SlideShare a Scribd company logo
1 of 70
Download to read offline
ICT Technology Trends



  ศาสตราจารย ดร.ไพรัช ธัชยพงษ
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ
                19 มีนาคม 2553
เคาโครงการบรรยาย

1.   เทคโนโลยีในปค.ศ. 2010
2.   วิวัฒนาการของเทคโนโลยีไอซีที
3.   เว็บ 2.0 คืออะไร ?
4.   คุณสมบัตของเว็บ 2.0
               ิ
5.   ตัวอยางเว็บ 2.0
6.   หองสมุด 2.0: วิวัฒนาการของ
     หองสมุด
1. เทคโนโลยีในปค.ศ. 2010
1.    Cloud Computing
2.    Advanced Analytics
3.    Client Computing
4.    IT for Green
5.    Reshaping Data Center
6.    Social Computing
7.    Security – Activity Monitoring
8.    Flash Memory
9.    Virtualization for Availability
10.   Mobile Applications
1.Cloud Computing




•SaaS, PaaS, IaaS, HaaS
2. Advanced Analytics

              •Data warehouse
              •Business Intelligence
              •Advanced Analytics
3. Client Computing

 Thin Clients only need to
 run the operating system
 software locally, and have
 no hard drives or floppy
 drives.


  A Zero Client moves all
  software off the desktop
  to the server, the device
  has no CPU, no memory,
  no operating system and
  no drivers, using
  functionality enabled by
  server virtualization.
4. IT for Green
•smart grids, sustainable network, energy efficient
data centers, teleworking, intelligence transport
system, smart buildings and energy-efficient
workspaces
5. Reshaping Data Center




•They are customized 20-foot or 40-foot shipping containers that
vendors fill with servers and storage gear before shipping them
out.
•Customers plug in a cooling supply, power supply and a network
connection, and the mini-data centers are ready to use.
6. Social Computing




“Social Computing" refers to systems that support the
gathering, representation, processing, use, and
dissemination of information that is distributed across
social collectivities such as teams, communities,
organizations, and markets. (wikipedia)
7. Security – Activity Monitoring


            IT Security Monitoring
            •IT Security Monitoring is based on the
            implementation of a highly scalable
            security monitoring infrastructure that
            allows rapid identification of malicious
            network activity.
            •Your enterprise is alerted — often before
            vital services are impacted or
            compromised.
$/MB: Solid State vs. HDD   8. Flash Memory

                             •Faster than
                             rotating disk
                             •Price per megabyte
                              declines
9. Virtualization for Availability
10. Mobile Applications

By year end 2010, 1.2 billion people will
carry mobile handsets
2. วิวัฒนาการของ
เทคโนโลยีไอซีที
ยุคเริ่มตนของการเขียน




 •อักขระปรากฏบนแผนอิฐเปนสูตรในการหมัก
 เบียร                                                      ชิ้นสวนกระดาษปาปรสในคริส
                                                                                 ั
 •หลักฐานทีแสดงวาชนชาติสุมาเรียนที่อาศัย
             ่                                               ศตวรรษที่4 ซึ่งมีขอความ
 ในประเทศเมโซโปเตเมีย(ปจจุบันเปนสวน                       อักขระยิวเปนบทสวดที89:4-7
                                                                                   ่
 หนึ่งของอิรัก)เมื่อ 3200ปกอนคริสตกาล                      ในคัมภีรไบเบิลฉบับเกา
 เปนชนชาติแรกที่รูจักการเขียน


 Source:Who Began Writing? Many Theories, Few Answers
 By JOHN NOBLE WILFORD,The New York Times -- April 6, 1999

 http://www.virtual-egypt.com
ยุคแหงการพิมพหนังสือ




  โยฮัน กูเต็นเบิร(ค.ศ.1400
  -1468), ชาวเยอรมันผู         แทนพิมพเปลี่ยนตัวอักษรได
  ประดิษฐเครื่องพิมพ         ของกูเต็นเบิรก                คัมภีรไบเบิลพิมพดวยเครื่องพิมพกูเต็นเบิรก




    •คัมภีรไบเบิลทีพิมพดวยเครื่องพิมพกเต็นเบิรกระหวาง
                    ่                     ู         
    ค.ศ.1454-1455เปนสัญลักษณที่บงถึงการเริมตน “ยุค
                                                 ่
    แหงการพิมพหนังสือ” (ตนฉบับยังเก็บไวทLibrary of
                                               ี่
    Congress, US)
หนังสืออิเล็กทรอนิกส(eBook): Kindle DX
(6 May 2009)



     Amazon today unveiled a new,
     larger version of its Kindle ebook
     reader, which is aimed at
     students – and heralded as a
     potential saviour by some parts
     of the newspaper industry.
    (guardian.co.uk, Wednesday 6 May 2009 )    ปริมาณการขายAmazon e-book สูงกวา
                                               หนังสือธรรมดาเปนครั้งแรกเมื่อปลายป
                                               ค.ศ.2009 (guardian.co.uk, 28 Dec 2009)
                                                   วางขายราว
  •วางตลาดฤดูรอนของสหรัฐอเมริกาในราคา        •ผูซื้อสามารถเขาถึง 60%ของตําราเรียน
  $489                                        ของสํานักพิมพ Pearson, Wiley และ
  •ใชแสดงตําราและขาวหนังสือพิมพ            Cangage
  •จอขนาด 9.7 นิ้วใหญกวารุนเดิม(ซึ่ง       •ตอนเปดตัวบริษัทอเมซอนจะลดราคาผู
  แสดงนวนิยาย paperback) ราว 2 เทา           ประสงคสมัครเปนสมาชิกระยะยาวของNew
  •สามารถบรรจุหนังสือ 3,500 เลม              York Times, Washington Post และ
  •แสดงไฟลและสารคดีที่เคยแสดงบนPC            Boston Globe (ซึ่งกําลังมีปญหาดานธุรกิจ
  ไดดวย                                     ที่ใชกระดาษ)
บริษท LG Display เปดเผยผลงาน
                     ั
                 กระดาษอิเล็กทรอนิกสบิดไดขนาดเทา
                 หนาหนังสือพิมพ(15 มกราคม 2553)
                    •บริษัมLG Displayของเกาหลีแถลงผลการ
                    พัฒนากระดาษอิเล็กทรอนิกสขนาดแผน
                    หนังสือพิมพ
                    •ความกวาง 19 (250x400 มม.)ทําใหขนาด
                    เกือบเทากระดาษ A3 ของหนังสือพิมพ
                    •ความหนา 0.3 มิลลิเมตรและหนัก 130
                    กรัม
                    •กระดาษอิเล็กทรอนิกสนี้สามาราถให
                    ความรูสึกคลายการอานหนังสือพิมพจาก
                    กระดาษธรรมดา
                    •เทคโนโลยีเปน TFT (Thin Film
                    Transistor) สรางบนแผนโลหะบางบิดได
                    (metal foil)แทนที่จะอยูบนแผนกระจก
                    ตามปกติ


http://www.digitimes.com/news/a20100115PR201.html
ยอดขายหนังสือพิมพใน
                                              http://www.nytimes.com/2009/10/27/business/media/27audit.html
                                                http://barrdear.com/john/2009/10/28/the-death-throes-of-us-newspapers/

สหรัฐอเมริกาลดลงอยางตอเนือง
                           ่
  •ตลอด 2 ทศวรรษที่ผานมายอดขายหนังสือลดลงอยางถลมทะลาย(avalanche)
  •ตัวเลขที่เปดเผยเมื่อวันจันทรลดลง10%จากปที่แลว
  •สาเหตุเพราะผูอานหันไปอานทางอินเทอรเน็ตมากขึ้น ราคาหนังสือพิมพที่เพิ่มขึน
                                                                               ้
  เศรษฐกิจที่ถดถอย
Internet
 client/server




                 world wide web
                   (web 1.0)
Web 2.0   เว็บ 1.0
          •เจาของเว็บสรางเว็บขึ้นมา
          •การเพิ่มสาระใหมลงไปบนเว็บไซต
          ของตนตองกระทําโดยตนเองเพื่อ
          เชื่อมโยงกับเว็บผูอื่น
          •ผูอื่นสามารถเชื่อมโยงเขามาได
          เชนกัน

          เว็บ2.0
          •Wikipedia ซึ่งเปนสารานุกรม
          ออนไลนเกิดจากสมมติฐานที่ไมนา
          เชื่อวาการเติมสาระลงไปใน
          สารานุกรมนั้นสามารถกระทําได
          โดยผูใชเว็บคนใดก็ได
          •เว็บสังคม(social web)ผูใชเติม
          สาระดวยผูใชเองเชน Hi5,
          MySpace, Facebook, Friendster
          Twitter, etc.
สถิติการใชอินเทอรเน็ตโลก




                         •ประชากรโลก:
                         ~6,700 ลานคน
                         •ผูใชอินเทอรเน็ต:
                         ~1,700 ลานคน
                                (ณ กันยายน พ.ศ.2552)
                      http://www.internetworldstats.com/stats.htm
3.เว็บ 2.0 คืออะไร ?
นิยาม

• “เว็บ 2.0" (ค.ศ.2004–ปจจุบัน) เปนชือที่ใชอธิบายลักษณะ
                                       ่
  การประยุกตบนเว็บทีผใชมีสวนในการใหขอมูลบนเว็บ การ
                      ่ ู   
  แบงปนสารสนเทศ การทํางานเปนเครือขายสังคม ความเขากัน
  ได(interoperability)ระหวางเว็บไซต

• ตัวอยางของเว็บ 2.0 เชน สังคมที่สังสรรกันเปนหมูคณะบน
                                                   
  อินเทอรเน็ต บริการเจาภาพของเว็บไซต การแบงปนรูปภาพ วิ
  กิ บล็อก การผสมขอมูล(mashups) และสังคมรวมกันกําหนด
  คําสําคัญ(folksonomies)ของแหลงขอมูลจากเว็บไซต




wikipedia
มันเกิดขึ้นไดอยางไร?


