบบจัดการหลัก ผสมผสานกับระบบอื่น เชน Blog Wiki e-Research e-Knowledge และ e-Learning STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
  • 8. -6- แผนที่ความรู ความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีเผยแพรในแหลงขอมูลที่สําคัญหลายแหลง เชน บทความวิชาการวิทยาศาสตร มีการพัฒนาการอยางรวดเร็วจากสื่อสิ่งพิมพ สูสื่ออิเล็กทรอนิกส และ สื่อดิจิทัลในยุคปจจุบัน ผูใชสามารถเขาถึงดวยการสืบคน ฐานขอมูลวิชาการออนไลนไดอยาง  สะดวก รวดเร็ว เอกสาร สิทธิบัตร เปนแหลงขอมูลเทคโนโลยีที่สําคัญ ลักษณะขอมูลที่เปดเผย ไดแก ขอมูลภาพรวมของวิทยาการเบื้องตนของเทคโนโลยี ขอมูลภูมิหลังในประวัติของปญหา ขอมูลที่ระบุปญหา และวิธีการแกปญหา/ขอมูลขอรองสิทธิ์ และขอบเขตของการประดิษฐ ขอมูล ชื่อผูประดิษฐ พันธมิตร คูแขงขัน คําอธิบาย แนวทางการฝกปฏิบัตของการประดิษฐ ปจจุบน ิ ั สิทธิบัตรมีบริการในรูปฐานขอมูลออนไลนมากมาย การวิเคราะหความรูวิชาการ จากเอกสาร บทความวิจัยและสิทธิบัตร (ในปริมาณเอกสารจํานวนมาก ในรูปแฟมอิเล็กทรอนิกส) สามารถ ดําเนินการไดงายดวยเครื่องมือที่ใชเทคโนโลยี Data/Text Mining สามารถประมวลผลไดอยาง ถูกตอง รวดเร็ว สะดวกกวาประมวลผลดวยมือ เปนกิจกรรมที่สําคัญของ ภาคอุตสาหกรรม และ ภาคการวิจัย ทั่วโลกตางใหความสนใจ ผลการ วิเคราะห ชวยใหทราบถึงแนวโนมของเทคโนโลยี ชวยกําหนดแนวทางนโยบายการวิจัยพัฒนา เพื่อ ติดตามนวัตกรรมเทคโนโลยี ผลงาน ศึกษา วิเคราะหเอกสารสิทธิบัตร และ จัดทํารายงานแผนที่สิทธิบตร ในเทคโนโลยี ที่ ั สวทช.จัดเปนโปรแกรมวิจยหลัก เชน เซลล ั แสงอาทิตย โรคติดเชื้ออุบัติใหม ไดแก โรค ไขหวัดนก โรคมาลาเรีย โรคไขเลือดออก เทคโนโลยี RFID CMOS Pressure Sensor และ ไวรัสกุง รวม 7 เรื่อง เผยแพรบนเว็บไซต STKS และ NSTDA ในป 2550 ป 2551 เปาหมายวิเคราะหสิทธิบัตร รวม 12 เรื่อง STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
  • 9. -7- หองสมุดอัตโนมัติระบบเปด ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตระหนักถึงความรูตางๆ ที่สั่งสมมา เปนเวลานาน โดยเฉพาะฐานขอมูลทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยูในหองสมุด ทรัพยากรสารสนเทศ บางเรื่อง หองสมุดอื่นไมมี ศวท. ทําหนาที่เปนแหลงเก็บสิ่งพิมพ สวทช. เพื่อความเปนหนึ่งเดียว รวบรวมผลงานทั้งหมด และนําออกใหบริการไดอยางแพรหลายในอินเทอรเน็ต และผานระบบ หองสมุดอัตโนมัติ พัฒนาระบบหองสมุดอัตโนมัติ ใชโอเพนซอรสซอฟตแวรแบบบูรณาการ (Koha) ทํางาน รวมกับศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ สามารถขยายการเชื่อมโยงกับ ฐานขอมูลอื่นๆ เปนระบบ Shared service ผูใชบริการทั้งภายใน สวทช. และภายนอกสามารถเก็บ เกี่ยวความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดครบสมบูรณ ผลงาน ระบบหองสมุดอัตโนมัติ ตนแบบในการศึกษา และพัฒนาระบบหองสมุดอัตโนมัติที่เปนโอเพนซอรส ซอฟตแวร เปนทางเลือกสําหรับหองสมุด โครงการนี้ สามารถเชื่อมโยงฐานขอมูลตางๆ เพื่อใหบริการระบบ One search ระบบหองสมุดอัตโนมัติ Koha กําหนด บริการภายในป 2551 STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
