SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 166
Baixar para ler offline
แผนกลยุทธ
สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555)




           สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ
        กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี


                    ~1~
สารบัญ

คํานํา                                                                                        8
บทสรุปผูบริหาร                                                                               10
บทที่ 1 บทนํา                                                                                 16
         1.1 หลักการและเหตุผล                                                                 16
         1.2 วัตถุประสงคการจัดทําแผนกลยุทธ                                                  18
บทที่ 2 การวิเคราะหสภาวะแวดลอมของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ                                    20
         2.1 ผลการดําเนินงานของสถาบันฯ ตามแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551)   20
         2.2 สถานภาพปจจุบันของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ                                        23
         2.3 การวิเคราะหสภาพแวดลอม                                                          25
บทที่ 3 แผนกลยุทธจากการวิเคราะหสภาวะแวดลอม (Strategic Plan from SWOT Analysis)             30
         3.1 SWOT Matrix                                                                      30
         3.2 วิสัยทัศนของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ                                             32
         3.3 พันธกิจของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ                                                32
         3.4 วัฒนธรรมและคานิยม                                                               32
         3.5 เปาประสงคการใหบริการของสถาบันฯ                                                32
         3.6 แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ                                                33
บทที่ 4 แผนงานและโครงการตามแผนกลยุทธ                                                         36
         4.1 การวิเคราะหปจจัยแหงความสําเร็จที่มผลตอการดําเนินงานของสถาบันฯ
                                                ี                                            36
         4.2 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1                                                           42
              กลยุทธที่ 1                                                                    42
         4.3 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2                                                           51
              กลยุทธที่ 2                                                                    51
         4.4 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3                                                           56
              กลยุทธที่ 3                                                                    56
         4.5 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4                                                           61
              กลยุทธที่ 4                                                                    61




                                             ~2~
บทที่ 5 การเชื่อมโยงระหวางแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยากับแผนแมบทการพัฒนา
        ระบบมาตรวิทยาแหงชาติ และแผนอื่นๆ ทีเ่ กี่ยวของ                              66
        5.1 การเชื่อมโยงระหวางแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยากับแผนแมบทฯ แผนปฏิบัติราชการ
            กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และแผนบริหารราชการอืนๆที่เกี่ยวของ
                                                                 ่                    66
        5.2 ประมาณการงบประมาณเบื้องตนตามแผนกลยุทธ ฯ                                 68
        5.3 ประมาณการบุคลากรเบื้องตนตามแผนกลยุทธ ฯ                                  73
บทที่ 6 แผนการติดตามและประเมินผล                                                      76
        6.1 การประเมินโดยการประเมินตนเอง                                              76
        6.2 การประเมินโดยหนวยงานภายนอก                                               77
ภาคผนวก
        ภาคผนวก ก ระบบมาตรวิทยาแหงชาติ                                               78
        ภาคผนวก ข ความเปนมาของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ                                84
        ภาคผนวก ค โครงสรางองคกรและอัตรากําลังของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ             90
        ภาคผนวก ง แผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) 96
        ภาคผนวก จ แผนยุทธศาสตรชาติดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ (พ.ศ.2552-2559)         102
        ภาคผนวก ฉ ผลการดําเนินงานตามแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ
                      (พ.ศ.2548-2551)                                                 122
        ภาคผนวก ช ผลการสํารวจความตองการสอบเทียบและจํานวนเครื่องมือวัดของ
                      ภาคอุตสาหกรรม                                                   146
        ภาคผนวก ซ ผลการสํารวจจํานวนการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัด และขีด
                      ความสามารถทางการวัดของหองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิ      152
        ภาคผนวก ฌ ผลกระทบจากการพัฒนาระบบมาตรวิทยาใหเขมแข็ง                          158
        ภาคผนวก ญ แผนการดําเนินการจัดทําแผนกลยุทธฯ                                   162




                                         ~3~
สารบัญตาราง

ตารางที่ 1    การวิเคราะหจดแข็ง (Strength) ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ
                              ุ                                                        25
ตารางที่ 2    การวิเคราะหจดออน (Weakness) ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ
                                ุ                                                      26
ตารางที่ 3    การวิเคราะหโอกาส (Opportunity) ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ               27
ตารางที่ 4    การวิเคราะหอุปสรรค (Threat) ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ                  28
ตารางที่ 5    ตัวชี้วัด เปาหมายของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในกลยุทธที่ 1                44
ตารางที่ 6    กลไกการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกียวของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย)
                                                         ่
              ของกลยุทธที่ 1                                                          50
ตารางที่ 7    ตัวชี้วัด เปาหมายของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในกลยุทธที่ 2                52
ตารางที่ 8    กลไกการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกียวของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย)
                                                           ่
              ของกลยุทธที่ 2                                                          55
ตารางที่ 9    ตัวชี้วัด เปาหมายของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในกลยุทธที่ 3                57
ตารางที่ 10   กลไกการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกียวของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย)
                                                             ่
              ของกลยุทธที่ 3                                                          59
ตารางที่ 11   ตัวชี้วัด เปาหมายของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในกลยุทธที่ 4                62
ตารางที่ 12   กลไกการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกียวของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย)
                                                               ่
              ของกลยุทธที่ 4                                                          63
ตารางที่ 13   ประมาณการความตองการงบประมาณในการดําเนินงานสถาบันฯ
              ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2552-2555 จําแนกตามแผนกลยุทธ และแผนงาน             69
ตารางที่ 14   ประมาณการความตองการอัตรากําลังคนที่เพิมขึ้นของสถาบันฯ พ.ศ.2552-2555
                                                       ่                               73
ตารางที่ 15   แผนการดําเนินงานติดตามและประเมินตนเอง                                    77
ตารางที่ 16   อัตรากําลังคนของสถาบันฯ พ.ศ.2551 จําแนกตามวุฒิการศึกษา                   94
ตารางที่ 17   แผนความตองการงบประมาณของยุทธศาสตรชาติดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
              พ.ศ.2552-2559                                                            118
ตารางที่ 18   ตัวชี้วัดผลการดําเนินงานการพัฒนาระบบมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ               119
ตารางที่ 19   ผลการสํารวจความตองการสอบเทียบเครืองมือวัดของภาคอุตสาหกรรม
                                                   ่
              จําแนกตามสาขาการวัด                                                      125
ตารางที่ 20   สถิติการเขารวมการอบรม ณ ตางประเทศ จําแนกตามป                         132
ตารางที่ 21   จํานวนโรงงานภาคอุตสาหกรรมของประเทศ พ.ศ. 2549-2550 จําแนกตามประเภท
              อุตสาหกรรม                                                               149


                                         ~4~
ตารางที่ 22   ประมาณการจํานวนเครื่องมือวัดของโรงงานอุตสาหกรรมที่ไดรับรอง
              ระบบบริหารงานคุณภาพทังประเทศ จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม
                                     ้                                             150
ตารางที่ 23   ประมาณการจํานวนการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดและขีดความสามารถทางการวัด
              ของหองปฏิบติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิ จําแนกตามสาขาการวัด
                         ั                                                         155




                                        ~5~
สารบัญแผนภาพ

แผนภาพที่ 1  การกําหนดกลยุทธจาก SWOT Matrix                                      30
แผนภาพที่ 2  SWOT Matrix ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ                               31
แผนภาพที่ 3  แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ                                    64
แผนภาพที่ 4  การเชื่อมโยงระหวางกลยุทธของแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ
             (พ.ศ.2552-2555) กับหนวยงานที่เกียวของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย)
                                              ่                                   65
แผนภาพที่ 5 การเชื่อมโยงระหวางแผนยุทธศาสตรกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
             แผนแมบทฯกับแผนกลยุทธสถาบันฯ                                        66
แผนภาพที่ 6 การเชื่อมโยงระหวางแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติกับแผนแมบทฯ
             แผนปฏิบัติราชการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แผนยุทธศาสตรชาติ
             นโยบายภาครัฐ และแผนบริหารราชการอืนๆ ทีเ่ กี่ยวของ
                                                   ่                              67
แผนภาพที่ 7 ประเภทของมาตรวิทยาจําแนกตามระดับความแมนยํา                           81
แผนภาพที่ 8 โครงสรางระบบมาตรวิทยาของชาติเชื่อมโยงถึงการยอมรับจากนานาชาติ         83
แผนภาพที่ 9 แสดงโครงสรางการบริหารสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ                         93
แผนภาพที่ 10 รอยละของอัตรากําลังคนของสถาบันฯ พ.ศ.2551 จําแนกตามวุฒการศึกษา ิ     94
แผนภาพที่ 11 ประมาณการจํานวนการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดของหองปฏิบัติการฯ
             พ.ศ.2550 จําแนกตามสาขาการวัด                                         155
แผนภาพที่ 12 จํานวนหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบที่ไดรับการรับรอง
             ความสามารถ ISO/IEC 17025 ทั้งประเทศ พ.ศ.2550 จําแนกตามภาค            156




                                         ~6~
~7~
คํานํา

           สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดจัดทําแผนกลยุทธสถาบัน
มาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) เปนการกําหนดทิศทางการดําเนินงานของสถาบันมาตรวิทยา
แหงชาติ โดยแผนกลยุทธสถาบันฯ จะเชื่อมโยงกับยุทธศาสตรของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นโยบายของรั ฐ บาล และยุ ท ธศาสตร ที่ เ กี่ ย วข อ ง มี ส ว นช ว ยผลั ก ดั น ให เ กิ ด การขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นา
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศใหสามารถแขงขันไดอยางยั่งยืน การดําเนินงานตามแผนกลยุทธสถาบัน
มาตรวิ ท ยาแห ง ชาติ จ ะทํ า ให ร ะบบมาตรวิ ท ยาแห ง ชาติ ส มบู ร ณ เ ป น ที่ ย อมรั บ ของนานาชาติ
ภาคอุตสาหกรรม และภาคเศรษฐกิจที่เกี่ยวของมีศักยภาพสามารถแขงขันกับนานาประเทศไดในยุคการคา
เสรีที่มีการกีดกันทางการคา โดยอาศัยความไดเปรียบทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาเปนขอกําหนด
คุณภาพของสินคา สงผลใหเศรษฐกิจของประเทศมีความเจริญกาวหนาอยางยั่งยืน นอกจากนี้การมีระบบ
มาตรวิทยาแหงชาติที่สมบูรณตามมาตรฐานสากลจะมีบทบาทสําคัญในการคุมครองผูบริโภคในประเทศ
ตลอดจนการอนุรักษสิ่งแวดลอม อันสงผลใหสังคมไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
           แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) จะเรงการพัฒนาสถาบันมาตรวิทยา
แหงชาติใหเปนที่ยอมรับของนานาชาติ สามารถใหบริการมาตรฐานดานการวัดแหงชาติไดเพียงพอกับ
ความตองการในประเทศ เรงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของประเทศให
เขมแข็ง เรงการสงเสริมสนับสนุนใหมีหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบที่มีคุณภาพและมี
จํานวนที่เพียงพอสําหรับรองรับความตองการของภาคอุตสาหกรรม สามารถคุมครองผูบริโภคในประเทศ
และการอนุรักษสิ่งแวดลอม ตลอดจนเรงสงเสริมการสรางความตระหนักดานมาตรวิทยาแกกลุมผูใชบริการ
มาตรวิทยา รวมทั้งการใชมาตรวิทยาเปนเครื่องมือในการเสริมสรางพันธไมตรีอันดีระหวางประเทศเพื่อนบาน
อันจะสงผลใหผูประกอบการไทยสามารถขยายตลาดสูตลาดตางประเทศ ซึ่งการพัฒนาในแตละประเด็น
ดั ง กล า วได มี ก ารกํ า หนดเป า หมาย ตั ว ชี้ วั ด ผลผลิ ต กิ จ กรรม หน ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบ การประมาณ
การงบประมาณ และการติดตามประเมินผลไวอยางชัดเจน เพื่อสามารถนําแผนไปสูการปฏิบัติไดอยางเปน
รูปธรรม
           ผลสําเร็จของการจัดทําแผนกลยุทธฉบับนี้เกิดจากความรวมมือรวมใจอยางเขมแข็งจากผูบริหาร
บุคลากรในสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ และหนวยงานที่เกี่ยวของในการรวมระดมความคิดเห็น เพื่อใหได
แผนกลยุทธอันสามารถนําไปใชในการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของชาติใหสมบูรณ สามารถเปนโครงสราง
พื้นฐานดานวิทยาศาสตรของชาติที่สําคัญในการพัฒนาประเทศใหกาวหนาอยางยั่งยืนตอไป