                                •   การแตกของฟองสบูcot-com ในฤดูใบไม
                                                   
                                    รวง ของปค.ศ.2001 นับเปนจุดเปลียนสําคัญ
                                                                     ่
                                    ของเว็บ

http://commons.wikimedia.org/   •   หลายคนสรุปวาเว็บไดรบการคาดหวังจากนัก
                                                         ั
                                    ลงทุนมากเกินความเปนจริง(overhyped)
                                •   ฟองสบูแตกและการปรับตัวทีตามมานับเปน
                                                           ่
                                    เรื่องปกติของการปฏิวติเทคโนโลยี
                                                        ั
      Will Code HTML for Food       (technological revolutions)
                                •   การปรับตัวบงบอกวาเทคโนโลยีใหมกําลัง
                                    แจงเกิดทามกลางการปรับตัวดังกลาว



    http://www.flickr.com/
                                                        Source:What Is Web 2.0
                                                        by Tim O’Reilly, 09/03/2005
การประชุมวิชาการ
และหนังสือ Web 2.0
การคนหาดวยคําวา “web 2.0”
ใน Amazon.com ได หนังสือที่   •เริ่มครั้งแรก2005
มีชื่อนี้ 1,195 รายการ         Web 2.0
                               Conference,
                               October 2005
                               •ตอมาใน 2006
                               Web 2.0 Summit,
                               November 2006
การพัฒนาของเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต

• PC-based
                               •Languages
   – window, local area
                                   -HTML, Java, .Net, PHP, etc
     networks, etc.
                               •Web servers/browsers
• TCP/IP                          -Apache, etc.
   – Web 1.0                      -Nescape, IE etc.
   – email, websites, search   •XML
     engines (Google),            -SOA, Web services
     eCommerce (Amazon),
     eGovernment, etc.         •AJAX (asynchronous JavaScript
• Web 2.0 (social webs)             and XML)
   – Facebook, Twitter,            -interactive web applications
     YouTube, MySpace,             -SaaS
     Second Life etc.
AJAX (Asynchronous JavaScript And XML)

                           •การเปลี่ยนแปลงบางสวนของ
                           หนาเว็บโดยเรียกขอมูลจากเซิฟ
                           เวอรไมตองเรียกเว็บใหมทั้งหนา
4. คุณสมบัติของเว็บ 2.0
คุณสมบัติของ web 2.0


   1.The Web As Platform
   2. Harnessing Collective Intelligence
   3. Data is the Next Intel Inside
   4. End of the Software Release Cycle
   5. Lightweight Programming Models
   6. Software Above the Level of a Single Device
   7. Rich User Experiences (Rich Internet
   Applications)



http://oreilly.com/pub/a/web2/archive/what-is-web-20.html
1.The Web As Platform
          (from “desktop” to “webtop”)

เปรียบเทียบ Netscape กับ Google
•   หาก Netscapeถือวาเปนแบบอยางทางคุณสมบัติของ Web 1.0, แลวกูเกิลก็ตองนับวาเปน
    แบบอยางทางคุณสมบัติของ Web 2.0
•   Nestcape อาจนับไดวาใช “web as a platform” ในรูปแบบของซอฟตแวรดั้งเดิม
•   สินคาหลักคือเบราเซอร, การประยุกตบนเครื่องพีซีตั้งบนโตะ, และกลยุทธของบริษัทคือการใชเบรา
    เซอรสรางตลาดสินคาใหมีราคาสูงบนเซิฟเวอร

•    กูเกิลกลับเริ่มตนชีวิตจากเปนการประยุกตบนเว็บทันที มิไดมีวัตถุประสงคที่จะขายซอฟตแวรแพ็ก
     เก็จแตเปนซอฟตแวรที่ขายบริการ ลูกคาสามารถจายคาบริการโดยตรงหรือโดยออมก็ได
•    ธุรกิจของกูเกิลปราศจากจุดออนทางธุรกิจของอุตสาหกรรมซอฟตแวรดั้งเดิมกลาวคือ ไมมีการ
     กําหนดวาจะประกาศซอฟตแวรรุนตางๆ มีแตการปรับปรุงอยางสม่ําเสมอ ปราศจากการขาย
     ซอฟตแวรหรือการขายสิทธการใชซอฟตแวร มีแตการใหผูรับบริการใชเทานั้น


ขณะที่เรากลาววาบริษัททั้งสองตางก็เปนบริษัทซอฟตแวร
•Netscape นันตองถือวาอยูในกลุมเดียวกันกับโลกของ Lotus, Microsoft, Oracle, SAP,
             ้
และบรรดาบริษัทที่เริ่มตนชีวิตในชวงปฎิวัติซอฟตแวรของยุคค.ศ. 1980's
•ขณะที่บรรดาเพื่อนฝูงของกูเกิลนั้นลวนแลวแตเปนซอฟตแวรประยุกตบนอินเทอรเน็ต
กลาวคือ eBay, Amazon, Napster, DoubleClick และ Akamai.
2. Harnessing Collective Intelligence
      การที่บรรดาบริษัทยักษใหญทั้งหลายที่เกิดในยุคเว็บ1.0ยังประสบ
      ความสําเร็จอยางตอเนื่องขามเขาสูยุคเว็บ2.0ไดนั้น วางอยูบนหลักของการ
      ใชพลังของเว็บในการเก็บเกี่ยวปญญาสวนรวม (collective intelligence)

เว็บ 1.0
•Hyperlink เปนพื้นฐานของการเชื่อมโยง
เว็บ เมื่อผูใชเพิ่มสาระใหมลงไปบนเว็บไซต
ของตนหรือสรางเว็บไซตใหม ก็อาศัย
hyperlink ในการเชื่อมโยงเขากับเครือขาย
เว็บ

เว็บ2.0
•Wikipediaซึ่งเปนสารานุกรมออนไลนเกิด
จากสมมติฐานที่ไมนาเชื่อวาการเติมสาระลง
ไปในสารานุกรมนั้นสามารถกระทําไดโดย
ผูใชเว็บคนใดก็ได
•Blogging ก็ทํานองเดียวกันที่อาศัยความ
คิดเห็นจากผูใชเว็บ
•RSS ไมเพียงแตเสนอขาวหรือเนื้อหาใหม
ในบล็อกแตยังแจงใหทราบถึงขอมูลเกิดใหม
ทุกประเภททั้งหุน พยากรณอากาศอีกดวย
                 
3. Data is the Next Intel Inside
•ความรูคือพลังและขอมูลทําใหแขงขันได
•ปจจุบันเราสามารถผสมขอมูล(mashup)จากหลายแหลงเพื่อใหได
ขอมูลที่ดีกวาจากแหลงเดียว




                                              http://www.housingmaps.com/


•Google's lightweight programming modelทําใหเกิดการบริการมูลคาเพิ่มในรูปแบบ
ของ mashups ที่เชื่อมโยง Google maps กับแหลงขอมูลอื่นในอินเทอรเน็ต
•เว็บไซตชื่อ housingmaps.com, ไดเชื่อมโยงผนวก Google Maps กับ Craigslist
ที่ใหบริการขอมูลดานหองเชาและซื้อขายบานทําใหไดมาซึ่งเว็บไซตเพื่อการคนหองและ
บานชนิดโตตอบกับลูกคาได
4. End of the Software Release Cycle

    • ซอฟตแวรเผยแพรในรูปของบริการมิใชผลิตภัณฑ
    • รูปแบบธุรกิจของบริษัทเปลี่ยนไป
    • การพัฒนาซอฟตแวรไมรูจบ

  1.การปฏิบัติงานคือความสามารถหลัก
  •มีการเคลื่อนยายจาก”ซอฟตแวรเปนผลิตภัณฑ” ไปสู software as service
  •ซอฟตแวรจะไมมีประโยชนหากมิไดมีการบํารุงรักษาเปนประจําทุกวัน
  •กูเกิลตองไปเก็บ(crawl)เว็บทั้งหลายอยางตอเนื่องเพื่อปรับปรุงดัชนีการคนหาให
  ทันสมัย กรองสแปมและความพยายามที่จะกระทบกระเทือนผลการทํางาน
  ตอบสนองผูใชนับรอยลานคนพรอมกับเสนอการโฆษณาที่สอดคลองกับคําถาม

  2.ผูใชกลายเปนผูรวมพัฒนาซอฟตแวรที่“ไมสมบูรณตลอดไป”
  •สะทอนใหเห็นถึงการทํางานของซอฟตแวรรหัสเปด
  •คําขวัญของการพัฒนาซอฟตแวรนี้คือ “เผยแพรใหเร็วและเผยแพรใหบอย"
  •บริการเชน Gmail, Google Maps, Flickr, del.icio.us, และอื่นๆก็อยูใน
  ลักษณะ"Beta" เปนปเชนกัน
5. Lightweight Programming Models