  • 10. -8- หองสมุดและสื่อดิจิทลระบบเปด ั กระแสความตองการและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) สงผลให ขอมูลในรูปดิจิทัลเปนสื่อที่มีความตองการและใชงานแพรหลาย เกิดความจําเปนในการจัดทําระบบ บริหารจัดการสื่อดิจิทัลในรูปแบบหองสมุดดิจิทัล ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี มีภารกิจในการพัฒนาและบริการสื่อสาระดิจิทัล เห็นความจําเปนในการเผยแพรเนื้อหา ความรูที่ถูกตอง และการพัฒนาสื่อดิจิทัลรูปแบบตางๆ รวมทั้งการพัฒนาหองสมุดดิจิทัลระบบเปด ดวยซอฟตแวรฟรีที่เปดเผยตนฉบับ (Open Source Software) เพื่อลดภาระคาใชจายการจัดซื้อจัดหา  ซอฟตแวร รวมทั้งสงเสริมการเลือกใชซอฟตแวรทไมละเมิดกฏหมายลิขสิทธิ์ ี่ ศวท. จัดทํามาตรฐานการพัฒนาสื่อสาระดิจิทัลรูปแบบตางๆ เชน เอกสารเว็บ สื่อวีดิทัศน สื่อเสียง สื่อมัลติมีเดีย และสื่อเอกสารทั่วไป เผยแพรผานระบบ e-Learning และเอกสารตําราคูมือ นําเสนอความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของ สวทช. ในรูปแบบสื่อดิจิทัลที่เหมาะสม และจัดเก็บ ดวยโปรแกรมจัดการหองสมุดดิจิทัลระบบเปดดวยซอฟตแวร เชน Greenstone สงเสริม แนะนําให ความรูเกี่ยวกับการพัฒนาสือสาระดิจิทัลมาตรฐานใหหนวยงานพันธมิตร และหนวยงานสาธารณะ ่ เพื่อใหเปนคลังความรูดิจิทัลของประเทศ ผลงาน ป 2551 ศวท. เริ่มพัฒนาเว็บไซตของหนวยงานดวย Open Source CMS (Content Management System) ภายใต URL http://www.stks.or.th พัฒนาสื่อดิจิทัลผลงานของศวท. และ สวทช. โดยเลือกใชโปรแกรมในกลุม Open Source ตางๆ เผยแพรผานหมวดเนือหา หองเรียน ้ ออนไลน คลังความรู คลังภาพ และคลังสื่อนําเสนอ นอกจากนี้ไดพัฒนาระบบบริหารจัดการความรู ของบุคลากร STKS ผาน Blog และสรุปความรูจาก Blog เปนเนื้อหาสาระความรูในรูปแบบ Wiki ดวยซอฟตแวร Wordpress และ MediaWiki ซึ่งเปนซอฟตแวรกลุม Open Source STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
  • 11. -9- คลังขอมูลภูมิปญญาทองถิ่น ประเทศไทยมีวัฒนธรรมที่เปนเอกลักษณ และมีภมปญญาพื้นบานมาตั้งแตอดีตจนถึง ู ิ ปจจุบัน แตเนืองจากการเปลียนแปลงของเทคโนโลยี พรอมการเกิดประเด็นอุบัตใหมในสังคมและ ่ ่ ิ ระบบเศรษฐกิจ ทําใหภูมปญญาพื้นบานและวัฒนธรรมทองถิ่นลดความสําคัญลงไปจากวิถีชวตของ ิ  ีิ คนไทยอยางรวดเร็ว และบางอยางไดสูญสลายโดยคนไทยสวนใหญ อาจไมตระหนัก โครงการนํา รองเพื่อรวมศึกษาประเด็นของปญหา ความตองการความรูในชุมชนทีนามาสูการเรียนรูใน ่ ํ การแกไขปญหา โดยเฉพาะการประสานความรูภายใน สวทช. เพื่อนําไปปรับใชในชุมชน