                                                      ~8~
~9~
บทสรุปผูบริหาร

         สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ มีหนาที่สถาปนา พัฒนา และรักษามาตรฐานดานการวัดแหงชาติ
เพื่อเปนหลักประกันความถูกตองของการวัด การวิเคราะห และทดสอบ เพื่อใหผลิตภัณฑมีคุณภาพได
มาตรฐานตามขอกําหนดของประเทศคูคา สถาบันฯ ไดดําเนินงานพัฒนาระบบมาตรวิทยาของชาติตาม
แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551) โดยมีผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายที่
กําหนด เพื่อใหการดําเนินการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ มีความตอเนื่องมีทิศทางในการดําเนินงาน
ที่ชัดเจน จึงดําเนินการจัดทําแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) โดยแผนกลยุทธฯ
มีความสอดคลองกับแผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) และ
แผนปฏิบัติราชการ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (พ.ศ.2552-2554)
         นอกจากนี้สถาบันฯ ยังนําพระราชกฤษฏีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี
พ.ศ.2546 การจัดทําระบบงบประมาณที่เนนผลงานตามยุทธศาสตร (Strategic Performance-Based
Buddgeting: SPBB) และเครื่องมือวิเคราะหระดับความสําเร็จของการดําเนินงานจากการใชจายงบประมาณ
(Performance Assessment Rating Tool: PART) มาใชในการปรับปรุงการบริหารงานเชิงกลยุทธ ตลอดจน
การวิเคราะหความเชื่อมโยงของสถาบันฯ กับความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ เพื่อใหสถาบันฯ สามารถ
จัดทําแผนกลยุทธที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีระบบ และมีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ และใช
ทรัพยากรอยางคุมคา

สรุปผลการดําเนินงานตามแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551)
         1) สามารถดําเนินการสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติและสามารถใหบริการสอบเทียบไดเพิ่มขึ้นเปน
424 รายการวัด
         2) หนวยวัดดานฟสิกสสามารถตอบสนองความตองการในประเทศไดประมาณรอยละ 83 ตอง
พัฒนาเพิ่มใหเพียงพอกับความตองการภายในประเทศ
         3) ความตองการดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพในประเทศสูง ควรเรงดําเนินการพัฒนา โดยเรง
ดําเนินการพัฒนาวัสดุอางอิงรับรอง (Certified Reference Material: CRM) จัดทําโปรแกรมการทดสอบ
ความชํานาญ (Proficiency Testing Program: PT) ใหเพียงพอ และพัฒนาหองปฏิบัติการวิเคราะหและทดสอบ
อางอิงแหงชาติ (National Reference Laboratory)
         4) ขอบขายการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดของหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบ
ระดับทุติยภูมิยังไมสามารถตอบสนองความตองการในประเทศไดอยางเพียงพอ
         5) จํานวนและการกระจายตัวของหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิ
ในสวนภูมิภาคยังไมเพียงพอตอความตองการของภาคอุตสาหกรรม



                                             ~ 10 ~
6) ประมาณการจํานวนเครื่องมือวัดของโรงงานภาคอุตสาหกรรมทั่วประเทศ ป 2550 มีจํานวน
ประมาณ 7.9 ลานชิ้น และมีจํานวนเครื่องมือวัดที่ไดรับการสอบเทียบอยางถูกตองประมาณ 4 แสนชิ้น คิดเปน
รอยละ 5.13
        7) สังคมไทยที่ตระหนักถึงความสําคัญและเห็นประโยชนของระบบมาตรวิทยามีจํานวนนอย

แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555)
     แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) ประกอบดวย 4 กลยุทธ ดังนี้

       ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1          มาตรฐานดานการวัดแหงชาติตองเปนที่ยอมรับของนานาชาติ
                                       และเพียงพอกับความตองการในประเทศ
       กลยุทธที่ 1        เรงพัฒนาสถาปนาหนวยวัดมาตรฐานแหงชาติใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล
                           และเพียงพอกับความตองการในประเทศ
                           แผนงานที่ 1.1 สถาปนาและพั ฒ นาหน ว ยวั ด แห ง ชาติ ใ ห ส อดคล อ งกั บ
                                          มาตรฐานสากล
                                   โครงการที่ 1.1.1 โครงการสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติ
                           แผนงานที่ 1.2 พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของ
                                          ประเทศใหเขมแข็งและไดรับการยอมรับจากนานาชาติ
                                   โครงการที่ 1.2.1 โครงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานมาตรวิทยาเคมี
                                                    และชีวภาพ
                                   โครงการที่ 1.2.2 โครงการผลิ ต วั ส ดุ อ า งอิ ง สํ า หรั บ การวิ เ คราะห
                                                    ทางดานอาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดลอม
                                   โครงการที่ 1.2.3 โครงการจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญ
                                                    สําหรับการวิเคราะหทางดานอาหาร สุขภาพ และ
                                                    สิ่งแวดลอม
                                   โครงการที่ 1.2.4 โครงการผลิตวัสดุอางอิงและโปรแกรมการทดสอบ
                                                    ความชํานาญทางดานชีววิทยา
                           แผนงานที่ 1.3 พัฒนาและดํารงระบบคุณภาพของสถาบัน
                                   โครงการที่ 1.3.1 โครงการพั ฒ นาและดํ า รงระบบคุ ณ ภาพ
                                                    หองปฏิบัติการ




                                               ~ 11 ~
แผนงานที่ 1.4 พัฒนาขีดความสามารถงานวิจัยดานมาตรวิทยา
                       โครงการที่ 1.4.1 โครงการพั ฒ นาขี ดความสามารถงานวิจัยและ
                                        พัฒนาดานมาตรวิทยา
                 แผนงานที่ 1.5 พัฒนาบุคลากรดานมาตรวิทยา
                       โครงการที่ 1.5.1 โครงการเพิ่มขีดความสามารถบุคลากร
                       โครงการที่ 1.5.2 โครงการความรวมมือทางวิชาการดานมาตรวิทยา
                                        กับตางประเทศ
                       โครงการที่ 1.5.3 โครงการพั ฒ นาระบบการจั ด การองค ค วามรู
                                        (Knowledge Management: KM)

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2        การบริการดานการวัด การวิเคราะห การทดสอบ และสอบเทียบ
                              ใหไดมาตรฐานสากล และเพียงพอกับความตองการในประเทศ
กลยุทธที่ 2     เรงถายทอดความถูกตองดานการวัดสูหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิในประเทศ
                 แผนงานที่ 2.1 พัฒนาการใหบริการสอบเทียบและการใหคําปรึกษา
                          โครงการที่ 2.1.1 โครงการบริการสอบเทียบเครื่องมือวัด และการให
                                              คําปรึกษา
                 แผนงานที่ 2.2 ส ง เสริ ม ห อ งปฏิ บั ติ ก ารระดั บ ทุ ติ ย ภู มิ ใ ห มี คุ ณ ภาพตาม
                                  มาตรฐานสากลและขยายการบริการใหครอบคลุมความ
                                  ตองการในประเทศ
                          โครงการที่ 2.2.1 โครงการเสริมสรางความเขมแข็งหองปฏิบัติการ
                                              วิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิ
                 แผนงานที่ 2.3 สงเสริมใหมีหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิในภูมิภาค
                          โครงการที่ 2.3.1 โครงการส ง เสริ ม ให มี ห อ งปฏิ บั ติ ก ารวิ เ คราะห
                                              ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิในภูมิภาค
                          โครงการที่ 2.3.2 โครงการความร วมมื อในการพั ฒนามาตรวิทยากั บ
                                              เครือขายพันธมิตร




                                      ~ 12 ~
ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3          สังคมไทยตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชนของมาตรวิทยา
กลยุทธที่ 3   ส ง เสริ ม กลุ ม ผู ใ ช บ ริ ก ารมาตรวิ ท ยาให ต ระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ และเห็ น
               ประโยชนของมาตรวิทยา
               แผนงานที่ 3.1 สรางความตระหนักและพัฒนาการเรียนการสอนดานมาตรวิทยา
                                        เพื ่อ ใหผู ใ ชบ ริก ารมาตรวิท ยาในกลุ ม ผู อ ยู ใ นระบบงาน
               ปจ จุบัน กลุ ม บุค คลผูจะเขา สู ระบบงานในอนาคต และกลุ ม บุคคลทั่วไป
               ตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชน
                          โครงการที่ 3.1.1 โครงการสร า งความตระหนั ก ด า นมาตรวิ ท ยา
                                                        ใหแกผูใชบริการมาตรวิทยา
                          โครงการที่ 3.1.2 โครงการสงเสริมการเรียนการสอนดานมาตรวิทยา
                                                        ในสถานศึกษา
               แผนงานที่ 3.2 พัฒนาศักยภาพการวัดในภาคอุตสาหกรรม
                                        เพื่อใหผูใชบริการมาตรวิทยาในกลุมบุคคลผูอยูในระบบงาน
               ปจจุบันของภาคอุตสาหกรรมตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชน
                          โครงการที่ 3.2.1 โครงการยกระดับความสามารถดานการวัดใน
                                                        ภาคอุตสาหกรรม
               แผนงานที่ 3.3 ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น การวั ด ทางการแพทย ใ ห เ ป น ไปตาม
                                        มาตรฐานสากล
                                      เพื่อใหกลุมบุคคลผูอยูในระบบงานปจจุบันของการแพทย
               ตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชนของมาตรวิทยา
                          โครงการที่ 3.3.1 โครงการสงเสริมการสอบเทียบเครื่องมือวัดทาง
                                                        การแพทยตามมาตรฐานสากล
                          โครงการที่ 3.3.2 โครงการสงเสริมการวัดชีวเคมีทางการแพทยตาม
                                                        มาตรฐานสากล
               แผนงานที่ 3.4 พัฒนาระบบสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพและทันสมัย
                          โครงการที่ 3.4.1 โครงการปรับปรุงเว็บไซดของสถาบันฯ
                          โครงการที่ 3.4.2 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศสําหรับการบริหาร
                                                        ใหทันสมัย




                                           ~ 13 ~
ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4        ระบบมาตรวิ ท ยาแห ง ชาติ ที่ เ ข ม แข็ ง สนั บ สนุ น กิ จ กรรม
                                     ตางประเทศของรัฐบาล
       กลยุทธที่ 4      สงเสริมใหมาตรวิทยาเปนเครื่องมือของรัฐในการเสริมสรางสัมพันธไมตรี
                         ระหวางประเทศ
                         แผนงานที่ 4.1 เสริ ม สร า งสั ม พั น ธไมตรี ร ะหว า งประเทศเพื่ อ นบ า นโดย
                                         กิจกรรมดานมาตรวิทยา
                                 โครงการที่ 4.1.1 โครงการความรวมมือดานมาตรวิทยากับประเทศ
                                                    เพื่อนบาน
                         แผนงานที่ 4.2 สนับสนุนการขยายตลาดดานมาตรวิทยาของภาคเอกชนสู
                                         ประเทศเพื่อนบาน
                                 โครงการที่ 4.2.1 โครงการสงเสริมผูประกอบการไทยในการขยาย
                                                    ตลาดสูตางประเทศ

ระยะเวลาดําเนินการ
      เริ่มดําเนินการ พ.ศ.2552
      สิ้นสุดการดําเนินการ พ.ศ.2555
      รวมระยะเวลาดําเนินการ 4 ป

งบประมาณดําเนินการ
   1) ประมาณการงบประมาณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2552 จํานวน 200.00                   ลานบาท
   2) ประมาณการงบประมาณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2553 จํานวน 255.40                   ลานบาท
   3) ประมาณการงบประมาณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2554 จํานวน 770.00                   ลานบาท
   4) ประมาณการงบประมาณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2555 จํานวน 1016.00                  ลานบาท