 • เมือเว็บเซอรวิสเริมเปนทีรูจักกัน บริษทขนาดใหญกระโดดเขา
                       ่     ่             ั
   ใชเทคโนโลยีนี้ดวยความซับซอนหลายชั้นหลายขันตอน
                                                      ้
   เพื่อใหไดผลิตภัณฑทเชื่อถือได
                          ี่
    – แตวา RSS ไดกลายเปนเว็บเซอรวิสที่นิยมแพรหลายเนื่องจากความ
      งายไมซับซอน ขณะที่เว็บที่ซับซอนของบรรดาบริษัทยักษใหญ
      ทั้งหลายยังตองรอคอยการใชงานจากลูกคา
    – เว็บเซอรวิสที่ใหบริการดานแผนที่มีมานานจากบริษัทเชน ESRI ,
      MapQuest และ Microsoft MapPoint แตแผนที่ของกูเกิลเปนที่นิยม
      ทั่วโลกก็เพราะ เว็บเซอรวิสของกูเกิลที่สะดวกตอการใชนั่นเอง

 • นอกจากนี้บริษัทอืนยังมีเงื่อนไขอยางเปนทางการกับผูใช( a formal
                    ่
   contract ) ขณะทีแผนที่ของกูเกิลอนุญาตใหใครจะใชก็ได(data
                      ่
   for the taking)
6. Software Above the Level of a Single Device




• iTunes เปนตัวอยางที่ดีที่แสดงถึงหลักการนี้ บริการจากเซิฟเวอรจํานวน
มหาศาลสามารถไปถึงผูใชที่มีอุปกรณมือถือผานพีซีที่ทําหนาที่เปนหนวยความจํา
กลาง(cache memory) และหนวยควบคุม( control station)
•บริษัทอื่นพยายามใหบริการสาระจากเว็บไปยังอุปกรณมือถือเชนกัน แตไม
ประสบความสําเร็จ
•สวนการทํางานรวมกันของ iPod/iTunes นับเปนความสําเร็จที่เกิดจากการใช
อุปกรณรวมกันหลายชิ้น
7. Rich User Experiences
(Rich Internet Applications)


• เบราเซอรยคแรกเชน Viola browser ในค.ศ. 1992 นันเริ่มใช
                 ุ                                    ้
  "applets" ในการสงสาระไปยังผูใชได
• จาวาสคริปตทําใหเกิด DHTML เปนการเริมตนของการเขียน
                                          ่
  โปรแกรมแบบเบาใหไคลแอนตเริมเปนดานทีทํางานไดดวย ทําให
                                  ่         ่           
  เกิดคําวา richer user experiences.
• ตอมาบริษท Macromedia เริ่มใชคําวา“rich internet
               ั
  applications" เพื่อแสดงถึงความสามารถของ Flash ในการ
  นําสงทั้งสื่อผสมและGUI-style ของการใชงาน
• เทคโนโลยีสําคัญลาสุดดานนีคือ AJAX (Asynchronous
                              ้
  JavaScript and XML)ทีทําใหผูใชเปลี่ยนแปลงขอมูลบางสวนบน
                         ่
  จอไดโดยไมตองเปลี่ยนทั้งหนาเว็บ
5. ตัวอยางเว็บ 2.0
การสรางเว็บไซตยุคเว็บ1.0และเว็บ2.0

ยุคเว็บ 1.0 : (1) แสดงหนาอักษร รูปภาพ เสียงเทานั้นโดยการใช HTML
เทานั้นและมีเบราเซอรในการเปดอาน สามารถเชื่อมโยงจากหนาหนึ่งไปอีก
หนาหนึ่งที่อยูตางสถานที่ตั้งของเว็บได
                 (2) ตอมามีฐานขอมูลเก็บไฟลสามารถใช HTML ฝง CGI
(Common Gateway Interface) เรียกขอมูลจากฐานขอมูล(data base)ได

ยุคเว็บ 2.0 : (1) สําหรับนักเทคโนโลยีคอมพิวเตอรนั้นจะอาศัยเครื่องมือที่
เรียกวา CMS (Content Management System) ชวยในการออกแบบและ
จัดการสาระลักษณะเปนกรอบ(template)ไดลึกซึ้งอยางที่ตนเองตองการ
              (2)สําหรับผูใช(ที่ไมประสงคจะเรียนรูภาษาคอมพิวเตอร)นั้นจะ
สามารถสรางเว็บไซตของตนเองไดโดยอาศัยบริการที่ไมคิดคาใชจายเชน
Google, Yahoo, etc.
ตัวอยางที่ 1: สราง Website โดยไมตองรูภาษาคอมพิวเตอร
                                         
   •ปจจุบันเราสามารถสรางเว็บไซตเพื่อเผยแพรสูสาธารณะไดโดยไมตองรู
   ภาษาคอมพิวเตอร
   •ตัวอยางเชน Google Sites เปนตน


                                                Main Features
                                                •No html coding is required and you do not
                                                need any web experience.
                                                •Drag and drop the objects. True WYSIWYG
                                                layout & design.
                                                •Create websites with multiple pages and
                                                easily manage your site at once.
                                                •Pre-designed website templates are
                                                included.
                                                •Preview web pages in browser with one-
                                                click.
                                                •Publish your web site with just one-click
                                                •Hundreds of functions: photo gallery,
                                                rollover image, flash slide show, audio/video,
                                                flash video, ready-to-use Java Script effects,
                                                tables, forms, iFrames and much more...

       http://sites.google.com/site/pairash2/
ตัวอยางที่ 2 : เว็บไซตสวนตัวหรือ Start Page (1)

   •Start page เปนหนาเว็บเพื่อกิจกรรมของเราเองบนอินเทอรเน็ต
   •เราสามารถดึงขอมูลจากที่ตางๆ(web feeds) การจําหนา(bookmarks)
   รับทราบอีเมลที่เชามาใหม ปฏิทิน พยากรณอากาศ รูปภาพจาก Flickr, ฯลฯ
   •ตัวอยางเชนบริการของกูเกิลที่เรียกวา iGoogle เปนตน
Start Pages: บริการอืนนอกจากของ Google(2)
                     ่




                                                                 ตัวอยาง: iGoogle, Netvibes,
                                                                 Pageflakes, My Yahoo!,
                                                                 Lifehackers, Aboutblank




http://web2.econsultant.com/personalized-start-pages-services.html

http://lifehacker.com/393837/five-best-start-pages               http://www.pandia.com/sew/451-personalized.html
ตัวอยางที่ 3: Blogs
 •   บล็อกคือเว็บไซตที่ดูแลโดยบุคคลที่มีการ
     ปอนขอความของเหตุการณเปนประจํา
 •   ปกติมีความเห็นจากบุคคลอื่นที่สนใจเขาไป
     เสนอความเห็นดวยอาจเปนขอความ ภาพ
     หรือวิดิทัศนก็ได



     ตัวอยางบล็อกของบีบีซี
Blogs(ตอ)   เว็บไซตยอดนิยม 10 แหงที่ใหบริการบล็อกไดแก
             WordPress, TypePad, Squarespace, Blogger, AOL
             Journal, Windows Live Spaces, Xanga, LiveJournal,
             Vox, MySpace




                                          http://blog-services-
                                          review.toptenreviews.com/
Microblogging
•ไมโครบล็อกเปนบล็อกชนิดหนึ่ง
•ไมโครบล็อกตางจากบล็อกปกติตรง
ที่วามันจํากัดตวอักษรไมใหเกิน 140-
200 ตัว


เว็บไซตไมโครบล็อกที่
รูจักกันดีคือTwitter
แตฏมีไมโครบล็อกอื่น
อีกเชน
•Friendfeed
•Tumblr.
•Plurk
•Jaiku
•Yammer
•Sweeter 2.0
(http://blog.taragana.com/)
ตัวอยางที4:
          ่    RSS ยอมาจาก "Really Simple Syndication“เปนรูปแบบของ
RSS            การดึงขอมูลจากเว็บไซตหนึงมายังเว็บไซตของเราเพื่อใหทราบ
                                         ่
               การเปลี่ยนแปลงที่ทันสมัยตลอดเวลา ตัวอยางเชนการ
               เปลี่ยนแปลงของบล็อก หัวขอขาวใหม เสียงและวิดีทัศนเปนตน



                                                     2
           1




          4
                                                         3
ตัวอยางที5:Social Bookmarking(1)
          ่
•Social bookmarking เปนวิธีการที่ผูใชอินเทอรเน็ตรวมกันทําbookmarks ของ
สารสนเทศจากแหลงเว็บไซตตางๆเพื่อจะไดแบงกันใช
•มีการจัดทํา tags รวมกันโดยอัตโนมัตหรือเพิ่มเติมเองเพื่อประโยชนในการคนหา
                                     ิ
•การจัดทําtagsดวยกันนีนยมเรียกกันวา social tagging, social indexing, social
                        ้ ิ
classification หรือนิยมเรียกเปนภาษาเว็บวา folksonomy (folk + taxonomy)

         The Top 10 Best Bookmarking Websites
         1.    Delicious
         2.    StumbleUpon
         3.    Digg
         4.    Reddit
         5.    Yahoo! Buzz
         6.    Slashdot
         7.    Newsvine
         8.    Mixx
         9.    Diigo
         10.   Propeller
                              http://webstudio13.com/2009/12/02/the-top-10-best-social-bookmarking-websites/
Social Book Marking(2)
 Delicious (เดิมชือ del.icio.us อานวา "delicious")
                  ่
Social Book Marking(3)
ฆ