ตนแบบ และความรูจากการศึกษานี้ เปนประโยชนในการพิจารณาองคประกอบที่จําเปนสําหรับการพัฒนา ขอมูลและจัดการความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และเปนอุปกรณพื้นฐาน สําหรับการเรียนรู และ การใชงานจริงในชีวิตประจําวัน ผลงาน ระบบคลังขอมูลภูมิปญญาทองถิ่น ดวย Open source system มาตรฐานเมทาดาทาสําหรับการจัดเก็บขอมูลเอกสารโบราณ(พับสา ใบลาน) ขอมูล สมุนไพรพื้นบาน สําหรับการแลกเปลี่ยนระหวางชุมชนในอนาคต ระบบ e-shelf ที่บริการ virtual library catalog สําหรับการสืบคนขอมูลของเยาวชนและ ชุมชน และระบบบริการขอมูลผาน CD ROM การใชงานระบบ จด-จํา (Community Knowledge Blog and MediaWiki) ในชุมชน ตนแบบการนํา NSTDA KM เพื่อประโยชนในการบริการขอมูลที่ชุมชนตองการในการ แกปญหา หรือการพัฒนาสิงแวดลอมและความเปนอยูในชุมชน ่ หองสมุดชุมชนตนแบบ 3 แหง ไดแก ชุมชนบานแปนโปงชัย อ.แจหม จ.ลําปาง  ชุมชนบานปาเหมี้ยง อ.เมืองปาน จ.ลําปาง ชุมชนบานสามขา อ.แมทะ จ.ลําปาง STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
  • 12. - 10 - โครงการริเริ่ม ศวท.องคกรเรียนรู การกาวไปสูจดมุงหมายขององคกร ุ จําเปนตองอาศัยองคประกอบที่เกื้อกูลกันระหวาง วิสัยทัศน นโยบาย คน สภาพแวดลอมในการทํางาน งบประมาณและความจําเปนพืนฐานที่ ้ สนับสนุน การปรับตัวเขาสูสภาพแวดลอมใหมในสังคมที่ไรพรมแดนและเต็มไปดวยการแขงขัน นั้น เฟองทุกตัวขององคกรจะตองหมุนไปในทิศทางและในจังหวะที่สอดรับกัน เพื่อใหไดผลลัพธที่ ทําใหกาวไปขางหนาไดอยางเชื่อมั่นและมันคง ในองคประกอบ “คน” มีคุณคาและมีความหมายทีมี ่ ่ นัยสําคัญอยางยิ่งตอความสําเร็จของงานและองคกร องคกรแหงการเรียนรูจะเกิดเปนจริงได จําเปนตองอาศัยปจจัย “คน” เปนแรงขับเคลื่อน ศวท. เปนหนวยงาน สวทช. ที่ทําหนาที่รวบรวมและบริการความรูสําหรับบุคลากร ภายใน และภายนอกองคกร การบรรลุเปาประสงคดังกลาว ตองเริ่มจากการเรียนรูภายใน คือ การเปน ตนแบบของการกาวไปสูองคกรแหงการเรียนรูของ สวทช. ในอนาคต ศวท. นําแนวทางของ พุทธศาสตร การเรียนรูดวยภูมิปญญา (Constructionism) และแนวคิดในการบริหารองคกรดวย The  Fifth Disciplines ของ Peter Senge เปนหลักในการปฏิบัติ ประกอบดวย 1. แนวคิดดานพุทธศาสตร 2. ทฤษฎีการเรียนรู (Constructionism) ของ Prof. Seymour Papert จาก MIT 3. The Fifth Disciplines โดย Prof. Peter Senge จาก Harvard University ผลงาน ศวท. เปนองคกรแหงการเรียนรู STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