                                            ~ 14 ~
~ 15 ~
บทที่ 1
                                                บทนํา

1.1 หลักการและเหตุผล
         การจัดทําแผนกลยุทธขององคกรเปนสวนหนึ่งของการจัดการเชิงกลยุทธ (Strategic Management)
การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธที่มีพลวัตและสามารถปรับเปลี่ยนใหทันการเปลี่ยนแปลงอยาง
รวดเร็วทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและเทคโนโลยี จะนํามาซึ่งความสําเร็จของการบริหารจัดการใน
ภาวะการณที่มีการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง โดยการจัดทําแผนกลยุทธจะมุงเนนการกําหนดทิศ
ทางการดําเนินภารกิจขององคกรในอนาคตที่ชัดเจน มีความสอดคลองกับสถานการณภายนอก จุดแข็ง
และจุดออน และทรัพยากรในองคกร มีการจัดลําดับความสําคัญเพื่อสามารถตอบสนองและปรับปรุง
การปฏิบัติงานที่รวดเร็ว รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงนโยบายและแผนระดับสูงมายังผลลัพธ ผลผลิตระยะยาว
รวมทั้งการนําพระราชกฤษฏีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ.2546 การจัดทํา
ระบบงบประมาณที่เนนผลงานตามยุทธศาสตร (Strategic Performance-Based Buddgeting: SPBB)
และเครื่องมือวิเคราะหระดับความสําเร็จของการดําเนินงานจากการใชจายงบประมาณ (Performance
Assessment Rating Tool: PART) มาใชในการปรับปรุงกระบวนการบริหารงานในดานตางๆ ทั้งดานการบริหารงาน
เชิงกลยุทธ ตลอดจนการวิเคราะหความเชื่อมโยงของหนวยงานกับความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ
สงผลใหหนวยงานสามารถจัดทําแผนกลยุทธที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
         สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ ไดดําเนินงานตามบทบาทและอํานาจหนาที่ของพระราชบัญญัติพัฒนา
ระบบมาตรวิทยาแหงชาติ พ.ศ.2540 และไดดําเนินงานภายใตแผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ
ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2542-2551) ที่ไดรับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวัน ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2542
แผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) ไดรับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี
เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 และแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551)
ผลการดําเนินงานที่สําคัญตามแผนแมบทและแผนกลยุทธดังกลาวมีดังนี้ สถาบันฯ ไดถูกจัดตั้งขึ้นโดยเริ่ม
ดําเนินงานเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2541 สามารถสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดและใหบริการสอบเทียบ
ไดจํานวน 424 รายการวัด สามารถผลิตวัสดุอางอิงรับรองได 4 ชนิด ความสามารถทางการสอบเทียบและ
การวัดของสถาบัน (Calibration and Measurement Capabilities: CMC) ไดรับการยอมรับในระดับสากล
โดยความสามารถดานการวัดดังกลาวไดรับการเผยแพรในเว็บไซตของสํานักงานชั่งตวงวัดระหวางประเทศ
(Bureau International des Poids et Measures: BIPM) (http://kcdb.bipm.org/Appendix C) ทั้งหมด 4 สาขาการวัด
จํานวน 354 รายการวัด คือ สาขาไฟฟา สาขามวล สาขาความดัน และสาขาอุณหภูมิ นอกจากนี้สถาบันฯ
ไดรับการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 จากองคกรรับรองความสามารถ
หองปฏิบัติการ Deutscher Kalibrierdienst: DKD สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี และจาก International


                                                ~ 16 ~
Accreditation Japan: IA Japan ประเทศญี่ปุน จํานวน 94 รายการวัด รวมทั้งไดรับการรับรองระบบบริหารงาน
คุณภาพมาตรฐาน ISO 9001:2000 จากสํานักงานรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (Mangement System
Certification Institute (Thailand): MASCI) ตั้งแต พ.ศ.2547 จนถึงปจจุบันสถาบันฯดําเนินการสนับสนุน
ภาคอุตสาหกรรมใหมีขีดความสามารถในการแขงขันทางการคา โดยการสงเสริมใหภาคอุตสาหกรรมมีการวัด
ที่ ถู ก ต อ ง อั น ส ง ผลให ผ ลิ ต ภั ณ ฑ มี คุ ณ ภาพได ม าตรฐานและประหยั ด วั ต ถุ ดิ บ ตลอดจนเชื้ อ เพลิ ง ใน
กระบวนการผลิต ซึ่งนับไดวาประสบผลสําเร็จในระดับหนึ่ง
              สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ ในฐานะเปนหนวยงานที่ทําหนาที่ดูแลและพัฒนาระบบมาตรวิทยา
ซึ่งมีภารกิจในการพัฒนาสถาบันฯ ใหเปนที่ยอมรับจากนานาชาติ สามารถใหบริการมาตรฐานดานการวัด
แหง ชาติใหเพี ยงพอกับความตองการในประเทศ ไดแก ความตองการของภาคอุตสาหกรรมและภาค
เศรษฐกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ความตองการดานการวัดในกิจกรรมการคุมครองผูบริโภค ตลอดจนความ
ต อ งการด า นการวั ด ในกิ จ กรรมการอนุ รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ ม ช ว ยยกระดั บ คุ ณ ภาพและมาตรฐานของ
ภาคอุตสาหกรรม และสรางความตระหนักใหกับประชาชนในชาติใหมีความรูความเขาใจถึงความสําคัญ
และประโยชนของระบมาตรวิทยา สถาบันฯ จึงดําเนินการจัดทําแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ
(พ.ศ.2552-2555) เพื่อเปนการกําหนดทิศทางและวางกรอบภารกิจของสถาบันฯ ใหสอดคลองกับการพัฒนา
ประเทศ และยังใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการภายในสถาบันฯ และการประสานงานกับหนวยงานอื่นๆ
ที่เกี่ยวของ โดยไดจัดทําแผนกลยุทธที่สอดคลองกับพระราชบัญญัติการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ
(พ.ศ.2540) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) แผนกลยุทธดาน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (พ.ศ.2547-2556) และแผนพัฒนายุทธศาสตรกระทรวงวิทยศาสตรและ
เทคโนโลยี (พ.ศ.2551-2554) นอกจากนี้สถาบันฯ ยังนําพระราชกฤษฏีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการ
บริ ห ารกิ จ การบ า นเมื อ งที่ ดี พ.ศ.2546 การจั ด ทํ า ระบบงบประมาณที่ เ น น ผลงานตามยุ ท ธศาสตร
(Strategic Performance-Based Buddgeting: SPBB) และเครื่องมือวิเคราะหระดับความสําเร็จของ
การดําเนินงานจากการใชจายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool: PART) มาใชใน
การปรับปรุงกระบวนการบริหารงานดานการบริหารงานเชิงกลยุทธ ตลอดจนการวิเคราะหความเชื่อมโยง
ของสถาบันฯ กับความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ สงผลใหสถาบันฯ สามารถจัดทําแผนกลยุทธที่มี
ประสิทธิภาพมากขึ้น มีระบบ และมีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ และใชทรัพยากรอยางคุมคา
              ในแผนกลยุท ธ ฉ บั บ นี้ ได กํ า หนดวิ สัย ทั ศ น เป า หมาย กลยุ ท ธ และมาตรการสํ า คั ญ ที่ จ ะต อ ง
ดําเนินการในชวง พ.ศ.2552-2555 รวมทั้งกําหนดผูรับผิดชอบการดําเนินการ ตลอดจนกําหนดการติดตาม
ประเมินผลและนําขอมูลที่ไดรับไปพิจารณาทบทวนและปรับปรุงแผนใหมีความเหมาะสมเปนระยะๆ ใน
โอกาสตอไป




                                                       ~ 17 ~
1.2 วัตถุประสงคการจัดทําแผนกลยุทธ
         1.2.1 เพื่อ กํา หนดทิศ ทางและแนวทางการดํา เนิน งานของสถาบัน มาตรวิท ยาแหง ชาติ และ
การประสานงานกับหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ
         1.2.2 เพื่อจัดทําวิสัยทัศน พันธกิจ แผนกลยุทธ เปาหมาย ตัวชี้วัด ผลผลิต และผลลัพธ ของสถาบันฯ
ใหส อดคลอ งกับ นโยบายของรัฐ บาล ยุท ธศาสตรก ระทรวงวิท ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีที่เ กี่ย วขอ ง
เพื่อนําไปสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม




                                               ~ 18 ~
~ 19 ~
บทที่ 2
                การวิเคราะหสภาวะแวดลอมของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

          การจัด ตั้ง และพัฒ นาสถาบัน มาตรวิท ยาแหง ชาติ มีก ารดํา เนิน การอยา งตอ เนื่อ ง เริ่ม ตั้ง แต
การจั ด ตั้ ง ห อ งปฏิ บั ติ ก ารสอบเที ย บเครื่ อ งมื อ วั ด ขึ้ น เป น แห ง แรกในประเทศไทยเมื่ อ พ.ศ.2504 โดย
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย ตอมาในป พ.ศ.2508 กองทัพอากาศไดดําเนินการ
สอบเทียบเครื่องมือวัดในกองทัพ โดยกองชั่งปรับเทียบมาตรฐานเครื่องวัด กรมการสื่อสารทหารอากาศ และ
เมื่อ พ.ศ.2509 กรมวิทยาศาสตรบริการ กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เริ่มใหการบริการ
สอบเทียบเครื่องมือวัดภายใตโครงการมาตรวิทยาและการรับรองหองปฏิบัติการ ในป พ.ศ.2540 ไดมี
การประกาศใชพระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ รวมทั้งสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติไดถกจัดตังขึน           ู   ้ ้
เพื่อดําเนินการสถาปนา พัฒนา และดูแลรักษามาตรฐานการวัดของชาติมาตั้งแต พ.ศ.2541 ถึงปจจุบัน
          สถาบันฯ ไดดําเนินงานตามแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551) โดยมี
ผลการดําเนินงานและรายละเอียดสถานภาพปจจุบันของสถาบันฯ ดังนี้

2.1 ผลการดําเนินงานของสถาบันฯ ตามแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551)
       แผนกลยุท ธส ถาบันมาตรวิท ยาแหง ชาติ (พ.ศ.2548-2551) ประกอบดว ย 2 กลยุท ธ ไดแ ก
1) กลยุทธเรงรัดพัฒนาสถาปนาหนวยวัดของชาติใหเปนที่ยอมรับของนานาชาติ 2) กลยุทธเผยแพรและ
ถา ยทอดความถูก ตอ งดา นการวัด สูกิจ กรรมการวัด ในประเทศ ผลการดํา เนิน งานตามแผนกลยุท ธฯ
ดังรายละเอียดในภาคผนวก จ โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้

        2.1.1 กลยุทธเรงรัดพัฒนาสถาปนาหนวยวัดของชาติใหเปนที่ยอมรับของนานาชาติ
               กลยุทธนี้ประกอบดวย 2 แผนงาน คือ 1) แผนงานการสถาปนาหนวยวัดแหงชาติ และ
2) แผนงานพัฒนานักมาตรวิทยาผูรับผิดชอบหนวยวัดแหงชาติ ดังนี้
               1) แผนงานการสถาปนาหนวยวัดแหงชาติ
                  สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ มีอาคารหองปฏิบัติการที่เปนไปตามมาตรฐานสากล ณ
เทคโนธานี รังสิต คลองหา สามารถดําเนินการสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติ พรอมทั้งใหบริการสอบเทียบได
424 รายการวัด ไดแก สาขามิติ จํานวน 160 รายการวัด สาขาไฟฟา เวลาและความถี่ จํานวน 93 รายการวัด
สาขาเชิงกล จํานวน 107 รายการวัด สาขาอุณหภูมิ จํานวน 23 รายการวัด สาขาเสียงและการสั่นสะเทือน
จํานวน 13 รายการวัด สาขาแสง จํานวน 3 รายการวัด สาขาเคมี จํานวน 25 รายการวัด สามารถผลิตวัสดุและ
สารอางอิงรับรองได 4 ชนิด ไดแก วัสดุอางอิงความแข็งของโลหะ (Reference Block Rockwell Scale
HRA และ HRB) วัสดุอางอิงรับรองดานเคมี (pH solution, Potassium Dichromate, Potassium Iodine)