    Bookmarks ของเราที่อยูบน delicious
                          
Social Book Marking(4)
                         1
 วิธีเติม bookmarking


          4

                             2



           3
ตัวอยางที่ 6 : Wiki(1)
               •วิกิ เปนเว็บไซตใหบริการในการสรางปรับปรุง
               เนื้อหารวมกันจากผูอยูบนอินเทอรเน็ต
                                    
               • วิกิตองอาศัยวิกซอฟตแวรในการทํางาน
                                ิ
               รวมกัน




                          http://www.wikimatrix.org/
Wiki(2)
 โครงการสวนพฤกษศาสตร
 โรงเรียนตามพระราชดําริสมเด็จ
 พระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรม
 ราชกุมารี
ตัวอยางที่ 7: Social networks
•หลังจากเริ่มตน 6 ปที่แลว ปจจุบัน Facebook เปน
ไวตที่นิยมเปนอันดับ2รองจากกูเกิล
•มีผูใชทั่วโลกมากกวา 350 ลานคน
•ซึ่งหากเปนประเทศแลวFacebookก็จะมีประชากร
มากเปนอันดับ 3 ถัดจากจีนและอินเดีย
•ผูใชกวา 55 ลานคนเขาไปปรับปรุงในแตละ
วันและแบง(share)สาระกันดูกวา3.5 พันลาน
ชิ้นตอสัปดาห
• What's happening is that our privacy has become a kind of currency.
   It's what we use to pay for online services.
 • Google charges nothing for Gmail; instead, it reads your e-mail and
   sends you advertisements based on keywords in your private messages


  •Their entire business model is based on the notion of "monetizing" our
  privacy.
  •To succeed they must slowly change the notion of privacy itself—the
  "social norm," as Facebook puts it—so that what we're giving up doesn't
  seem so valuable.
  •Then they must gain our trust. Thus each new erosion of privacy comes
  delivered, paradoxically, with rhetoric about how Company X really cares
  about privacy.
  •I'm not sure whether Orwell would be appalled or impressed.
  •And who knew Big Brother would be not a big government agency, but
  a bunch of kids in Silicon Valley?


http://www.newsweek.com/
Pros and Cons(1)

   • “This represents a dramatic and permanent upgrade in
     people’s ability to communicate with one another,” says
     Marc Andreessen, a Silicon Valley veteran who has
     invested in Facebook, Twitter and Ning, an American
     firm that hosts almost 2m social networks for clients.

     •Twitter regularly scores headlines with its real-time
     updates on events like the Mumbai terrorist attacks and
     on the activities of its high-profile users, who include rap
     stars, writers and royalty.

     •Both Twitter and Facebook played a starring role in the
     online campaign strategy that helped sweep Barack
     Obama to victory in the presidential race.

Source: economist.com, Jan 2010
Pros and Cons(2)
  • They must demonstrate that they are capable of
    generating the returns that justify the lofty valuations
    investors have given them.
  • Critics also say that the networks’ advertising-driven
    business model is flawed.

   •A survey of 1,400 chief information officers conducted last year by
   Robert Half Technology, a recruitment firm, found that only one-
   tenth of them gave employees full access to such networks
   during the day, and that many were blocking Facebook and
   Twitter altogether.

   •The executives’ biggest concern was that social networking would
   lead to social notworking, with employees using the sites to chat
   with friends instead of doing their jobs.

   •Some bosses also fretted that the sites would be used to leak
   sensitive corporate information.

Source: economist.com, Jan 2010
6. หองสมุด 2.0:
วิวัฒนาการของหองสมุด
ประวัติยอของหองสมุด
                             •หองสมุดของกษัตริยAshurbanipal (บางครั้งก็
                             เขียนAssurbanipal)ยุค 668-627 กอนตริสตกาล
                             เปนการรวบขอเขียนบนแผนอิฐราว 30,000 แผน
   Library of Ashurbanipal   •คนพบเมื่อกลางคริสตศตวรรษที่ 19 ทีเมืองยุคเม
   at the British Museum     โซโปเตเมียชือนิเนเวห( Nineveh)
                                         ่


                              • หองสมุดอเล็กซานเดรียคงจะเปนหองสมุดที่
                              ใหญที่สุดหและมีชื่อเสียงมากที่สุดในโลกยุค
                              โบราณ
                              •รุงเรืองใตการอุปถัมภของราชวงศปโตเลมี
                              •ศูนยกลางสําคัญของการศึกษาตราบจนกระทั่ง
                              โรมเขาครองอียิปตและหลังจากนั้นอีกนับหลาย
                              ศตวรรษ
                              •เขาใจวาสรางราวศตวรรษที่3กอนครสตกาล
                              •ปจจุบันก็ยังเปนที่รูจักกันดีทั่วโลก
   The new Library
   of Alexandria, Egypt              http://archaeology.about.com/od/lterms/qt/ashurbanipal.htm
                                     wikipedia
หองสมุดดิจิทัลโลก        •   สนับสนุนโดยูเนสโก
                                                            Examples of Partner Institutes
(World Digital Library) • หนังสืออิเล็กทรอนิกสที่
                              สามารถเรียกผานอินเทอรเน็ต
                              ไดโดยไมคิดคาใชจาย
                          •   หลากหลายภาษาจากเอกสาร
                              ตนฉบับจากประเทศและอารย
                              ธรรมตางๆทั่วโลก
                          •   เมื่อ 22 เมษายน ค.ศ. 2009
                              ไดลงนามรวมมือกับ 32
                              สถาบันทั่วโลก




http://www.wdl.org/
http://www.wdl.org/
เทคโนโลยีการถายสําเนาอิเล็กทรอนิกส(scan)หนังสือหายาก
หนังสือกูเกิล(Google Books)
•กูเกิลถายสําเนาอิเล็กทรอนิกสหนังสือทั้งเลม(full text of book)และเก็บไวในฐานขอมูล
•ผูใชบริการสามารถเรียกดูผานอินเทอรเน็ตได
•เดิมเรียกวาGoogle Print เมื่อแนะนําครั้งแรกที่งานแสดงหนังสือเมืองแฟรงเฟรตในเดือน
ตุลาคมค.ศ.2004.




                                                                  •Booksellers that have ordered
                                                                  its $100,000 Espresso Book
                                                                  Machine, which cranks out a 300
                                                                  page gray-scale book with a
                                                                  color cover in about 4 minutes,
                                                                  at a cost to the bookstore of
                                                                  about $3 for materials.
                                                                  •The machine prints the pages,
                                                                  binds them together perfectly,
                                                                  and then cuts the book to size
                                                                  and then dumps a book out,
                                                                  literally hot off the press.


Source: nytimes.com, wired.com
Library 2.0




    •Library 2.0 เปนชื่อรียกรูปแบบการใหบริการของหองสมุดยุคใหม
    •จุดเนนอยูที่ผูใชเปนศูนยกลางและการมีสวนรวมของผูใชในรูปแบบ
    ของชุมชนอินเทอรเน็ตที่สามารถมีสวนรวมในการเสนอเนื้อหา
    •แนวคิดและปรัชญาของ Library 2.0 มาจาก Web 2.0

wikipedia
The two concepts
                                   of Library 2.0




http://librariansmatter.com/blog/2007/04/19/what-is-library20-and-library20/
ตัวอยาง Library 2.0 ในประเทศไทย(1)
ตัวอยาง Library 2.0ในประเทศไทย(2)
สรุป
1. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารยังมีวิวัฒนาการอยางไม
   หยุดยังโดยมีอนเทอรเน็ตเปนแกนหลักและแกนนําทีสําคัญ
          ้          ิ                                  ่
2. เว็บไซตไดวิวฒนาการจากเว็บ1.0เขาสูเว็บ 2.0
                   ั
3. แมนจะมีคุณลักษณะหลายประการแตที่สําคัญคือการมีสวนรวม
   ของผูใช การแบงปนสารสนเทศและการเกิดเครือขายชุมชนบน
   อินเทอรเน็ต
4. ปจจุบันผูใชที่มิไดมึความรูเรืองภาษาคอมพิวเตอรสามารถสราง
                                     ่
   เว็บไซตสาธารณะและสวนตัวไดภายในไมกนาที    ี่
5. เว็บไซตอาจเปนรูปแบบดั้งเดิม บล็อก วิกี เสียง รูปภาพ
   ที่สามารถใชประโยชนการดึงขอมูล(RSS) การสรางคําสําคัญ
   รวมกัน (folksonomy)
6. หองสมุดวิวฒนาการจากแผนอิฐ กระดาษจนปจจุบันเปนดิจิทล
                 ั                                              ั
   และกําลังเขาสูยุคเว็บ 2.0
จบบริบูรณ

More Related Content

Viewers also liked

อักษรย่อ
อักษรย่ออักษรย่อ
อักษรย่อSAM RANGSAM
 
ข้อสอบการงาน
ข้อสอบการงานข้อสอบการงาน
ข้อสอบการงานParnkeaw
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงnokbiology
 
รายชื่อศิษย์เก่าผ้าป่า ปี 22-41
รายชื่อศิษย์เก่าผ้าป่า ปี 22-41รายชื่อศิษย์เก่าผ้าป่า ปี 22-41
รายชื่อศิษย์เก่าผ้าป่า ปี 22-41ณัฐพล บัวพันธ์
 
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์Narasak Sripakdee
 
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ปีการศึกษา 2555
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ปีการศึกษา 2555คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ปีการศึกษา 2555
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ปีการศึกษา 2555Jutapun Vongpredee
 
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไปPreecha Asipong
 
นวตกรรม เล่ม1 คณิต ป.2
นวตกรรม เล่ม1 คณิต ป.2นวตกรรม เล่ม1 คณิต ป.2
นวตกรรม เล่ม1 คณิต ป.2dmathdanai
 
หนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูหนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูWatcharapon Donpakdee
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)Lupin F'n
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นอรุณศรี
 
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)woottipol2
 

Viewers also liked (15)

อักษรย่อ
อักษรย่ออักษรย่อ
อักษรย่อ
 
ข้อสอบการงาน
ข้อสอบการงานข้อสอบการงาน
ข้อสอบการงาน
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
สิทธิประโยชน์ของนักศึกษาวิชาทหาร
สิทธิประโยชน์ของนักศึกษาวิชาทหารสิทธิประโยชน์ของนักศึกษาวิชาทหาร
สิทธิประโยชน์ของนักศึกษาวิชาทหาร
 
รายชื่อศิษย์เก่าผ้าป่า ปี 22-41
รายชื่อศิษย์เก่าผ้าป่า ปี 22-41รายชื่อศิษย์เก่าผ้าป่า ปี 22-41
รายชื่อศิษย์เก่าผ้าป่า ปี 22-41
 
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
 
Ict 001
Ict 001Ict 001
Ict 001
 
แบบสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์แบบสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์
 
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ปีการศึกษา 2555
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ปีการศึกษา 2555คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ปีการศึกษา 2555
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ปีการศึกษา 2555
 
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
 
นวตกรรม เล่ม1 คณิต ป.2
นวตกรรม เล่ม1 คณิต ป.2นวตกรรม เล่ม1 คณิต ป.2
นวตกรรม เล่ม1 คณิต ป.2
 
หนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูหนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครู
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้น
 
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
 

Similar to ICT Trends 2010

Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardBoonlert Aroonpiboon
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1Thanggwa Taemin
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contentsTeeranan
 
Government 2.0 กับการเปลี่ยนแปลงองค์กร
Government 2.0 กับการเปลี่ยนแปลงองค์กรGovernment 2.0 กับการเปลี่ยนแปลงองค์กร
Government 2.0 กับการเปลี่ยนแปลงองค์กรThanachart Numnonda
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet11.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1Mevenwen Singollo
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องJariya Kommanee
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2paween
 

Similar to ICT Trends 2010 (20)

Multimedia2
Multimedia2Multimedia2
Multimedia2
 
Digital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web PolicyDigital Standard & Web Policy
Digital Standard & Web Policy
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website Standard
 
Thai MOST Web Developement
Thai MOST Web DevelopementThai MOST Web Developement
Thai MOST Web Developement
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contents
 
Web 2.0 & Social Networking
Web 2.0 & Social NetworkingWeb 2.0 & Social Networking
Web 2.0 & Social Networking
 
Internet 2000
Internet 2000Internet 2000
Internet 2000
 
Social Networking For Organizations
Social Networking For OrganizationsSocial Networking For Organizations
Social Networking For Organizations
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Government 2.0 กับการเปลี่ยนแปลงองค์กร
Government 2.0 กับการเปลี่ยนแปลงองค์กรGovernment 2.0 กับการเปลี่ยนแปลงองค์กร
Government 2.0 กับการเปลี่ยนแปลงองค์กร
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Web 2.0 & Social Networking
Web 2.0 & Social NetworkingWeb 2.0 & Social Networking
Web 2.0 & Social Networking
 
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet11.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Socialnetwork
SocialnetworkSocialnetwork
Socialnetwork
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 