  • 13. - 11 - โครงการอนุรักษพนธุกรรมพืช อันเนืองมาจากพระราชดําริ ั ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี คลังขอมูล พรรณไม งานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดมีพระราชดําริในการดําเนินงาน โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริฯ มาตั้งแตป 2535 และไดพระราชทาน พระราชดําริเปนแนวทางดําเนินงานตอเนืองมาเปนลําดับจนถึงปจจุบน ่ ั เพื่อกําหนดกรอบแนว ทางการดําเนินงาน เนนและใหความสําคัญของวิชาการทุกสาขา และใหความสําคัญกับการพัฒนา รวบรวมขอมูลสารสนเทศเรื่องการอนุรกษพันธุกรรมพืช และงานวิจยพืชประจําถิ่น ใหมีเมทาดาทา ั ั ระบบเดียวกัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงานการเรียนรูทรัพยากรในโรงเรียนและทองถิ่น และการสรางจิตสํานึกในการอนุรกษพันธุกรรมพืช การเรียนรูและแลกเปลี่ยนความรูระหวางกัน ั ควบคูไปกับการปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารประโยชนการและใชขอมูลอยางเปน สากล ศวท. กําหนดแผนงานเพื่อสนองพระราชดําริในการดําเนินงานโครงการอนุรักษพันธุกรรม พืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อันสอดคลองกับ แผนแมบทโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชฯ1 ระยะที่ 5 ปที่ 4 (ตุลาคม พ.ศ. 2549 - กันยายน พ.ศ. 2554) กิจกรรมที่ 5 ศูนยขอมูลพันธุกรรมพืช และกิจกรรมที่ 7 การมีจิตสํานึกในการอนุรักษ พันธุกรรมพืช โดยเฉพาะในสวนของงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน การรวบรวม การบริหาร จัดการขอมูล และการใชประโยชนจากขอมูล ศวท. จึงเสนอระบบการบริหารจัดการคลังขอมูลงาน ศึกษาและใชประโยชนพรรณไม งานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน ในโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อใชประโยชนใน การสรางจิตสํานึกการอนุรักษพันธุกรรมพืชตามแนวพระราชดําริ โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศใน การจัดทําระบบขอมูลการศึกษาพรรณไม ที่สามารถเชื่อมตอและแลกเปลี่ยนขอมูลกันไดระหวาง โรงเรียนสมาชิกและระหวางโรงเรียนสมาชิกกับศูนยฯ ในอินเทอรเน็ต พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อ 1 แผนแมบทฯ หนา 36 หนวยงานลําดับที่ 55 STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
  • 14. - 12 - บริหารจัดการขอมูลการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ พัฒนาเครือขายสนับสนุนการเรียนรู ดานเทคโนโลยีและชีวภาพรวมกับ สวทช. เพื่อพัฒนาศักยภาพและคุณภาพสิ่งประดิษฐของนักเรียน ในโรงเรียนสมาชิกสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน ผลงาน ระบบคลังขอมูลงานศึกษาพรรณไมและการใชประโยชนที่เปนฐานขอมูลกลางในการ รวบรวม จัดเก็บขอมูลพรรณไมของประเทศไทย บนมาตรฐานเมทาดาทา และ Open source และสามารถใชประโยชนรวมกันระหวางสถาบันการศึกษา หนวยราชการ ตลอดจนภาคเอกชนที่มีการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการใชประโยชนจากพันธุกรรมพืช ระบบฐานขอมูลงานศึกษาพรรณไมและการใชประโยชน ที่สามารถใชงานรวมกันระหวาง โรงเรียนบนเครือขายสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน บนระบบ สามารถตอเชื่อมผลงานของนักเรียนกับ NSTDA Knowledge Repository ใหเกิดมูลคาเพิ่ม และนําไปใชในชุมชน เปนตัวอยางการพัฒนาทรัพยากรไทย ผันสูวิถีใหมบนฐานไทยใน ระดับโรงเรียน เครือขายสนับสนุนการทํางานของโรงเรียนสมาชิกสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน ตนแบบการใช OLPC (One Laptop Per Child) สําหรับ งานการเก็บขอมูลพรรณไมและการใชประโยชนจาก โรงเรียนตนแบบ จํานวน 3 โรงเรียน ไดแก โรงเรียน วัดโยธีฯ โรงเรียนวัดธรรมปญญา จ.นครนายก โรงเรียนบานสามขา อ.แมทะ จ.ลําปาง STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
  • 15. - 13 - ฐานขอมูลวิทยานิพนธไทย แหลงรวมงานวิจัยจากวิทยานิพนธ สําหรับศึกษาสถานภาพของการทําวิทยานิพนธของ ประเทศไทย ตรวจสอบหัวขอวิทยานิพนธเพื่อไมใหเกิดความซ้ําซอน ทําใหผลงานวิจยวิทยานิพนธ ั มีหัวขอใหมและมีความทันสมัย ฐานขอมูลวิทยานิพนธไทยรวบรวมบทคัดยอวิทยานิพนธ ตั้งแต ป พ.ศ. 2535 จนถึงปจจุบน จากสถาบันอุดมศึกษาภาครัฐและเอกชน 80 แหง มีขอมูลมากกวา ั  80,000 ระเบียน ขอมูลที่บันทึกในฐานขอมูลไดนําไปวิเคราะหเพือสรางคลังศัพท และกําหนด ่ หมวดวิชา สราง Taxonomy ตัวแทนความรูวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคมศาสตร จากสาขาที่มี การทําวิทยานิพนธในประเทศไทย นําไปประยุกตมาตรฐานศัพท เพือประโยชนในการสรางดัชนี ่ หัวเรื่อง เกณฑมาตรฐานการลงรายการชื่อหนวยงาน สาขาวิชา ตามกลุมภารกิจ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และเปนเกณฑมาตรฐานสําหรับการจัดการความรูของ ประเทศไทย STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
  • 16. - 14 - โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศทัณฑสถาน ตามพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สืบเนื่องจากโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศทัณฑสถาน หนึงในโครงการยอยของ ่ โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ไดพระราชทานเครื่องคอมพิวเตอรพรอมอุปกรณ และหองเรียนแกทัณฑสถานตางๆ เชน ทัณฑสถานหญิงกลาง บางเขน ทัณฑสถานบําบัดพิเศษกลาง เรือนจําพิเศษกรุงเทพมหานคร และ เรือนจํากลางคลองเปรม ตั้งแตป พ.ศ. 2542 นั้น ศูนยบริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี หรือ ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในปจจุบัน ไดมีสวนรวมในการฝกสอนผูตองขัง เรียนรูทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศ และจัดสงงานพิมพใหแกผูตองขัง ใหสามารถใชความรูที่ได จากโครงการปฏิบัติงานจริง ทั้งงานพิมพ งานออกแบบกราฟก งานบันทึกสื่อมัลติมีเดีย เพื่อใหเกิด ความชํานาญและพรอมที่จะนําความรูความสามารถไปใชในการประกอบอาชีพเมื่อพนโทษ ผลงาน ฐานขอมูลวิทยานิพนธไทย ฐานขอมูลสารบัญวารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี วารสารภาษาไทย วารสารภาษาอังกฤษ ฐานขอมูลจดหมายเหตุดจิทล สวทช. ิ ั หนังสือเสียงระบบเดซี รายไดมอบโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามพระราชดําริ STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