                                                    ~ 20 ~
ความสามารถทางการสอบเทียบและการวัดของสถาบัน (Calibration and Measurement Capabilities: CMC)
ไดรับการยอมรับในระดับสากล โดยความสามารถดานการวัดดังกลาวไดรับการเผยแพรในเว็บไซตของ
องคการชั่งตวงวัดระหวางประเทศ (Bureau International des Poids et Measures: BIPM)
(http://kcdb.bipm.org/Appendix C) รวมทั้งหมด 4 สาขาการวัด จํานวน 354 รายการวัด คือ สาขาไฟฟา
จํานวน 313 รายการวัด สาขามวล จํานวน 19 รายการวัด สาขาความดัน จํานวน 11 รายการวัด สาขาอุณหภูมิ
จํานวน 11 รายการวัด และหองปฏิบัติการของสถาบันฯ ไดรับการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการตาม
มาตรฐาน ISO/IEC 17025 รวม 94 รายการวัด แบงเปนไดรับการรับรองจากองคกรรับรองความสามารถ
Deutscher Kalibrierdienst: DKD สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี จํานวน 46 รายการวัด และจาก
International Accreditation Japan: IA Japan ประเทศญี่ปุน จํานวน 48 รายการวัด การบริการสอบเทียบและ
การอบรมของสถาบันฯ ไดรับการประเมินตามระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2000 และไดรับการรับรอง
มาตรฐานจากสํานักงานรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (Mangement System Certification Institute (Thailand):
MASCI) ตั้งแตป พ.ศ.2547 จนถึงปจจุบัน สถาบันฯ ไดเขารวมเปรียบเทียบผลการวัดระดับนานาชาติ
(Interlaboratory Comparison) กับองคกรมาตรวิทยาระดับภูมิภาคและนานาชาติอยางตอเนื่องและมีผล
การวัดอยูในเกณฑที่กําหนด
                2) แผนงานพัฒนานักมาตรวิทยาผูรับผิดชอบหนวยวัดแหงชาติ
                   สถาบั น ฯ ร ว มกับ สถาบัน มาตรวิท ยาแหง ชาติ ข องต า งประเทศ อาทิ โครงการความ
รวมมือระหวาง Japan International Cooperation Agency: JICA และสถาบัน (JICA-NIMT), โครงการ
ความรวมมือระหวาง Physikalisch-Technische Bundesanstalt: PTB,Germany และสถาบัน (PTB-NIMT)
เปนตน เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรของสถาบันฯ โดยมีความรวมมือในการสงนักมาตรวิทยาของ
สถาบันฯ ไปฝกอบรมในตางประเทศ รวมทั้งมีผูเชี่ยวชาญจากตางประเทศมาใหความรูทางเทคนิคแก
นัก มาตรวิทยาของสถาบั น ฯ ในชว ง พ.ศ.2547-2550 มีการจัดส งนั กมาตรวิ ทยาเข ารับการอบรม ณ
ตางประเทศจํานวน 103 คน นอกจากนี้ใน พ.ศ.2550 มีการเขารวมประชุมและกิจกรรมทางมาตรวิทยา ณ
ตางประเทศ จํานวน 33 ครั้ง (53 คนครั้ง) บุคลากรของสถาบันฯ ไดนําเสนอและตีพิมพเผยแพรผลงานวิจัย
ในเวทีการประชุมสัมมนาระดับนานาชาติ ซึ่งเปนการพัฒนาขีดความสามารถดานการวิจัยและพัฒนา อาทิเชน
หองปฏิบัติการวิเคราะหไฟฟาเคมีไดทําการศึกษาวิจัยเรื่อง pH measurement โดยใชวิธี/อุปกรณปฐมภูมิที่
เรียกวา Harned Cell ผลงานวิจัยไดนําเสนอในการประชุม Biological Environmental Reference Materals
(BERMs) ครั้งที่ 11 ณ เมือง Tsukuba ประเทศญี่ปุน รวมทั้งมีการตีพิมพผลงานในวารสารตางประเทศ
“Journal of Occupational Health” เรื่อง “Exposure to lead of boatyard workers in Southern
Thailand.” September 2007, volume 49[5]: 345-52 เปนตน




                                              ~ 21 ~
2.1.2 กลยุทธเรงเผยแพรและถายทอดความถูกตองดานการวัดสูกิจกรรมการวัดในประเทศ
                  กลยุทธนี้ประกอบดวย 2 แผนงาน ไดแก 1) แผนงานการเผยแพรความรูเความเขาใจดานมาตรวิทยา
สูสังคม และ 2) แผนงานเรงถายทอดความถูกตองสูกิจกรรมการวัด ดังนี้
                  1) แผนงานการเผยแพรความรูความเขาใจดานมาตรวิทยาสูสังคม
                     สถาบันฯ ไดดําเนินงานในแผนงานการเผยแพรความรูความเขาใจดานมาตรวิทยาที่
สถาบันฯ ไดดําเนินการอยางตอเนื่องคือการประชาสัมพันธเผยแพรขาวสารดานมาตรวิทยาผานสื่อมวลชน
สื่อสิ่งพิมพ สื่อมัลติมีเดีย และการพัฒนาขอมูลขาวสารบนเว็บไซตของสถาบันฯ นอกจากนี้สถาบันฯ มี
การจัดประชุมสัมมนาเพื่อใหความรูความเขาใจแกกลุมผูใชบริการเพือใหเขาใจถึงความสําคัญของมาตรวิทยา
                                                                   ่
ในการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ และลดตนทุนการผลิตเปนประจําตลอดอยางตอเนื่อง อาทิเชน โครงการ
ยกระดั บ คุ ณ ภาพการวั ด ของภาคอุ ต สาหกรรม ดํ า เนิ น กิ จ กรรมการให คํ า ปรึ ก ษาด า นการวั ด แก ก ลุ ม
ผูใชบริการ มีการจัดทําเอกสาร Capability List และ Price List ที่แสดงถึงความสามารถดานการวัดและ
การสอบเทียบในสาขาการวัดตางๆ และอัตราคาบริการ เพื่อใหกลุมผูใชบริการสามารถตัดสินใจใชบริการที่
สอดคลองกับความจําเปน รวมทั้งสถาบันฯ ไดดําเนินการสงเสริมใหมีการเรียนการสอนดานมาตรวิทยาใน
ทุกระดับการศึกษาโดยรวมมือกับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในการบรรจุเนือหาวิชาดาน  ้
มาตรวิทยาในระดับชั้นมัธยมศึกษา รวมมือกับสํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษาในการอบรมครูอาจารย
ระดับอาชีว ศึ กษา และร วมมื อกั บมหาวิทยาลัยจัดทําโครงการพัฒนารายวิ ชามาตรวิทยาในหลักสูตร
การศึกษา ผลการดําเนินงานในปงบประมาณ พ.ศ.2550 มีมหาวิทยาลัยจํานวน 6 แหงไดบรรจุและเปด
สอนวิชามาตรวิทยาในหลักสูตร การดําเนินงานที่คูขนานไปกับการสนับสนุนใหสถานศึกษาเปดสอนวิชา
มาตรวิทยา คือการจัดอบรมหลักสูตรมาตรวิทยาขั้นพื้นฐาน ขั้นทฤษฏีและภาคปฏิบัติ เพื่อใหกลุมคนใน
ระบบงานที่เกี่ยวของกับการวัด วิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคอุตสาหกรรม
ตางๆ ใหมีการเรียนรูและพัฒนาขีดความสามารถดานมาตรวิทยา
                  2) แผนงานเรงถายทอดความถูกตองสูกิจกรรมการวัด
                     ในระยะเริ่มแรกของแผนกลยุทธ (พ.ศ.2548-2551) มีหองปฏิบัติการสอบเทียบเขารวม
ทั้งสิ้น 13 แหง มีหองปฏิบัติการสอบเทียบทั้งภาครัฐและเอกชนรวม 138 แหง สถาบันฯ มีกิจกรรมสงเสริม
หองปฏิบัติการใหเขมแข็งอยางตอเนื่อง และไดผลักดันใหจัดตั้งสมาคมหองปฏิบัติการสอบเทียบแหง
ประเทศไทยขึ้น มีการจัดตั้งเครือขายมาตรวิทยาเคมี โดยมีหนวยงานจากภาคการศึกษาและภาครัฐตางๆ
จํานวน 30 หนวยงานเขารวมเปนสมาชิกเครือขาย สถาบันฯ ไดเสริมสรางความเขมแข็งของเครือขาย
หองปฏิบัติการ โดยดําเนินการเปรียบเทียบผลการวัดระหวางหองปฏิบัติการสอบเทียบ และจัดโปรแกรม
การทดสอบความชํานาญของหองปฏิบัติการวิเคราะหและทดสอบ จัดอบรมสัมมนาเพื่อใหความรูแก
บุคลากรของหองปฏิบัติการอยางตอเนื่อง ดําเนินโครงการใหคําปรึกษาใหกับหองปฏิบัติการเพื่อใหมีขีด
ความสามารถขยายขอบขายการใหบริการได นอกจากนี้สถาบันฯ ไดมีสวนรวมสนับสนุนระบบรับรอง


                                                 ~ 22 ~
ระบบงาน (Accreditation System) ของหองปฏิบัติการ โดยรวมกับสํานักงานรับรองมาตรฐานไอเอสโอ
(Mangement System Certification Institute (Thailand): MASCI) ในการประเมินความสามารถของ
หองปฏิบัติการ

2.2 สถานภาพปจจุบันของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ
          ดวยภารกิจของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติที่มีบทบาทอยางสูงตอการพัฒนาระบบมาตรวิทยาเพื่อ
เปนโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญตอการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะการยกระดับขีดความสามารถในการแขงขัน
ของภาคอุตสาหกรรม รัฐบาลไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของระบบมาตรวิทยาแหงชาติ จึงไดมีการจัดตั้ง
สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติขึ้นภายใตการกํากับดูแลของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และไดมี
การกอสรางอาคารและจัดหามาตรฐานดานการวัดแหงชาติ ปจจุบันมีอาคารหองปฏิบัติการที่เปนไปตาม
มาตรฐานสากล และสามารถสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติโดยไดรับการยอมรับจากนานาชาติ และ
สามารถใหบริการสอบเทียบได โดยหนวยวัดทางฟสิกสไดรับการสถาปนาแลวสามารถตอบสนองความตองการ
ในประเทศไดแลวเปนสวนมากประมาณรอยละ 83 แตยังตอบสนองความตองการดานการวัดทางเคมีและ
ชีวภาพไดเพียงสวนนอย
          จากผลการสํารวจความตองการดานการวัดของภาคอุตสาหกรรม ผลการสํารวจความพึงพอใจของ
ผูใชบริการสอบเทียบ และจากผลการประชุมสัมมนาภายใตชมรมมาตรวิทยา พบวาผูใชบริการยังมีความ
ตองการการสอบเทียบในสาขาการวัดและชวงการวัด ดังนี้
          - สาขามิติ ไดแก Flatness Interferometer, Roughness Specimen (AFM/SPM), Frequency
Comb, Laser tracker, Theodolite Electronic Distance Measurement และ Contour Instrument
          - สาขาไฟฟา เวลาและความถี่ ไดแก AC/DC High Voltage 0–120 kV, Current Transformer
0–1,000 A, High Voltage Source 0–300 kV, Voltage Transformer 0–100 kV, LCR Component
Up–13 MHz, Magnetic Standard Block 0.6–0.7 mT, Insulation Tester และ FM/AM Modulation
          - สาขาอุณหภูมิ ไดแก COD Reactor 150 ºc, Relative Humidity Sensor 2–100 % RH,
เทอรโมมิเตอรในยานอุณหภูมิต่ํา ระหวาง -100 ถึง -1,200° C, และ IPRT/IR Thermometer ที่อุณหภูมิสูง
กวา 600° C
          - สาขาแสง ไดแก Spectroradiometer, Color Correlated Temperature, และ Opacity Meter
          - สาขาแรงบิด คือ Transducer 0.035 –0.353 Nm
          - สาขาความแข็ง คือ Micro Vickers Hardness Test Block 200–800 HV
          - สาขามวลและความหนาแนน ไดแก Hydrometer, ตุมน้ําหนัก (Weight or Weight set) Class E1
upto 50 kg รวมทั้งตุมน้ําหนักขนาดใหญถึง 1000 kg และการวัดปริมาณอื่นที่เกี่ยวของโดยตรง ไดแก
สภาพความเปนแมเหล็กของตุมน้ําหนัก ความหนาแนนและปริมาตรของตุมน้ําหนัก เปนตน