More from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

More from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 

ICT Trends 2010

  • 1. ICT Technology Trends ศาสตราจารย ดร.ไพรัช ธัชยพงษ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ 19 มีนาคม 2553
  • 2. เคาโครงการบรรยาย 1. เทคโนโลยีในปค.ศ. 2010 2. วิวัฒนาการของเทคโนโลยีไอซีที 3. เว็บ 2.0 คืออะไร ? 4. คุณสมบัตของเว็บ 2.0 ิ 5. ตัวอยางเว็บ 2.0 6. หองสมุด 2.0: วิวัฒนาการของ หองสมุด
  • 4. 1. Cloud Computing 2. Advanced Analytics 3. Client Computing 4. IT for Green 5. Reshaping Data Center 6. Social Computing 7. Security – Activity Monitoring 8. Flash Memory 9. Virtualization for Availability 10. Mobile Applications
  • 6. 2. Advanced Analytics •Data warehouse •Business Intelligence •Advanced Analytics
  • 7. 3. Client Computing Thin Clients only need to run the operating system software locally, and have no hard drives or floppy drives. A Zero Client moves all software off the desktop to the server, the device has no CPU, no memory, no operating system and no drivers, using functionality enabled by server virtualization.
  • 8. 4. IT for Green •smart grids, sustainable network, energy efficient data centers, teleworking, intelligence transport system, smart buildings and energy-efficient workspaces
  • 9. 5. Reshaping Data Center •They are customized 20-foot or 40-foot shipping containers that vendors fill with servers and storage gear before shipping them out. •Customers plug in a cooling supply, power supply and a network connection, and the mini-data centers are ready to use.
  • 10. 6. Social Computing “Social Computing" refers to systems that support the gathering, representation, processing, use, and dissemination of information that is distributed across social collectivities such as teams, communities, organizations, and markets. (wikipedia)
  • 11. 7. Security – Activity Monitoring IT Security Monitoring •IT Security Monitoring is based on the implementation of a highly scalable security monitoring infrastructure that allows rapid identification of malicious network activity. •Your enterprise is alerted — often before vital services are impacted or compromised.
  • 12. $/MB: Solid State vs. HDD 8. Flash Memory •Faster than rotating disk •Price per megabyte declines
  • 13. 9. Virtualization for Availability
  • 14. 10. Mobile Applications By year end 2010, 1.2 billion people will carry mobile handsets
  • 16. ยุคเริ่มตนของการเขียน •อักขระปรากฏบนแผนอิฐเปนสูตรในการหมัก เบียร ชิ้นสวนกระดาษปาปรสในคริส ั •หลักฐานทีแสดงวาชนชาติสุมาเรียนที่อาศัย ่ ศตวรรษที่4 ซึ่งมีขอความ ในประเทศเมโซโปเตเมีย(ปจจุบันเปนสวน อักขระยิวเปนบทสวดที89:4-7 ่ หนึ่งของอิรัก)เมื่อ 3200ปกอนคริสตกาล ในคัมภีรไบเบิลฉบับเกา เปนชนชาติแรกที่รูจักการเขียน Source:Who Began Writing? Many Theories, Few Answers By JOHN NOBLE WILFORD,The New York Times -- April 6, 1999 http://www.virtual-egypt.com
  • 17. ยุคแหงการพิมพหนังสือ โยฮัน กูเต็นเบิร(ค.ศ.1400 -1468), ชาวเยอรมันผู แทนพิมพเปลี่ยนตัวอักษรได ประดิษฐเครื่องพิมพ ของกูเต็นเบิรก คัมภีรไบเบิลพิมพดวยเครื่องพิมพกูเต็นเบิรก •คัมภีรไบเบิลทีพิมพดวยเครื่องพิมพกเต็นเบิรกระหวาง ่ ู  ค.ศ.1454-1455เปนสัญลักษณที่บงถึงการเริมตน “ยุค  ่ แหงการพิมพหนังสือ” (ตนฉบับยังเก็บไวทLibrary of ี่ Congress, US)
  • 18. หนังสืออิเล็กทรอนิกส(eBook): Kindle DX (6 May 2009) Amazon today unveiled a new, larger version of its Kindle ebook reader, which is aimed at students – and heralded as a potential saviour by some parts of the newspaper industry. (guardian.co.uk, Wednesday 6 May 2009 ) ปริมาณการขายAmazon e-book สูงกวา หนังสือธรรมดาเปนครั้งแรกเมื่อปลายป ค.ศ.2009 (guardian.co.uk, 28 Dec 2009) วางขายราว •วางตลาดฤดูรอนของสหรัฐอเมริกาในราคา •ผูซื้อสามารถเขาถึง 60%ของตําราเรียน $489 ของสํานักพิมพ Pearson, Wiley และ •ใชแสดงตําราและขาวหนังสือพิมพ Cangage •จอขนาด 9.7 นิ้วใหญกวารุนเดิม(ซึ่ง •ตอนเปดตัวบริษัทอเมซอนจะลดราคาผู แสดงนวนิยาย paperback) ราว 2 เทา ประสงคสมัครเปนสมาชิกระยะยาวของNew •สามารถบรรจุหนังสือ 3,500 เลม York Times, Washington Post และ •แสดงไฟลและสารคดีที่เคยแสดงบนPC Boston Globe (ซึ่งกําลังมีปญหาดานธุรกิจ ไดดวย ที่ใชกระดาษ)
  • 19. บริษท LG Display เปดเผยผลงาน ั กระดาษอิเล็กทรอนิกสบิดไดขนาดเทา หนาหนังสือพิมพ(15 มกราคม 2553) •บริษัมLG Displayของเกาหลีแถลงผลการ พัฒนากระดาษอิเล็กทรอนิกสขนาดแผน หนังสือพิมพ •ความกวาง 19 (250x400 มม.)ทําใหขนาด เกือบเทากระดาษ A3 ของหนังสือพิมพ •ความหนา 0.3 มิลลิเมตรและหนัก 130 กรัม •กระดาษอิเล็กทรอนิกสนี้สามาราถให ความรูสึกคลายการอานหนังสือพิมพจาก กระดาษธรรมดา •เทคโนโลยีเปน TFT (Thin Film Transistor) สรางบนแผนโลหะบางบิดได (metal foil)แทนที่จะอยูบนแผนกระจก ตามปกติ http://www.digitimes.com/news/a20100115PR201.html
  • 20. ยอดขายหนังสือพิมพใน http://www.nytimes.com/2009/10/27/business/media/27audit.html http://barrdear.com/john/2009/10/28/the-death-throes-of-us-newspapers/ สหรัฐอเมริกาลดลงอยางตอเนือง ่ •ตลอด 2 ทศวรรษที่ผานมายอดขายหนังสือลดลงอยางถลมทะลาย(avalanche) •ตัวเลขที่เปดเผยเมื่อวันจันทรลดลง10%จากปที่แลว •สาเหตุเพราะผูอานหันไปอานทางอินเทอรเน็ตมากขึ้น ราคาหนังสือพิมพที่เพิ่มขึน ้ เศรษฐกิจที่ถดถอย
  • 21. Internet client/server world wide web (web 1.0)
  • 22. Web 2.0 เว็บ 1.0 •เจาของเว็บสรางเว็บขึ้นมา •การเพิ่มสาระใหมลงไปบนเว็บไซต ของตนตองกระทําโดยตนเองเพื่อ เชื่อมโยงกับเว็บผูอื่น •ผูอื่นสามารถเชื่อมโยงเขามาได เชนกัน เว็บ2.0 •Wikipedia ซึ่งเปนสารานุกรม ออนไลนเกิดจากสมมติฐานที่ไมนา เชื่อวาการเติมสาระลงไปใน สารานุกรมนั้นสามารถกระทําได โดยผูใชเว็บคนใดก็ได •เว็บสังคม(social web)ผูใชเติม สาระดวยผูใชเองเชน Hi5, MySpace, Facebook, Friendster Twitter, etc.
  • 23. สถิติการใชอินเทอรเน็ตโลก •ประชากรโลก: ~6,700 ลานคน •ผูใชอินเทอรเน็ต: ~1,700 ลานคน (ณ กันยายน พ.ศ.2552) http://www.internetworldstats.com/stats.htm
  • 25. นิยาม • “เว็บ 2.0" (ค.ศ.2004–ปจจุบัน) เปนชือที่ใชอธิบายลักษณะ ่ การประยุกตบนเว็บทีผใชมีสวนในการใหขอมูลบนเว็บ การ ่ ู  แบงปนสารสนเทศ การทํางานเปนเครือขายสังคม ความเขากัน ได(interoperability)ระหวางเว็บไซต • ตัวอยางของเว็บ 2.0 เชน สังคมที่สังสรรกันเปนหมูคณะบน  อินเทอรเน็ต บริการเจาภาพของเว็บไซต การแบงปนรูปภาพ วิ กิ บล็อก การผสมขอมูล(mashups) และสังคมรวมกันกําหนด คําสําคัญ(folksonomies)ของแหลงขอมูลจากเว็บไซต wikipedia
  • 26. มันเกิดขึ้นไดอยางไร? • การแตกของฟองสบูcot-com ในฤดูใบไม  รวง ของปค.ศ.2001 นับเปนจุดเปลียนสําคัญ ่ ของเว็บ http://commons.wikimedia.org/ • หลายคนสรุปวาเว็บไดรบการคาดหวังจากนัก ั ลงทุนมากเกินความเปนจริง(overhyped) • ฟองสบูแตกและการปรับตัวทีตามมานับเปน  ่ เรื่องปกติของการปฏิวติเทคโนโลยี ั Will Code HTML for Food (technological revolutions) • การปรับตัวบงบอกวาเทคโนโลยีใหมกําลัง แจงเกิดทามกลางการปรับตัวดังกลาว http://www.flickr.com/ Source:What Is Web 2.0 by Tim O’Reilly, 09/03/2005
  • 27. การประชุมวิชาการ และหนังสือ Web 2.0 การคนหาดวยคําวา “web 2.0” ใน Amazon.com ได หนังสือที่ •เริ่มครั้งแรก2005 มีชื่อนี้ 1,195 รายการ Web 2.0 Conference, October 2005 •ตอมาใน 2006 Web 2.0 Summit, November 2006
  • 28. การพัฒนาของเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต • PC-based •Languages – window, local area -HTML, Java, .Net, PHP, etc networks, etc. •Web servers/browsers • TCP/IP -Apache, etc. – Web 1.0 -Nescape, IE etc. – email, websites, search •XML engines (Google), -SOA, Web services eCommerce (Amazon), eGovernment, etc. •AJAX (asynchronous JavaScript • Web 2.0 (social webs) and XML) – Facebook, Twitter, -interactive web applications YouTube, MySpace, -SaaS Second Life etc.