  • 17. - 15 - JournalLink JournalLink (JL) คือ ฐานขอมูลชี้แหลงวารสารในประเทศไทย เกิดจากความรวมมือ ระหวางหองสมุดตางๆ 211 แหงทัวประเทศไทย รวบรวมรายชื่อวารสารภาษาไทย/อังกฤษ 17,500 ่ ชื่อ มีวัตถุประสงคหลักเพื่อใชทรัพยากรสารสนเทศรวมกัน ใหเกิดประโยชนและความคุมคาทาง เศรษฐกิจของประเทศ Journallink เกิดจากความรวมมือระหวาง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สกว. และ สวทช. โดยออกแบบใหหองสมุดเครือขายนําเขาและปรับปรุงขอมูลเอง ในระบบออนไลน ผูใชบริการสามารถสืบคนหาแหลงบริการ และสั่งเอกสารพรอมชําระคาบริการลวงหนาดวยตนเอง ไดอยางสะดวก ทันสมัย และรวดเร็ว และขอใชบริการจากหองสมุดออนไลนผานระบบบัตร PIN ทางอินเทอรเน็ต ที่ www.journallink.or.th STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
  • 18. - 16 - บริการเอกสารฉบับเต็ม บริการเสริมเพื่อรองรับความตองการแหลงความรูของผูใชบริการแบบครบวงจร ศวท. จึง เปนสื่อกลางในการติดตอหนวยบริการเอกสาร จากแหลงพันธมิตรคุณภาพทั้งภายในและ ตางประเทศ เชน The British Library Document Supply Services เปนตน ทําให ศวท. เปนแหลง จัดหาความรูใหแกผูบริหาร นักวิจัย และผูใชทั่วไปไดรวดเร็วสามารถมีความรูเพื่อประกอบธุรกิจ และการบริหารที่มีคุณภาพ ความรูหลายรูปแบบ จากเอกสารวิชาการทุกประเภท • บทความจากหนังสือและวารสาร รายงานการประชุม/การวิจย ั • บริการยืมหนังสือจากในและตางประเทศ • สิทธิบัตร • สั่งซื้อสําเนาวิทยานิพนธ • สั่งซื้อหนังสือจากตางประเทศทั่วโลก ชองทางการใหบริการ • E-Mail: ratana@nstda.or.th, ilada@nstda.or.th • Fax: 0-2564-7060 • Telephone: 0-2564-7000 ตอ 1237 • เคานเตอรบริการศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี: อาคารสวนงานกลาง ชั้น 2 หอง 206 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
  • 19. - 17 - บริการหองสมุด บริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สงรอน สงไว STKS Delivery บริการจัดสงอาหารสมองที่ตองการถึงมือผูใชบริการ โดย แจงชื่อหนังสือที่ตองการมาที่ dds@nstda.or.th หรือ 0-2564-7000 ตอ 1244 เพียงเทานี้อาหารสมอง สดๆ รอนๆ จะสงถึงมือโดยไมเสียคาใชจายใดๆ ทั้งสิ้น บริการหองสมุด/บริการออนไลน /Call center ศูนยบริการความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดจัดบริการหองสมุดตั้งแต ป 2539 บริการหนังสือ วารสาร รายงาน วิทยานิพนธ สือโสตทัศนวัสดุ บริการพื้นที่อาน บริการ ่ อินเทอรเน็ต LAN/Wifi บริการถายสําเนา บริการนิทรรศการ บริการแนะนําสิ่งพิมพใหม บริการ โปรแกรม/ซอฟตแวร บริการที่ประชุม บริการถามตอบ นอกจากนี้ยังไดจัดบริการ Library Catalog ฐานขอมูลออนไลน บริการวารสารอิเล็กทรอนิกส ฐานขอมูลที่ผลิตเองไดแก ฐานขอมูล วิทยานิพนธไทย ฐานขอมูล JournalLink บริการตาม พ.