                                             ~ 23 ~
- สาขาอัตราการไหล ไดแก Anemometer 0–120 km/h และ 0–20 m/s, Air Flow Meter 0-100 m3/min, และ
เครื่องใหสารละลายทางหลอดเลือด 1-10 ml/h
          - สาขาความดันและสุญญากาศ คือ Digital Manometer 5 to -5 mbar
          - สาขาเคมีและชีวภาพ ในกลุมงานดานความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) มีความตองการ
วัดโปรตีนในอาหารสัตว การวัดปริมาณสารถนอมอาหารตางๆ ในผลิตภัณฑอาหาร อาทิเชน BHA, BHT,
Sodium Benzoate, Sorbic Acid เปนตน กลุมงานดา นคุม ครองผูบริโภค (Consumer Protection)
มีความตองการศักยภาพการวัดดานเคมีคลินิก อาทิเชน Glucose, Cholesterol, Triglycerides, Ethanol,
สารตกคางในเครื่องสําอางค การวัดปริมาณแรธาตุที่ระบุไวบนบรรจุภัณฑอาหารและยา การวัดสารสกัด
จากสมุนไพร การวัดตามขอกําหนด RoHS ของสหภาพยุโรป และกลุมงานดานอนุรักษสิ่งแวดลอม
(Environment Protection) มีความตองการเรงดวนในการวัดคุณภาพของน้ํา เชน คา Biochemical Oxygen
Demand (BOD) คา Chemical Oxygen Demand (COD) การวัดปริมาณยาฆาแมลง การวัด Volatile
Organic Compounds (VOC) การวัดปริมาณโลหะหนัก (Fe, Cr, Cd, Hg, As) และการวัดปริมาณ
Nitrate และ Nitrite และในทุกกลุมงานจะมีความตองการเหมือนกัน ไดแก วัสดุอางอิงรับรอง (Certified
Reference Material: CRM) โปรแกรมการทดสอบความชํานาญ (Proficiency Testing Program: PT) และ
หองปฏิบัติการวิเคราะหและทดสอบอางอิงแหงชาติ (National Reference Laboratory)
          ในภาพรวมหนวยวัดแหงชาติยังไมเพียงพอตามความตองการดานมาตรวิทยาภายในประเทศ
โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ด า นมาตรวิ ท ยาเคมี และชี วภาพ จึ ง ควรมี การเร ง ดํ าเนิ นการสถาปนาและพั ฒ นา
ความสามารถในการวั ดด านมาตรวิ ทยาเคมีแ ละชี ว ภาพ โดยเร ง ดํา เนิ น การพั ฒ นาวั ส ดุอ า งอิ ง รับ รอง
(Certified Reference Material: CRM) โปรแกรมการทดสอบความชํานาญ (Proficiency Testing Program: PT)
และพัฒนาหองปฏิบัติการวิเคราะหและทดสอบอางอิงแหงชาติ (National Reference Laboratory)
          สรุปสถานภาพของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ
          - หนวยวัดดานฟสิกสสามารถตอบสนองความตองการในประเทศไดประมาณรอยละ 83 ซึ่งตอง
พัฒนาเพิ่มขึ้น เพื่อใหเพียงพอกับความตองการภายในประเทศ
          - ความตองการดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพในประเทศสูง ควรเรงดําเนินการพัฒนาวัสดุอางอิงรับรอง
(Certified Reference Material: CRM) จัดทําโปรแกรมการทดสอบความชํานาญ (Proficiency Testing Program: PT)
ใหเพียงพอ และพัฒนาหองปฏิบัติการวิเคราะหและทดสอบอางอิงแหงชาติ (National Reference Laboratory)




                                                ~ 24 ~
2.3 การวิเคราะหสภาพแวดลอม
        หลักกฎหมาย พระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ พ.ศ.2540 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ที่สนับสนุนการดําเนินงานของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (ระบุไวในแผนแมบทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ
ภาคผนวก ก และ ข)

     2.3.1 การวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ
             การวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ จากการสัมมนาระดมสมอง
ระดมความคิดเพื่อพัฒนาระบบมาตรวิทยา (วันที่ 9 กันยายน 2551 ณ ศูนยประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ) สรุปไดดังนี้

ตารางที่ 1 การวิเคราะหจุดแข็ง (Strength) ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ
         ประเด็น                                                       จุดแข็ง (Strength)
1. สถาบันฯ มีการพัฒนา          1. เปนสถาบันฯ หลักในการดําเนินงานใหระบบมาตรวิทยาของชาติเปนที่ยอมรับของนานาชาติ
   ระบบมาตรวิทยาอยาง          2. มีการพัฒนาและสถาปนาหนวยวัดของชาติอยางตอเนื่อง
   ตอเนื่อง                   3. ความสามารถทางการสอบเทียบและการวัดของสถาบันฯ (Calibration and Measurement
                                    Capabilities: CMC) ไดรับการยอมรับในระดับสากล โดยความสามารถดานการวัดดังกลาวไดรับ
                                    การเผยแพรในเว็บไซตขององคการชั่งตวงวัดระหวางประเทศ (Bureau International des
                                    Poids et Measures: BIPM)
                               4.   สถาบันฯ ไดรับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพมาตรฐาน ISO9001:2000 ตั้งแต พ.ศ.2547
                                    ถึงปจจุบัน และหองปฏิบัติการของสถาบันฯ ไดรับการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการตาม
                                    มาตรฐาน ISO/IEC 17025 จาก DKD และ IA Japan จึงเปนที่ยอมรับของนานาชาติ
                               5.   เปนสถาบันฯ ที่มีบทบาทหนาที่ครบวงจรนับแตการสถาปนา พัฒนา บริการ ใหคําปรึกษา
                                    ถ า ยทอด เผยแพร สร า งความตระหนั ก ด า นมาตรวิ ท ยา เนื่ อ งจากมี บุ ค ลากรที่ มี ค วามรู
                                    ความสามารถและสามารถเชิญบุคลากรที่มีความรูความสามารถของหนวยงานภายนอกทั้งใน
                                    ประเทศและตางประเทศมารวมงาน
                               6.   มีความคล อ งตัวในการดําเนิ นงาน มีความคลอ งตั วในการริ เริ่ มโครงการใหม และมีความ
                                    เหมาะสมกับภารกิจ เนื่องจากโครงสรางขององคกรมีลักษณะเฉพาะ ซึ่งเปนหนวยงานในกํากับ
                                    และไมไดเปนสวนราชการ รวมทั้งมีกองทุนพัฒนาระบบมาตรวิทยา รายไดจากการดําเนินงาน
                                    สามารถนํามาใชในกิจกรรมขององคกรไดโดยตรง และมีบุคลากรที่มีศักยภาพสามารถรองรับ
                                    การเปลี่ยนแปลงในวิทยาการใหมๆ
2. บุ คลากรของสถาบั นฯ มี 7.        มีการสรางองคความรูใหม และสะสมความรูอยางตอเนื่อง ทําใหมีความเขมแข็งทางวิชาการ
   ความรู ด า นมาตรวิ ท ยา        ดานมาตรวิทยา เพราะมีกลุมบุคลากรที่มีความรู ความสามารถ และประสบการณทางดาน
   และมีการพัฒนาสูงขึ้น             มาตรวิทยาเปนที่ยอมรับทั้งในประเทศและตางประเทศ
                               8.   บุคลากรของสถาบันฯ มีความรู ความสามารถ และประสบการณในการวิจัย พัฒนา การ
                                    บริการ การถายทอด การเผยแพร และสรางความตระหนักดานมาตรวิทยาสูง
                               9.   บุคลากรของสถาบันฯ มีประสิทธิภาพและศักยภาพสูงในดานมาตรวิทยา มีความเชี่ยวชาญใน
                                    สาขาเฉพาะทาง



                                                           ~ 25 ~
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)
แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

2009 11 11 Pm Kwtc Report52
2009 11 11 Pm Kwtc Report522009 11 11 Pm Kwtc Report52
2009 11 11 Pm Kwtc Report52Invest Ment
 
ปอเปี๊ยะ
ปอเปี๊ยะปอเปี๊ยะ
ปอเปี๊ยะChao Chao
 
ถ่านไม้รีไซเคิล
ถ่านไม้รีไซเคิลถ่านไม้รีไซเคิล
ถ่านไม้รีไซเคิลChao Chao
 
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553pentanino
 
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54vittaya411
 
การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3Prachyanun Nilsook
 
4 สารบัญ
4 สารบัญ4 สารบัญ
4 สารบัญkasetpcc
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดstampmin
 
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554pentanino
 
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554pentanino
 

Semelhante a แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555) (15)

วิเคราะห์Swotเบื้องต้น
วิเคราะห์Swotเบื้องต้นวิเคราะห์Swotเบื้องต้น
วิเคราะห์Swotเบื้องต้น
 
2009 11 11 Pm Kwtc Report52
2009 11 11 Pm Kwtc Report522009 11 11 Pm Kwtc Report52
2009 11 11 Pm Kwtc Report52
 
Annual Report 2009
Annual Report 2009Annual Report 2009
Annual Report 2009
 
คุณภาพชีวิตการทำงาน
คุณภาพชีวิตการทำงานคุณภาพชีวิตการทำงาน
คุณภาพชีวิตการทำงาน
 
ปอเปี๊ยะ
ปอเปี๊ยะปอเปี๊ยะ
ปอเปี๊ยะ
 
ถ่านไม้รีไซเคิล
ถ่านไม้รีไซเคิลถ่านไม้รีไซเคิล
ถ่านไม้รีไซเคิล
 
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2553
 
แนวข้อสอบความรอบรู้
แนวข้อสอบความรอบรู้แนวข้อสอบความรอบรู้
แนวข้อสอบความรอบรู้
 
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
 
การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3
 
4 สารบัญ
4 สารบัญ4 สารบัญ
4 สารบัญ
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
 
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
 
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
 
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
 

Mais de NIMT

Iso iec 17025_2017(en)
Iso iec 17025_2017(en)Iso iec 17025_2017(en)
Iso iec 17025_2017(en)NIMT
 
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561NIMT
 
NIMT TRM
NIMT TRMNIMT TRM
NIMT TRMNIMT
 
Training Course NIMT
Training Course NIMTTraining Course NIMT
Training Course NIMTNIMT
 
Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017NIMT
 
Illuminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their SuitabilityIlluminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their SuitabilityNIMT
 
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุลNIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุลNIMT
 
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาทีLeap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาทีNIMT
 
Torque Standards
Torque StandardsTorque Standards
Torque StandardsNIMT
 
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer CalibrationsBasic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer CalibrationsNIMT
 
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...NIMT
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computingการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud ComputingNIMT
 
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศมว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศNIMT
 
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig MuscleCCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig MuscleNIMT
 
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าNIMT
 
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยมว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยNIMT
 
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 NIMT
 
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554 งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554 NIMT
 
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยNIMT
 
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]NIMT
 

Mais de NIMT (20)

Iso iec 17025_2017(en)
Iso iec 17025_2017(en)Iso iec 17025_2017(en)
Iso iec 17025_2017(en)
 
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
 
NIMT TRM
NIMT TRMNIMT TRM
NIMT TRM
 
Training Course NIMT
Training Course NIMTTraining Course NIMT
Training Course NIMT
 
Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017
 
Illuminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their SuitabilityIlluminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their Suitability
 
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุลNIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
 
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาทีLeap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
 
Torque Standards
Torque StandardsTorque Standards
Torque Standards
 
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer CalibrationsBasic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
 
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computingการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
 
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศมว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
 
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig MuscleCCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
 
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
 
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยมว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
 
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
 
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554 งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
 