  • 29. AJAX (Asynchronous JavaScript And XML) •การเปลี่ยนแปลงบางสวนของ หนาเว็บโดยเรียกขอมูลจากเซิฟ เวอรไมตองเรียกเว็บใหมทั้งหนา
  • 31. คุณสมบัติของ web 2.0 1.The Web As Platform 2. Harnessing Collective Intelligence 3. Data is the Next Intel Inside 4. End of the Software Release Cycle 5. Lightweight Programming Models 6. Software Above the Level of a Single Device 7. Rich User Experiences (Rich Internet Applications) http://oreilly.com/pub/a/web2/archive/what-is-web-20.html
  • 32. 1.The Web As Platform (from “desktop” to “webtop”) เปรียบเทียบ Netscape กับ Google • หาก Netscapeถือวาเปนแบบอยางทางคุณสมบัติของ Web 1.0, แลวกูเกิลก็ตองนับวาเปน แบบอยางทางคุณสมบัติของ Web 2.0 • Nestcape อาจนับไดวาใช “web as a platform” ในรูปแบบของซอฟตแวรดั้งเดิม • สินคาหลักคือเบราเซอร, การประยุกตบนเครื่องพีซีตั้งบนโตะ, และกลยุทธของบริษัทคือการใชเบรา เซอรสรางตลาดสินคาใหมีราคาสูงบนเซิฟเวอร • กูเกิลกลับเริ่มตนชีวิตจากเปนการประยุกตบนเว็บทันที มิไดมีวัตถุประสงคที่จะขายซอฟตแวรแพ็ก เก็จแตเปนซอฟตแวรที่ขายบริการ ลูกคาสามารถจายคาบริการโดยตรงหรือโดยออมก็ได • ธุรกิจของกูเกิลปราศจากจุดออนทางธุรกิจของอุตสาหกรรมซอฟตแวรดั้งเดิมกลาวคือ ไมมีการ กําหนดวาจะประกาศซอฟตแวรรุนตางๆ มีแตการปรับปรุงอยางสม่ําเสมอ ปราศจากการขาย ซอฟตแวรหรือการขายสิทธการใชซอฟตแวร มีแตการใหผูรับบริการใชเทานั้น ขณะที่เรากลาววาบริษัททั้งสองตางก็เปนบริษัทซอฟตแวร •Netscape นันตองถือวาอยูในกลุมเดียวกันกับโลกของ Lotus, Microsoft, Oracle, SAP, ้ และบรรดาบริษัทที่เริ่มตนชีวิตในชวงปฎิวัติซอฟตแวรของยุคค.ศ. 1980's •ขณะที่บรรดาเพื่อนฝูงของกูเกิลนั้นลวนแลวแตเปนซอฟตแวรประยุกตบนอินเทอรเน็ต กลาวคือ eBay, Amazon, Napster, DoubleClick และ Akamai.
  • 33. 2. Harnessing Collective Intelligence การที่บรรดาบริษัทยักษใหญทั้งหลายที่เกิดในยุคเว็บ1.0ยังประสบ ความสําเร็จอยางตอเนื่องขามเขาสูยุคเว็บ2.0ไดนั้น วางอยูบนหลักของการ ใชพลังของเว็บในการเก็บเกี่ยวปญญาสวนรวม (collective intelligence) เว็บ 1.0 •Hyperlink เปนพื้นฐานของการเชื่อมโยง เว็บ เมื่อผูใชเพิ่มสาระใหมลงไปบนเว็บไซต ของตนหรือสรางเว็บไซตใหม ก็อาศัย hyperlink ในการเชื่อมโยงเขากับเครือขาย เว็บ เว็บ2.0 •Wikipediaซึ่งเปนสารานุกรมออนไลนเกิด จากสมมติฐานที่ไมนาเชื่อวาการเติมสาระลง ไปในสารานุกรมนั้นสามารถกระทําไดโดย ผูใชเว็บคนใดก็ได •Blogging ก็ทํานองเดียวกันที่อาศัยความ คิดเห็นจากผูใชเว็บ •RSS ไมเพียงแตเสนอขาวหรือเนื้อหาใหม ในบล็อกแตยังแจงใหทราบถึงขอมูลเกิดใหม ทุกประเภททั้งหุน พยากรณอากาศอีกดวย 
  • 34. 3. Data is the Next Intel Inside •ความรูคือพลังและขอมูลทําใหแขงขันได •ปจจุบันเราสามารถผสมขอมูล(mashup)จากหลายแหลงเพื่อใหได ขอมูลที่ดีกวาจากแหลงเดียว http://www.housingmaps.com/ •Google's lightweight programming modelทําใหเกิดการบริการมูลคาเพิ่มในรูปแบบ ของ mashups ที่เชื่อมโยง Google maps กับแหลงขอมูลอื่นในอินเทอรเน็ต •เว็บไซตชื่อ housingmaps.com, ไดเชื่อมโยงผนวก Google Maps กับ Craigslist ที่ใหบริการขอมูลดานหองเชาและซื้อขายบานทําใหไดมาซึ่งเว็บไซตเพื่อการคนหองและ บานชนิดโตตอบกับลูกคาได
  • 35. 4. End of the Software Release Cycle • ซอฟตแวรเผยแพรในรูปของบริการมิใชผลิตภัณฑ • รูปแบบธุรกิจของบริษัทเปลี่ยนไป • การพัฒนาซอฟตแวรไมรูจบ 1.การปฏิบัติงานคือความสามารถหลัก •มีการเคลื่อนยายจาก”ซอฟตแวรเปนผลิตภัณฑ” ไปสู software as service •ซอฟตแวรจะไมมีประโยชนหากมิไดมีการบํารุงรักษาเปนประจําทุกวัน •กูเกิลตองไปเก็บ(crawl)เว็บทั้งหลายอยางตอเนื่องเพื่อปรับปรุงดัชนีการคนหาให ทันสมัย กรองสแปมและความพยายามที่จะกระทบกระเทือนผลการทํางาน ตอบสนองผูใชนับรอยลานคนพรอมกับเสนอการโฆษณาที่สอดคลองกับคําถาม 2.ผูใชกลายเปนผูรวมพัฒนาซอฟตแวรที่“ไมสมบูรณตลอดไป” •สะทอนใหเห็นถึงการทํางานของซอฟตแวรรหัสเปด •คําขวัญของการพัฒนาซอฟตแวรนี้คือ “เผยแพรใหเร็วและเผยแพรใหบอย" •บริการเชน Gmail, Google Maps, Flickr, del.icio.us, และอื่นๆก็อยูใน ลักษณะ"Beta" เปนปเชนกัน
  • 36. 5. Lightweight Programming Models • เมือเว็บเซอรวิสเริมเปนทีรูจักกัน บริษทขนาดใหญกระโดดเขา ่ ่ ั ใชเทคโนโลยีนี้ดวยความซับซอนหลายชั้นหลายขันตอน  ้ เพื่อใหไดผลิตภัณฑทเชื่อถือได ี่ – แตวา RSS ไดกลายเปนเว็บเซอรวิสที่นิยมแพรหลายเนื่องจากความ งายไมซับซอน ขณะที่เว็บที่ซับซอนของบรรดาบริษัทยักษใหญ ทั้งหลายยังตองรอคอยการใชงานจากลูกคา – เว็บเซอรวิสที่ใหบริการดานแผนที่มีมานานจากบริษัทเชน ESRI , MapQuest และ Microsoft MapPoint แตแผนที่ของกูเกิลเปนที่นิยม ทั่วโลกก็เพราะ เว็บเซอรวิสของกูเกิลที่สะดวกตอการใชนั่นเอง • นอกจากนี้บริษัทอืนยังมีเงื่อนไขอยางเปนทางการกับผูใช( a formal ่ contract ) ขณะทีแผนที่ของกูเกิลอนุญาตใหใครจะใชก็ได(data ่ for the taking)
  • 37. 6. Software Above the Level of a Single Device • iTunes เปนตัวอยางที่ดีที่แสดงถึงหลักการนี้ บริการจากเซิฟเวอรจํานวน มหาศาลสามารถไปถึงผูใชที่มีอุปกรณมือถือผานพีซีที่ทําหนาที่เปนหนวยความจํา กลาง(cache memory) และหนวยควบคุม( control station) •บริษัทอื่นพยายามใหบริการสาระจากเว็บไปยังอุปกรณมือถือเชนกัน แตไม ประสบความสําเร็จ •สวนการทํางานรวมกันของ iPod/iTunes นับเปนความสําเร็จที่เกิดจากการใช อุปกรณรวมกันหลายชิ้น
  • 38. 7. Rich User Experiences (Rich Internet Applications) • เบราเซอรยคแรกเชน Viola browser ในค.ศ. 1992 นันเริ่มใช ุ ้ "applets" ในการสงสาระไปยังผูใชได • จาวาสคริปตทําใหเกิด DHTML เปนการเริมตนของการเขียน ่ โปรแกรมแบบเบาใหไคลแอนตเริมเปนดานทีทํางานไดดวย ทําให ่ ่  เกิดคําวา richer user experiences. • ตอมาบริษท Macromedia เริ่มใชคําวา“rich internet ั applications" เพื่อแสดงถึงความสามารถของ Flash ในการ นําสงทั้งสื่อผสมและGUI-style ของการใชงาน • เทคโนโลยีสําคัญลาสุดดานนีคือ AJAX (Asynchronous ้ JavaScript and XML)ทีทําใหผูใชเปลี่ยนแปลงขอมูลบางสวนบน ่ จอไดโดยไมตองเปลี่ยนทั้งหนาเว็บ
  • 40. การสรางเว็บไซตยุคเว็บ1.0และเว็บ2.0 ยุคเว็บ 1.0 : (1) แสดงหนาอักษร รูปภาพ เสียงเทานั้นโดยการใช HTML เทานั้นและมีเบราเซอรในการเปดอาน สามารถเชื่อมโยงจากหนาหนึ่งไปอีก หนาหนึ่งที่อยูตางสถานที่ตั้งของเว็บได (2) ตอมามีฐานขอมูลเก็บไฟลสามารถใช HTML ฝง CGI (Common Gateway Interface) เรียกขอมูลจากฐานขอมูล(data base)ได ยุคเว็บ 2.0 : (1) สําหรับนักเทคโนโลยีคอมพิวเตอรนั้นจะอาศัยเครื่องมือที่ เรียกวา CMS (Content Management System) ชวยในการออกแบบและ จัดการสาระลักษณะเปนกรอบ(template)ไดลึกซึ้งอยางที่ตนเองตองการ (2)สําหรับผูใช(ที่ไมประสงคจะเรียนรูภาษาคอมพิวเตอร)นั้นจะ สามารถสรางเว็บไซตของตนเองไดโดยอาศัยบริการที่ไมคิดคาใชจายเชน Google, Yahoo, etc.
  • 41. ตัวอยางที่ 1: สราง Website โดยไมตองรูภาษาคอมพิวเตอร  •ปจจุบันเราสามารถสรางเว็บไซตเพื่อเผยแพรสูสาธารณะไดโดยไมตองรู ภาษาคอมพิวเตอร •ตัวอยางเชน Google Sites เปนตน Main Features •No html coding is required and you do not need any web experience. •Drag and drop the objects. True WYSIWYG layout & design. •Create websites with multiple pages and easily manage your site at once. •Pre-designed website templates are included. •Preview web pages in browser with one- click. •Publish your web site with just one-click •Hundreds of functions: photo gallery, rollover image, flash slide show, audio/video, flash video, ready-to-use Java Script effects, tables, forms, iFrames and much more... http://sites.google.com/site/pairash2/
  • 42. ตัวอยางที่ 2 : เว็บไซตสวนตัวหรือ Start Page (1) •Start page เปนหนาเว็บเพื่อกิจกรรมของเราเองบนอินเทอรเน็ต •เราสามารถดึงขอมูลจากที่ตางๆ(web feeds) การจําหนา(bookmarks) รับทราบอีเมลที่เชามาใหม ปฏิทิน พยากรณอากาศ รูปภาพจาก Flickr, ฯลฯ •ตัวอยางเชนบริการของกูเกิลที่เรียกวา iGoogle เปนตน
  • 43. Start Pages: บริการอืนนอกจากของ Google(2) ่ ตัวอยาง: iGoogle, Netvibes, Pageflakes, My Yahoo!, Lifehackers, Aboutblank http://web2.econsultant.com/personalized-start-pages-services.html http://lifehacker.com/393837/five-best-start-pages http://www.pandia.com/sew/451-personalized.html