ร.บ. ขอมูลขาวสารของราชการ รับบริการ ทั้งหมดไดที่ สวทช. อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย และอาคารโยธี และออนไลนตลอดเวลาจาก www.stks.or.th STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
  • 20. - 18 - สัมมนา ฝกอบรม ศวท. สัมมนา และฝกอบรมเกี่ยวกับแหลงบริการสารสนเทศ/ความรูและการจัดการความรู ไมซํา ้ ใคร สําหรับผูใชบริการกลุมเปาหมาย เพื่อพัฒนาศักยภาพผูใหบริการ และเพื่อบริการสังคมโดย การบริการ และแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณระหวางบุคลากรวิชาชีพบรรณารักษศาสตร และสารสนเทศศาสตร รวมทั้งการฝกงานนักศึกษาบรรณารักษศาสตร สารสนเทศศาสตร และ เทคโนโลยีสารสนเทศ หัวขอสัมมนา บริการหองสมุดและสารสนเทศ การประชาสัมพันธ แนะนํา อบรม การใชทรัพยากรสารสนเทศ และฐานขอมูลตางประเทศ บริการขอมูลสิทธิบัตร และการทําแผนทีสิทธิบัตร ่ การจัดทําสารสนเทศวิเคราะห รายงานดัชนีวรรณกรรม พัฒนาและบริการสื่อสาระดิจิทัล แนะนําแหลงความรูจากสื่อในอินเทอรเน็ต เชน Wikipedia Blogs และ Google แนะนําเทคโนโลยีใหมเพื่อสรางตระหนักในการแสวงหาทางเลือกในการจัดหา จัดการและ เขาถึงความรู ไดแก การสงเสริมการใช Open source การจัดทํา E-book การใช Open source software ในการบริหารจัดการ บริการทรัพยากรความรู งานจัดการความรู การอบรมมาตรฐานการจัดการความรูดิจิทล การฝกอบรมเชิงปฏิบัติการการใชเมทาดาทา ั และดับลินคอร STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
  • 21. - 19 - อัตราคาบริการ สืบคนฐานขอมูลออนไลน นักศึกษาปริญญาตรี 300.00 บาท (10 - 25 ระเบียน พรอมบทคัดยอ) นักศึกษาปริญญาโท 500.00 บาท (10 - 25 ระเบียน พรอมบทคัดยอ) ราชการ (รวม สวทช.) 900.00 บาท (10 - 25 ระเบียน พรอมบทคัดยอ) เอกชน/รัฐวิสาหกิจ 1,800.00 บาท (10 - 25 ระเบียน พรอมบทคัดยอ) บริการเอกสาร คาบริการสั่งซื้อ หนังสือ/เอกสาร/รายงานการประชุม 200.00 บาท/เรื่อง วิทยานิพนธตางประเทศ 2,900.00 บาท วิทยานิพนธไทย 500.00 บาท วารสารตางประเทศ ราชการ 750.00 บาท ดวน 3,400.00 บาท เอกชน 950.00 บาท ดวน 3,600.00 บาท สิทธิบัตร 750.00 บาท บริการถายเอกสาร เอกสารมีที่ ศวท. 2.00 บาท/หนา (ถายเอกสารเอง) 100.00 บาท/เรื่อง (บริการออนไลนและ เจาหนาที่บริการ ไมเกิน 30 หนา) เอกสารในประเทศ (ภายนอก ศวท.) 500.00 บาท/เรื่อง ยืมระหวางหองสมุด ตางประเทศ 2,000.00 บาท ในประเทศ 500.00 บาท STKS Call center 02564 7000 ตอ 1121
  • 22. การเดินทาง รถเมล: 39 ปอ. 29 ปอ. 39 ปอ. 510 และ ปอ. 520 รถตู ทารถ BTS หมอชิต NGV และทารถอนุสาวรียชัย