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
 
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
 

แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

  • 1. แผนกลยุทธ สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ~1~
  • 2. สารบัญ คํานํา 8 บทสรุปผูบริหาร 10 บทที่ 1 บทนํา 16 1.1 หลักการและเหตุผล 16 1.2 วัตถุประสงคการจัดทําแผนกลยุทธ 18 บทที่ 2 การวิเคราะหสภาวะแวดลอมของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ 20 2.1 ผลการดําเนินงานของสถาบันฯ ตามแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551) 20 2.2 สถานภาพปจจุบันของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ 23 2.3 การวิเคราะหสภาพแวดลอม 25 บทที่ 3 แผนกลยุทธจากการวิเคราะหสภาวะแวดลอม (Strategic Plan from SWOT Analysis) 30 3.1 SWOT Matrix 30 3.2 วิสัยทัศนของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ 32 3.3 พันธกิจของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ 32 3.4 วัฒนธรรมและคานิยม 32 3.5 เปาประสงคการใหบริการของสถาบันฯ 32 3.6 แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ 33 บทที่ 4 แผนงานและโครงการตามแผนกลยุทธ 36 4.1 การวิเคราะหปจจัยแหงความสําเร็จที่มผลตอการดําเนินงานของสถาบันฯ  ี 36 4.2 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 42 กลยุทธที่ 1 42 4.3 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 51 กลยุทธที่ 2 51 4.4 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 56 กลยุทธที่ 3 56 4.5 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4 61 กลยุทธที่ 4 61 ~2~
  • 3. บทที่ 5 การเชื่อมโยงระหวางแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยากับแผนแมบทการพัฒนา ระบบมาตรวิทยาแหงชาติ และแผนอื่นๆ ทีเ่ กี่ยวของ 66 5.1 การเชื่อมโยงระหวางแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยากับแผนแมบทฯ แผนปฏิบัติราชการ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และแผนบริหารราชการอืนๆที่เกี่ยวของ ่ 66 5.2 ประมาณการงบประมาณเบื้องตนตามแผนกลยุทธ ฯ 68 5.3 ประมาณการบุคลากรเบื้องตนตามแผนกลยุทธ ฯ 73 บทที่ 6 แผนการติดตามและประเมินผล 76 6.1 การประเมินโดยการประเมินตนเอง 76 6.2 การประเมินโดยหนวยงานภายนอก 77 ภาคผนวก ภาคผนวก ก ระบบมาตรวิทยาแหงชาติ 78 ภาคผนวก ข ความเปนมาของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ 84 ภาคผนวก ค โครงสรางองคกรและอัตรากําลังของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ 90 ภาคผนวก ง แผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) 96 ภาคผนวก จ แผนยุทธศาสตรชาติดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ (พ.ศ.2552-2559) 102 ภาคผนวก ฉ ผลการดําเนินงานตามแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551) 122 ภาคผนวก ช ผลการสํารวจความตองการสอบเทียบและจํานวนเครื่องมือวัดของ ภาคอุตสาหกรรม 146 ภาคผนวก ซ ผลการสํารวจจํานวนการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัด และขีด ความสามารถทางการวัดของหองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิ 152 ภาคผนวก ฌ ผลกระทบจากการพัฒนาระบบมาตรวิทยาใหเขมแข็ง 158 ภาคผนวก ญ แผนการดําเนินการจัดทําแผนกลยุทธฯ 162 ~3~
  • 4. สารบัญตาราง ตารางที่ 1 การวิเคราะหจดแข็ง (Strength) ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ ุ 25 ตารางที่ 2 การวิเคราะหจดออน (Weakness) ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ ุ 26 ตารางที่ 3 การวิเคราะหโอกาส (Opportunity) ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ 27 ตารางที่ 4 การวิเคราะหอุปสรรค (Threat) ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ 28 ตารางที่ 5 ตัวชี้วัด เปาหมายของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในกลยุทธที่ 1 44 ตารางที่ 6 กลไกการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกียวของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย) ่ ของกลยุทธที่ 1 50 ตารางที่ 7 ตัวชี้วัด เปาหมายของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในกลยุทธที่ 2 52 ตารางที่ 8 กลไกการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกียวของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย) ่ ของกลยุทธที่ 2 55 ตารางที่ 9 ตัวชี้วัด เปาหมายของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในกลยุทธที่ 3 57 ตารางที่ 10 กลไกการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกียวของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย) ่ ของกลยุทธที่ 3 59 ตารางที่ 11 ตัวชี้วัด เปาหมายของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในกลยุทธที่ 4 62 ตารางที่ 12 กลไกการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกียวของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย) ่ ของกลยุทธที่ 4 63 ตารางที่ 13 ประมาณการความตองการงบประมาณในการดําเนินงานสถาบันฯ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2552-2555 จําแนกตามแผนกลยุทธ และแผนงาน 69 ตารางที่ 14 ประมาณการความตองการอัตรากําลังคนที่เพิมขึ้นของสถาบันฯ พ.ศ.2552-2555 ่ 73 ตารางที่ 15 แผนการดําเนินงานติดตามและประเมินตนเอง 77 ตารางที่ 16 อัตรากําลังคนของสถาบันฯ พ.ศ.2551 จําแนกตามวุฒิการศึกษา 94 ตารางที่ 17 แผนความตองการงบประมาณของยุทธศาสตรชาติดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ พ.ศ.2552-2559 118 ตารางที่ 18 ตัวชี้วัดผลการดําเนินงานการพัฒนาระบบมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ 119 ตารางที่ 19 ผลการสํารวจความตองการสอบเทียบเครืองมือวัดของภาคอุตสาหกรรม ่ จําแนกตามสาขาการวัด 125 ตารางที่ 20 สถิติการเขารวมการอบรม ณ ตางประเทศ จําแนกตามป 132 ตารางที่ 21 จํานวนโรงงานภาคอุตสาหกรรมของประเทศ พ.ศ. 2549-2550 จําแนกตามประเภท อุตสาหกรรม 149 ~4~
  • 5. ตารางที่ 22 ประมาณการจํานวนเครื่องมือวัดของโรงงานอุตสาหกรรมที่ไดรับรอง ระบบบริหารงานคุณภาพทังประเทศ จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ้ 150 ตารางที่ 23 ประมาณการจํานวนการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดและขีดความสามารถทางการวัด ของหองปฏิบติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิ จําแนกตามสาขาการวัด ั 155 ~5~
  • 6. สารบัญแผนภาพ แผนภาพที่ 1 การกําหนดกลยุทธจาก SWOT Matrix 30 แผนภาพที่ 2 SWOT Matrix ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ 31 แผนภาพที่ 3 แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ 64 แผนภาพที่ 4 การเชื่อมโยงระหวางกลยุทธของแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) กับหนวยงานที่เกียวของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย) ่ 65 แผนภาพที่ 5 การเชื่อมโยงระหวางแผนยุทธศาสตรกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แผนแมบทฯกับแผนกลยุทธสถาบันฯ 66 แผนภาพที่ 6 การเชื่อมโยงระหวางแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติกับแผนแมบทฯ แผนปฏิบัติราชการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แผนยุทธศาสตรชาติ นโยบายภาครัฐ และแผนบริหารราชการอืนๆ ทีเ่ กี่ยวของ ่ 67 แผนภาพที่ 7 ประเภทของมาตรวิทยาจําแนกตามระดับความแมนยํา 81 แผนภาพที่ 8 โครงสรางระบบมาตรวิทยาของชาติเชื่อมโยงถึงการยอมรับจากนานาชาติ 83 แผนภาพที่ 9 แสดงโครงสรางการบริหารสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ 93 แผนภาพที่ 10 รอยละของอัตรากําลังคนของสถาบันฯ พ.ศ.2551 จําแนกตามวุฒการศึกษา ิ 94 แผนภาพที่ 11 ประมาณการจํานวนการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดของหองปฏิบัติการฯ พ.ศ.2550 จําแนกตามสาขาการวัด 155 แผนภาพที่ 12 จํานวนหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบที่ไดรับการรับรอง ความสามารถ ISO/IEC 17025 ทั้งประเทศ พ.ศ.2550 จําแนกตามภาค 156 ~6~
  • 7. ~7~
  • 8. คํานํา สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดจัดทําแผนกลยุทธสถาบัน มาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) เปนการกําหนดทิศทางการดําเนินงานของสถาบันมาตรวิทยา แหงชาติ โดยแผนกลยุทธสถาบันฯ จะเชื่อมโยงกับยุทธศาสตรของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นโยบายของรั ฐ บาล และยุ ท ธศาสตร ที่ เ กี่ ย วข อ ง มี ส ว นช ว ยผลั ก ดั น ให เ กิ ด การขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศใหสามารถแขงขันไดอยางยั่งยืน การดําเนินงานตามแผนกลยุทธสถาบัน มาตรวิ ท ยาแห ง ชาติ จ ะทํ า ให ร ะบบมาตรวิ ท ยาแห ง ชาติ ส มบู ร ณ เ ป น ที่ ย อมรั บ ของนานาชาติ ภาคอุตสาหกรรม และภาคเศรษฐกิจที่เกี่ยวของมีศักยภาพสามารถแขงขันกับนานาประเทศไดในยุคการคา เสรีที่มีการกีดกันทางการคา โดยอาศัยความไดเปรียบทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาเปนขอกําหนด คุณภาพของสินคา สงผลใหเศรษฐกิจของประเทศมีความเจริญกาวหนาอยางยั่งยืน นอกจากนี้การมีระบบ มาตรวิทยาแหงชาติที่สมบูรณตามมาตรฐานสากลจะมีบทบาทสําคัญในการคุมครองผูบริโภคในประเทศ ตลอดจนการอนุรักษสิ่งแวดลอม อันสงผลใหสังคมไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) จะเรงการพัฒนาสถาบันมาตรวิทยา แหงชาติใหเปนที่ยอมรับของนานาชาติ สามารถใหบริการมาตรฐานดานการวัดแหงชาติไดเพียงพอกับ ความตองการในประเทศ เรงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของประเทศให เขมแข็ง เรงการสงเสริมสนับสนุนใหมีหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบที่มีคุณภาพและมี จํานวนที่เพียงพอสําหรับรองรับความตองการของภาคอุตสาหกรรม สามารถคุมครองผูบริโภคในประเทศ และการอนุรักษสิ่งแวดลอม ตลอดจนเรงสงเสริมการสรางความตระหนักดานมาตรวิทยาแกกลุมผูใชบริการ มาตรวิทยา รวมทั้งการใชมาตรวิทยาเปนเครื่องมือในการเสริมสรางพันธไมตรีอันดีระหวางประเทศเพื่อนบาน อันจะสงผลใหผูประกอบการไทยสามารถขยายตลาดสูตลาดตางประเทศ ซึ่งการพัฒนาในแตละประเด็น ดั ง กล า วได มี ก ารกํ า หนดเป า หมาย ตั ว ชี้ วั ด ผลผลิ ต กิ จ กรรม หน ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบ การประมาณ การงบประมาณ และการติดตามประเมินผลไวอยางชัดเจน เพื่อสามารถนําแผนไปสูการปฏิบัติไดอยางเปน รูปธรรม ผลสําเร็จของการจัดทําแผนกลยุทธฉบับนี้เกิดจากความรวมมือรวมใจอยางเขมแข็งจากผูบริหาร บุคลากรในสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ และหนวยงานที่เกี่ยวของในการรวมระดมความคิดเห็น เพื่อใหได แผนกลยุทธอันสามารถนําไปใชในการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของชาติใหสมบูรณ สามารถเปนโครงสราง พื้นฐานดานวิทยาศาสตรของชาติที่สําคัญในการพัฒนาประเทศใหกาวหนาอยางยั่งยืนตอไป ~8~
  • 9. ~9~