  • 44. ตัวอยางที่ 3: Blogs • บล็อกคือเว็บไซตที่ดูแลโดยบุคคลที่มีการ ปอนขอความของเหตุการณเปนประจํา • ปกติมีความเห็นจากบุคคลอื่นที่สนใจเขาไป เสนอความเห็นดวยอาจเปนขอความ ภาพ หรือวิดิทัศนก็ได ตัวอยางบล็อกของบีบีซี
  • 45. Blogs(ตอ) เว็บไซตยอดนิยม 10 แหงที่ใหบริการบล็อกไดแก WordPress, TypePad, Squarespace, Blogger, AOL Journal, Windows Live Spaces, Xanga, LiveJournal, Vox, MySpace http://blog-services- review.toptenreviews.com/
  • 47. ตัวอยางที4: ่ RSS ยอมาจาก "Really Simple Syndication“เปนรูปแบบของ RSS การดึงขอมูลจากเว็บไซตหนึงมายังเว็บไซตของเราเพื่อใหทราบ ่ การเปลี่ยนแปลงที่ทันสมัยตลอดเวลา ตัวอยางเชนการ เปลี่ยนแปลงของบล็อก หัวขอขาวใหม เสียงและวิดีทัศนเปนตน 2 1 4 3
  • 48. ตัวอยางที5:Social Bookmarking(1) ่ •Social bookmarking เปนวิธีการที่ผูใชอินเทอรเน็ตรวมกันทําbookmarks ของ สารสนเทศจากแหลงเว็บไซตตางๆเพื่อจะไดแบงกันใช •มีการจัดทํา tags รวมกันโดยอัตโนมัตหรือเพิ่มเติมเองเพื่อประโยชนในการคนหา ิ •การจัดทําtagsดวยกันนีนยมเรียกกันวา social tagging, social indexing, social ้ ิ classification หรือนิยมเรียกเปนภาษาเว็บวา folksonomy (folk + taxonomy) The Top 10 Best Bookmarking Websites 1. Delicious 2. StumbleUpon 3. Digg 4. Reddit 5. Yahoo! Buzz 6. Slashdot 7. Newsvine 8. Mixx 9. Diigo 10. Propeller http://webstudio13.com/2009/12/02/the-top-10-best-social-bookmarking-websites/
  • 49. Social Book Marking(2) Delicious (เดิมชือ del.icio.us อานวา "delicious") ่
  • 50. Social Book Marking(3) ฆ Bookmarks ของเราที่อยูบน delicious 
  • 51. Social Book Marking(4) 1 วิธีเติม bookmarking 4 2 3
  • 52. ตัวอยางที่ 6 : Wiki(1) •วิกิ เปนเว็บไซตใหบริการในการสรางปรับปรุง เนื้อหารวมกันจากผูอยูบนอินเทอรเน็ต   • วิกิตองอาศัยวิกซอฟตแวรในการทํางาน  ิ รวมกัน http://www.wikimatrix.org/
  • 53. Wiki(2) โครงการสวนพฤกษศาสตร โรงเรียนตามพระราชดําริสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรม ราชกุมารี
  • 54. ตัวอยางที่ 7: Social networks •หลังจากเริ่มตน 6 ปที่แลว ปจจุบัน Facebook เปน ไวตที่นิยมเปนอันดับ2รองจากกูเกิล •มีผูใชทั่วโลกมากกวา 350 ลานคน •ซึ่งหากเปนประเทศแลวFacebookก็จะมีประชากร มากเปนอันดับ 3 ถัดจากจีนและอินเดีย •ผูใชกวา 55 ลานคนเขาไปปรับปรุงในแตละ วันและแบง(share)สาระกันดูกวา3.5 พันลาน ชิ้นตอสัปดาห
  • 55. • What's happening is that our privacy has become a kind of currency. It's what we use to pay for online services. • Google charges nothing for Gmail; instead, it reads your e-mail and sends you advertisements based on keywords in your private messages •Their entire business model is based on the notion of "monetizing" our privacy. •To succeed they must slowly change the notion of privacy itself—the "social norm," as Facebook puts it—so that what we're giving up doesn't seem so valuable. •Then they must gain our trust. Thus each new erosion of privacy comes delivered, paradoxically, with rhetoric about how Company X really cares about privacy. •I'm not sure whether Orwell would be appalled or impressed. •And who knew Big Brother would be not a big government agency, but a bunch of kids in Silicon Valley? http://www.newsweek.com/
  • 56. Pros and Cons(1) • “This represents a dramatic and permanent upgrade in people’s ability to communicate with one another,” says Marc Andreessen, a Silicon Valley veteran who has invested in Facebook, Twitter and Ning, an American firm that hosts almost 2m social networks for clients. •Twitter regularly scores headlines with its real-time updates on events like the Mumbai terrorist attacks and on the activities of its high-profile users, who include rap stars, writers and royalty. •Both Twitter and Facebook played a starring role in the online campaign strategy that helped sweep Barack Obama to victory in the presidential race. Source: economist.com, Jan 2010
  • 57. Pros and Cons(2) • They must demonstrate that they are capable of generating the returns that justify the lofty valuations investors have given them. • Critics also say that the networks’ advertising-driven business model is flawed. •A survey of 1,400 chief information officers conducted last year by Robert Half Technology, a recruitment firm, found that only one- tenth of them gave employees full access to such networks during the day, and that many were blocking Facebook and Twitter altogether. •The executives’ biggest concern was that social networking would lead to social notworking, with employees using the sites to chat with friends instead of doing their jobs. •Some bosses also fretted that the sites would be used to leak sensitive corporate information. Source: economist.com, Jan 2010
  • 59. ประวัติยอของหองสมุด •หองสมุดของกษัตริยAshurbanipal (บางครั้งก็ เขียนAssurbanipal)ยุค 668-627 กอนตริสตกาล เปนการรวบขอเขียนบนแผนอิฐราว 30,000 แผน Library of Ashurbanipal •คนพบเมื่อกลางคริสตศตวรรษที่ 19 ทีเมืองยุคเม at the British Museum โซโปเตเมียชือนิเนเวห( Nineveh) ่ • หองสมุดอเล็กซานเดรียคงจะเปนหองสมุดที่ ใหญที่สุดหและมีชื่อเสียงมากที่สุดในโลกยุค โบราณ •รุงเรืองใตการอุปถัมภของราชวงศปโตเลมี •ศูนยกลางสําคัญของการศึกษาตราบจนกระทั่ง โรมเขาครองอียิปตและหลังจากนั้นอีกนับหลาย ศตวรรษ •เขาใจวาสรางราวศตวรรษที่3กอนครสตกาล •ปจจุบันก็ยังเปนที่รูจักกันดีทั่วโลก The new Library of Alexandria, Egypt http://archaeology.about.com/od/lterms/qt/ashurbanipal.htm wikipedia
  • 60. หองสมุดดิจิทัลโลก • สนับสนุนโดยูเนสโก Examples of Partner Institutes (World Digital Library) • หนังสืออิเล็กทรอนิกสที่ สามารถเรียกผานอินเทอรเน็ต ไดโดยไมคิดคาใชจาย • หลากหลายภาษาจากเอกสาร ตนฉบับจากประเทศและอารย ธรรมตางๆทั่วโลก • เมื่อ 22 เมษายน ค.ศ. 2009 ไดลงนามรวมมือกับ 32 สถาบันทั่วโลก http://www.wdl.org/
  • 63. หนังสือกูเกิล(Google Books) •กูเกิลถายสําเนาอิเล็กทรอนิกสหนังสือทั้งเลม(full text of book)และเก็บไวในฐานขอมูล •ผูใชบริการสามารถเรียกดูผานอินเทอรเน็ตได •เดิมเรียกวาGoogle Print เมื่อแนะนําครั้งแรกที่งานแสดงหนังสือเมืองแฟรงเฟรตในเดือน ตุลาคมค.ศ.2004. •Booksellers that have ordered its $100,000 Espresso Book Machine, which cranks out a 300 page gray-scale book with a color cover in about 4 minutes, at a cost to the bookstore of about $3 for materials. •The machine prints the pages, binds them together perfectly, and then cuts the book to size and then dumps a book out, literally hot off the press. Source: nytimes.com, wired.com
  • 64. Library 2.0 •Library 2.0 เปนชื่อรียกรูปแบบการใหบริการของหองสมุดยุคใหม •จุดเนนอยูที่ผูใชเปนศูนยกลางและการมีสวนรวมของผูใชในรูปแบบ ของชุมชนอินเทอรเน็ตที่สามารถมีสวนรวมในการเสนอเนื้อหา •แนวคิดและปรัชญาของ Library 2.0 มาจาก Web 2.0 wikipedia
  • 65. The two concepts of Library 2.0 http://librariansmatter.com/blog/2007/04/19/what-is-library20-and-library20/
  • 66.
  • 67. ตัวอยาง Library 2.0 ในประเทศไทย(1)
  • 69. สรุป 1. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารยังมีวิวัฒนาการอยางไม หยุดยังโดยมีอนเทอรเน็ตเปนแกนหลักและแกนนําทีสําคัญ ้ ิ ่ 2. เว็บไซตไดวิวฒนาการจากเว็บ1.0เขาสูเว็บ 2.0 ั 3. แมนจะมีคุณลักษณะหลายประการแตที่สําคัญคือการมีสวนรวม ของผูใช การแบงปนสารสนเทศและการเกิดเครือขายชุมชนบน อินเทอรเน็ต 4. ปจจุบันผูใชที่มิไดมึความรูเรืองภาษาคอมพิวเตอรสามารถสราง ่ เว็บไซตสาธารณะและสวนตัวไดภายในไมกนาที ี่ 5. เว็บไซตอาจเปนรูปแบบดั้งเดิม บล็อก วิกี เสียง รูปภาพ ที่สามารถใชประโยชนการดึงขอมูล(RSS) การสรางคําสําคัญ รวมกัน (folksonomy) 6. หองสมุดวิวฒนาการจากแผนอิฐ กระดาษจนปจจุบันเปนดิจิทล ั ั และกําลังเขาสูยุคเว็บ 2.0