  • 10. บทสรุปผูบริหาร สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ มีหนาที่สถาปนา พัฒนา และรักษามาตรฐานดานการวัดแหงชาติ เพื่อเปนหลักประกันความถูกตองของการวัด การวิเคราะห และทดสอบ เพื่อใหผลิตภัณฑมีคุณภาพได มาตรฐานตามขอกําหนดของประเทศคูคา สถาบันฯ ไดดําเนินงานพัฒนาระบบมาตรวิทยาของชาติตาม แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551) โดยมีผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายที่ กําหนด เพื่อใหการดําเนินการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ มีความตอเนื่องมีทิศทางในการดําเนินงาน ที่ชัดเจน จึงดําเนินการจัดทําแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) โดยแผนกลยุทธฯ มีความสอดคลองกับแผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) และ แผนปฏิบัติราชการ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (พ.ศ.2552-2554) นอกจากนี้สถาบันฯ ยังนําพระราชกฤษฏีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ.2546 การจัดทําระบบงบประมาณที่เนนผลงานตามยุทธศาสตร (Strategic Performance-Based Buddgeting: SPBB) และเครื่องมือวิเคราะหระดับความสําเร็จของการดําเนินงานจากการใชจายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool: PART) มาใชในการปรับปรุงการบริหารงานเชิงกลยุทธ ตลอดจน การวิเคราะหความเชื่อมโยงของสถาบันฯ กับความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ เพื่อใหสถาบันฯ สามารถ จัดทําแผนกลยุทธที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีระบบ และมีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ และใช ทรัพยากรอยางคุมคา สรุปผลการดําเนินงานตามแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551) 1) สามารถดําเนินการสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติและสามารถใหบริการสอบเทียบไดเพิ่มขึ้นเปน 424 รายการวัด 2) หนวยวัดดานฟสิกสสามารถตอบสนองความตองการในประเทศไดประมาณรอยละ 83 ตอง พัฒนาเพิ่มใหเพียงพอกับความตองการภายในประเทศ 3) ความตองการดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพในประเทศสูง ควรเรงดําเนินการพัฒนา โดยเรง ดําเนินการพัฒนาวัสดุอางอิงรับรอง (Certified Reference Material: CRM) จัดทําโปรแกรมการทดสอบ ความชํานาญ (Proficiency Testing Program: PT) ใหเพียงพอ และพัฒนาหองปฏิบัติการวิเคราะหและทดสอบ อางอิงแหงชาติ (National Reference Laboratory) 4) ขอบขายการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดของหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบ ระดับทุติยภูมิยังไมสามารถตอบสนองความตองการในประเทศไดอยางเพียงพอ 5) จํานวนและการกระจายตัวของหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิ ในสวนภูมิภาคยังไมเพียงพอตอความตองการของภาคอุตสาหกรรม ~ 10 ~
  • 11. 6) ประมาณการจํานวนเครื่องมือวัดของโรงงานภาคอุตสาหกรรมทั่วประเทศ ป 2550 มีจํานวน ประมาณ 7.9 ลานชิ้น และมีจํานวนเครื่องมือวัดที่ไดรับการสอบเทียบอยางถูกตองประมาณ 4 แสนชิ้น คิดเปน รอยละ 5.13 7) สังคมไทยที่ตระหนักถึงความสําคัญและเห็นประโยชนของระบบมาตรวิทยามีจํานวนนอย แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) ประกอบดวย 4 กลยุทธ ดังนี้ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 มาตรฐานดานการวัดแหงชาติตองเปนที่ยอมรับของนานาชาติ และเพียงพอกับความตองการในประเทศ กลยุทธที่ 1 เรงพัฒนาสถาปนาหนวยวัดมาตรฐานแหงชาติใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล และเพียงพอกับความตองการในประเทศ แผนงานที่ 1.1 สถาปนาและพั ฒ นาหน ว ยวั ด แห ง ชาติ ใ ห ส อดคล อ งกั บ มาตรฐานสากล โครงการที่ 1.1.1 โครงการสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติ แผนงานที่ 1.2 พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของ ประเทศใหเขมแข็งและไดรับการยอมรับจากนานาชาติ โครงการที่ 1.2.1 โครงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานมาตรวิทยาเคมี และชีวภาพ โครงการที่ 1.2.2 โครงการผลิ ต วั ส ดุ อ า งอิ ง สํ า หรั บ การวิ เ คราะห ทางดานอาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดลอม โครงการที่ 1.2.3 โครงการจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญ สําหรับการวิเคราะหทางดานอาหาร สุขภาพ และ สิ่งแวดลอม โครงการที่ 1.2.4 โครงการผลิตวัสดุอางอิงและโปรแกรมการทดสอบ ความชํานาญทางดานชีววิทยา แผนงานที่ 1.3 พัฒนาและดํารงระบบคุณภาพของสถาบัน โครงการที่ 1.3.1 โครงการพั ฒ นาและดํ า รงระบบคุ ณ ภาพ หองปฏิบัติการ ~ 11 ~
  • 12. แผนงานที่ 1.4 พัฒนาขีดความสามารถงานวิจัยดานมาตรวิทยา โครงการที่ 1.4.1 โครงการพั ฒ นาขี ดความสามารถงานวิจัยและ พัฒนาดานมาตรวิทยา แผนงานที่ 1.5 พัฒนาบุคลากรดานมาตรวิทยา โครงการที่ 1.5.1 โครงการเพิ่มขีดความสามารถบุคลากร โครงการที่ 1.5.2 โครงการความรวมมือทางวิชาการดานมาตรวิทยา กับตางประเทศ โครงการที่ 1.5.3 โครงการพั ฒ นาระบบการจั ด การองค ค วามรู (Knowledge Management: KM) ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 การบริการดานการวัด การวิเคราะห การทดสอบ และสอบเทียบ ใหไดมาตรฐานสากล และเพียงพอกับความตองการในประเทศ กลยุทธที่ 2 เรงถายทอดความถูกตองดานการวัดสูหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิในประเทศ แผนงานที่ 2.1 พัฒนาการใหบริการสอบเทียบและการใหคําปรึกษา โครงการที่ 2.1.1 โครงการบริการสอบเทียบเครื่องมือวัด และการให คําปรึกษา แผนงานที่ 2.2 ส ง เสริ ม ห อ งปฏิ บั ติ ก ารระดั บ ทุ ติ ย ภู มิ ใ ห มี คุ ณ ภาพตาม มาตรฐานสากลและขยายการบริการใหครอบคลุมความ ตองการในประเทศ โครงการที่ 2.2.1 โครงการเสริมสรางความเขมแข็งหองปฏิบัติการ วิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิ แผนงานที่ 2.3 สงเสริมใหมีหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิในภูมิภาค โครงการที่ 2.3.1 โครงการส ง เสริ ม ให มี ห อ งปฏิ บั ติ ก ารวิ เ คราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิในภูมิภาค โครงการที่ 2.3.2 โครงการความร วมมื อในการพั ฒนามาตรวิทยากั บ เครือขายพันธมิตร ~ 12 ~
  • 13. ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 สังคมไทยตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชนของมาตรวิทยา กลยุทธที่ 3 ส ง เสริ ม กลุ ม ผู ใ ช บ ริ ก ารมาตรวิ ท ยาให ต ระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ และเห็ น ประโยชนของมาตรวิทยา แผนงานที่ 3.1 สรางความตระหนักและพัฒนาการเรียนการสอนดานมาตรวิทยา เพื ่อ ใหผู ใ ชบ ริก ารมาตรวิท ยาในกลุ ม ผู อ ยู ใ นระบบงาน ปจ จุบัน กลุ ม บุค คลผูจะเขา สู ระบบงานในอนาคต และกลุ ม บุคคลทั่วไป ตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชน โครงการที่ 3.1.1 โครงการสร า งความตระหนั ก ด า นมาตรวิ ท ยา ใหแกผูใชบริการมาตรวิทยา โครงการที่ 3.1.2 โครงการสงเสริมการเรียนการสอนดานมาตรวิทยา ในสถานศึกษา แผนงานที่ 3.2 พัฒนาศักยภาพการวัดในภาคอุตสาหกรรม เพื่อใหผูใชบริการมาตรวิทยาในกลุมบุคคลผูอยูในระบบงาน ปจจุบันของภาคอุตสาหกรรมตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชน โครงการที่ 3.2.1 โครงการยกระดับความสามารถดานการวัดใน ภาคอุตสาหกรรม แผนงานที่ 3.3 ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น การวั ด ทางการแพทย ใ ห เ ป น ไปตาม มาตรฐานสากล เพื่อใหกลุมบุคคลผูอยูในระบบงานปจจุบันของการแพทย ตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชนของมาตรวิทยา โครงการที่ 3.3.1 โครงการสงเสริมการสอบเทียบเครื่องมือวัดทาง การแพทยตามมาตรฐานสากล โครงการที่ 3.3.2 โครงการสงเสริมการวัดชีวเคมีทางการแพทยตาม มาตรฐานสากล แผนงานที่ 3.4 พัฒนาระบบสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพและทันสมัย โครงการที่ 3.4.1 โครงการปรับปรุงเว็บไซดของสถาบันฯ โครงการที่ 3.4.2 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศสําหรับการบริหาร ใหทันสมัย ~ 13 ~
  • 14. ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4 ระบบมาตรวิ ท ยาแห ง ชาติ ที่ เ ข ม แข็ ง สนั บ สนุ น กิ จ กรรม ตางประเทศของรัฐบาล กลยุทธที่ 4 สงเสริมใหมาตรวิทยาเปนเครื่องมือของรัฐในการเสริมสรางสัมพันธไมตรี ระหวางประเทศ แผนงานที่ 4.1 เสริ ม สร า งสั ม พั น ธไมตรี ร ะหว า งประเทศเพื่ อ นบ า นโดย กิจกรรมดานมาตรวิทยา โครงการที่ 4.1.1 โครงการความรวมมือดานมาตรวิทยากับประเทศ เพื่อนบาน แผนงานที่ 4.2 สนับสนุนการขยายตลาดดานมาตรวิทยาของภาคเอกชนสู ประเทศเพื่อนบาน โครงการที่ 4.2.1 โครงการสงเสริมผูประกอบการไทยในการขยาย ตลาดสูตางประเทศ ระยะเวลาดําเนินการ เริ่มดําเนินการ พ.ศ.2552 สิ้นสุดการดําเนินการ พ.ศ.2555 รวมระยะเวลาดําเนินการ 4 ป งบประมาณดําเนินการ 1) ประมาณการงบประมาณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2552 จํานวน 200.00 ลานบาท 2) ประมาณการงบประมาณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2553 จํานวน 255.40 ลานบาท 3) ประมาณการงบประมาณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2554 จํานวน 770.00 ลานบาท 4) ประมาณการงบประมาณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2555 จํานวน 1016.00 ลานบาท ~ 14 ~
  • 16. บทที่ 1 บทนํา 1.1 หลักการและเหตุผล การจัดทําแผนกลยุทธขององคกรเปนสวนหนึ่งของการจัดการเชิงกลยุทธ (Strategic Management) การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธที่มีพลวัตและสามารถปรับเปลี่ยนใหทันการเปลี่ยนแปลงอยาง รวดเร็วทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและเทคโนโลยี จะนํามาซึ่งความสําเร็จของการบริหารจัดการใน ภาวะการณที่มีการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง โดยการจัดทําแผนกลยุทธจะมุงเนนการกําหนดทิศ ทางการดําเนินภารกิจขององคกรในอนาคตที่ชัดเจน มีความสอดคลองกับสถานการณภายนอก จุดแข็ง และจุดออน และทรัพยากรในองคกร มีการจัดลําดับความสําคัญเพื่อสามารถตอบสนองและปรับปรุง การปฏิบัติงานที่รวดเร็ว รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงนโยบายและแผนระดับสูงมายังผลลัพธ ผลผลิตระยะยาว รวมทั้งการนําพระราชกฤษฏีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ.2546 การจัดทํา ระบบงบประมาณที่เนนผลงานตามยุทธศาสตร (Strategic Performance-Based Buddgeting: SPBB) และเครื่องมือวิเคราะหระดับความสําเร็จของการดําเนินงานจากการใชจายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool: PART) มาใชในการปรับปรุงกระบวนการบริหารงานในดานตางๆ ทั้งดานการบริหารงาน เชิงกลยุทธ ตลอดจนการวิเคราะหความเชื่อมโยงของหนวยงานกับความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ สงผลใหหนวยงานสามารถจัดทําแผนกลยุทธที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ ไดดําเนินงานตามบทบาทและอํานาจหนาที่ของพระราชบัญญัติพัฒนา ระบบมาตรวิทยาแหงชาติ พ.ศ.2540 และไดดําเนินงานภายใตแผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2542-2551) ที่ไดรับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวัน ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2542 แผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) ไดรับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 และแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551) ผลการดําเนินงานที่สําคัญตามแผนแมบทและแผนกลยุทธดังกลาวมีดังนี้ สถาบันฯ ไดถูกจัดตั้งขึ้นโดยเริ่ม ดําเนินงานเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2541 สามารถสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดและใหบริการสอบเทียบ ไดจํานวน 424 รายการวัด สามารถผลิตวัสดุอางอิงรับรองได 4 ชนิด ความสามารถทางการสอบเทียบและ การวัดของสถาบัน (Calibration and Measurement Capabilities: CMC) ไดรับการยอมรับในระดับสากล โดยความสามารถดานการวัดดังกลาวไดรับการเผยแพรในเว็บไซตของสํานักงานชั่งตวงวัดระหวางประเทศ (Bureau International des Poids et Measures: BIPM) (http://kcdb.bipm.org/Appendix C) ทั้งหมด 4 สาขาการวัด จํานวน 354 รายการวัด คือ สาขาไฟฟา สาขามวล สาขาความดัน และสาขาอุณหภูมิ นอกจากนี้สถาบันฯ ไดรับการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 จากองคกรรับรองความสามารถ หองปฏิบัติการ Deutscher Kalibrierdienst: DKD สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี และจาก International ~ 16 ~
  • 17. Accreditation Japan: IA Japan ประเทศญี่ปุน จํานวน 94 รายการวัด รวมทั้งไดรับการรับรองระบบบริหารงาน คุณภาพมาตรฐาน ISO 9001:2000 จากสํานักงานรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (Mangement System Certification Institute (Thailand): MASCI) ตั้งแต พ.ศ.2547 จนถึงปจจุบันสถาบันฯดําเนินการสนับสนุน ภาคอุตสาหกรรมใหมีขีดความสามารถในการแขงขันทางการคา โดยการสงเสริมใหภาคอุตสาหกรรมมีการวัด ที่ ถู ก ต อ ง อั น ส ง ผลให ผ ลิ ต ภั ณ ฑ มี คุ ณ ภาพได ม าตรฐานและประหยั ด วั ต ถุ ดิ บ ตลอดจนเชื้ อ เพลิ ง ใน กระบวนการผลิต ซึ่งนับไดวาประสบผลสําเร็จในระดับหนึ่ง สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ ในฐานะเปนหนวยงานที่ทําหนาที่ดูแลและพัฒนาระบบมาตรวิทยา ซึ่งมีภารกิจในการพัฒนาสถาบันฯ ใหเปนที่ยอมรับจากนานาชาติ สามารถใหบริการมาตรฐานดานการวัด แหง ชาติใหเพี ยงพอกับความตองการในประเทศ ไดแก ความตองการของภาคอุตสาหกรรมและภาค เศรษฐกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ความตองการดานการวัดในกิจกรรมการคุมครองผูบริโภค ตลอดจนความ ต อ งการด า นการวั ด ในกิ จ กรรมการอนุ รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ ม ช ว ยยกระดั บ คุ ณ ภาพและมาตรฐานของ ภาคอุตสาหกรรม และสรางความตระหนักใหกับประชาชนในชาติใหมีความรูความเขาใจถึงความสําคัญ และประโยชนของระบมาตรวิทยา สถาบันฯ จึงดําเนินการจัดทําแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) เพื่อเปนการกําหนดทิศทางและวางกรอบภารกิจของสถาบันฯ ใหสอดคลองกับการพัฒนา ประเทศ และยังใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการภายในสถาบันฯ และการประสานงานกับหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ โดยไดจัดทําแผนกลยุทธที่สอดคลองกับพระราชบัญญัติการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2540) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) แผนกลยุทธดาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (พ.ศ.2547-2556) และแผนพัฒนายุทธศาสตรกระทรวงวิทยศาสตรและ เทคโนโลยี (พ.ศ.2551-2554) นอกจากนี้สถาบันฯ ยังนําพระราชกฤษฏีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการ บริ ห ารกิ จ การบ า นเมื อ งที่ ดี พ.ศ.2546 การจั ด ทํ า ระบบงบประมาณที่ เ น น ผลงานตามยุ ท ธศาสตร (Strategic Performance-Based Buddgeting: SPBB) และเครื่องมือวิเคราะหระดับความสําเร็จของ การดําเนินงานจากการใชจายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool: PART) มาใชใน การปรับปรุงกระบวนการบริหารงานดานการบริหารงานเชิงกลยุทธ ตลอดจนการวิเคราะหความเชื่อมโยง ของสถาบันฯ กับความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ สงผลใหสถาบันฯ สามารถจัดทําแผนกลยุทธที่มี ประสิทธิภาพมากขึ้น มีระบบ และมีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ และใชทรัพยากรอยางคุมคา ในแผนกลยุท ธ ฉ บั บ นี้ ได กํ า หนดวิ สัย ทั ศ น เป า หมาย กลยุ ท ธ และมาตรการสํ า คั ญ ที่ จ ะต อ ง ดําเนินการในชวง พ.ศ.2552-2555 รวมทั้งกําหนดผูรับผิดชอบการดําเนินการ ตลอดจนกําหนดการติดตาม ประเมินผลและนําขอมูลที่ไดรับไปพิจารณาทบทวนและปรับปรุงแผนใหมีความเหมาะสมเปนระยะๆ ใน โอกาสตอไป ~ 17 ~
  • 18. 1.2 วัตถุประสงคการจัดทําแผนกลยุทธ 1.2.1 เพื่อ กํา หนดทิศ ทางและแนวทางการดํา เนิน งานของสถาบัน มาตรวิท ยาแหง ชาติ และ การประสานงานกับหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ 1.2.2 เพื่อจัดทําวิสัยทัศน พันธกิจ แผนกลยุทธ เปาหมาย ตัวชี้วัด ผลผลิต และผลลัพธ ของสถาบันฯ ใหส อดคลอ งกับ นโยบายของรัฐ บาล ยุท ธศาสตรก ระทรวงวิท ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีที่เ กี่ย วขอ ง เพื่อนําไปสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม ~ 18 ~
  • 20. บทที่ 2 การวิเคราะหสภาวะแวดลอมของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ การจัด ตั้ง และพัฒ นาสถาบัน มาตรวิท ยาแหง ชาติ มีก ารดํา เนิน การอยา งตอ เนื่อ ง เริ่ม ตั้ง แต การจั ด ตั้ ง ห อ งปฏิ บั ติ ก ารสอบเที ย บเครื่ อ งมื อ วั ด ขึ้ น เป น แห ง แรกในประเทศไทยเมื่ อ พ.ศ.2504 โดย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย ตอมาในป พ.ศ.2508 กองทัพอากาศไดดําเนินการ สอบเทียบเครื่องมือวัดในกองทัพ โดยกองชั่งปรับเทียบมาตรฐานเครื่องวัด กรมการสื่อสารทหารอากาศ และ เมื่อ พ.ศ.2509 กรมวิทยาศาสตรบริการ กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เริ่มใหการบริการ สอบเทียบเครื่องมือวัดภายใตโครงการมาตรวิทยาและการรับรองหองปฏิบัติการ ในป พ.ศ.2540 ไดมี การประกาศใชพระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ รวมทั้งสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติไดถกจัดตังขึน ู ้ ้ เพื่อดําเนินการสถาปนา พัฒนา และดูแลรักษามาตรฐานการวัดของชาติมาตั้งแต พ.ศ.2541 ถึงปจจุบัน สถาบันฯ ไดดําเนินงานตามแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551) โดยมี ผลการดําเนินงานและรายละเอียดสถานภาพปจจุบันของสถาบันฯ ดังนี้ 2.1 ผลการดําเนินงานของสถาบันฯ ตามแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551) แผนกลยุท ธส ถาบันมาตรวิท ยาแหง ชาติ (พ.ศ.2548-2551) ประกอบดว ย 2 กลยุท ธ ไดแ ก 1) กลยุทธเรงรัดพัฒนาสถาปนาหนวยวัดของชาติใหเปนที่ยอมรับของนานาชาติ 2) กลยุทธเผยแพรและ ถา ยทอดความถูก ตอ งดา นการวัด สูกิจ กรรมการวัด ในประเทศ ผลการดํา เนิน งานตามแผนกลยุท ธฯ ดังรายละเอียดในภาคผนวก จ โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้ 2.1.1 กลยุทธเรงรัดพัฒนาสถาปนาหนวยวัดของชาติใหเปนที่ยอมรับของนานาชาติ กลยุทธนี้ประกอบดวย 2 แผนงาน คือ 1) แผนงานการสถาปนาหนวยวัดแหงชาติ และ 2) แผนงานพัฒนานักมาตรวิทยาผูรับผิดชอบหนวยวัดแหงชาติ ดังนี้ 1) แผนงานการสถาปนาหนวยวัดแหงชาติ สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ มีอาคารหองปฏิบัติการที่เปนไปตามมาตรฐานสากล ณ เทคโนธานี รังสิต คลองหา สามารถดําเนินการสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติ พรอมทั้งใหบริการสอบเทียบได 424 รายการวัด ไดแก สาขามิติ จํานวน 160 รายการวัด สาขาไฟฟา เวลาและความถี่ จํานวน 93 รายการวัด สาขาเชิงกล จํานวน 107 รายการวัด สาขาอุณหภูมิ จํานวน 23 รายการวัด สาขาเสียงและการสั่นสะเทือน จํานวน 13 รายการวัด สาขาแสง จํานวน 3 รายการวัด สาขาเคมี จํานวน 25 รายการวัด สามารถผลิตวัสดุและ สารอางอิงรับรองได 4 ชนิด ไดแก วัสดุอางอิงความแข็งของโลหะ (Reference Block Rockwell Scale HRA และ HRB) วัสดุอางอิงรับรองดานเคมี (pH solution, Potassium Dichromate, Potassium Iodine) ~ 20 ~
  • 21. ความสามารถทางการสอบเทียบและการวัดของสถาบัน (Calibration and Measurement Capabilities: CMC) ไดรับการยอมรับในระดับสากล โดยความสามารถดานการวัดดังกลาวไดรับการเผยแพรในเว็บไซตของ องคการชั่งตวงวัดระหวางประเทศ (Bureau International des Poids et Measures: BIPM) (http://kcdb.bipm.org/Appendix C) รวมทั้งหมด 4 สาขาการวัด จํานวน 354 รายการวัด คือ สาขาไฟฟา จํานวน 313 รายการวัด สาขามวล จํานวน 19 รายการวัด สาขาความดัน จํานวน 11 รายการวัด สาขาอุณหภูมิ จํานวน 11 รายการวัด และหองปฏิบัติการของสถาบันฯ ไดรับการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการตาม มาตรฐาน ISO/IEC 17025 รวม 94 รายการวัด แบงเปนไดรับการรับรองจากองคกรรับรองความสามารถ Deutscher Kalibrierdienst: DKD สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี จํานวน 46 รายการวัด และจาก International Accreditation Japan: IA Japan ประเทศญี่ปุน จํานวน 48 รายการวัด การบริการสอบเทียบและ การอบรมของสถาบันฯ ไดรับการประเมินตามระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2000 และไดรับการรับรอง มาตรฐานจากสํานักงานรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (Mangement System Certification Institute (Thailand): MASCI) ตั้งแตป พ.ศ.2547 จนถึงปจจุบัน สถาบันฯ ไดเขารวมเปรียบเทียบผลการวัดระดับนานาชาติ (Interlaboratory Comparison) กับองคกรมาตรวิทยาระดับภูมิภาคและนานาชาติอยางตอเนื่องและมีผล การวัดอยูในเกณฑที่กําหนด 2) แผนงานพัฒนานักมาตรวิทยาผูรับผิดชอบหนวยวัดแหงชาติ สถาบั น ฯ ร ว มกับ สถาบัน มาตรวิท ยาแหง ชาติ ข องต า งประเทศ อาทิ โครงการความ รวมมือระหวาง Japan International Cooperation Agency: JICA และสถาบัน (JICA-NIMT), โครงการ ความรวมมือระหวาง Physikalisch-Technische Bundesanstalt: PTB,Germany และสถาบัน (PTB-NIMT) เปนตน เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรของสถาบันฯ โดยมีความรวมมือในการสงนักมาตรวิทยาของ สถาบันฯ ไปฝกอบรมในตางประเทศ รวมทั้งมีผูเชี่ยวชาญจากตางประเทศมาใหความรูทางเทคนิคแก นัก มาตรวิทยาของสถาบั น ฯ ในชว ง พ.ศ.2547-2550 มีการจัดส งนั กมาตรวิ ทยาเข ารับการอบรม ณ ตางประเทศจํานวน 103 คน นอกจากนี้ใน พ.ศ.2550 มีการเขารวมประชุมและกิจกรรมทางมาตรวิทยา ณ ตางประเทศ จํานวน 33 ครั้ง (53 คนครั้ง) บุคลากรของสถาบันฯ ไดนําเสนอและตีพิมพเผยแพรผลงานวิจัย ในเวทีการประชุมสัมมนาระดับนานาชาติ ซึ่งเปนการพัฒนาขีดความสามารถดานการวิจัยและพัฒนา อาทิเชน หองปฏิบัติการวิเคราะหไฟฟาเคมีไดทําการศึกษาวิจัยเรื่อง pH measurement โดยใชวิธี/อุปกรณปฐมภูมิที่ เรียกวา Harned Cell ผลงานวิจัยไดนําเสนอในการประชุม Biological Environmental Reference Materals (BERMs) ครั้งที่ 11 ณ เมือง Tsukuba ประเทศญี่ปุน รวมทั้งมีการตีพิมพผลงานในวารสารตางประเทศ “Journal of Occupational Health” เรื่อง “Exposure to lead of boatyard workers in Southern Thailand.” September 2007, volume 49[5]: 345-52 เปนตน ~ 21 ~
  • 22. 2.1.2 กลยุทธเรงเผยแพรและถายทอดความถูกตองดานการวัดสูกิจกรรมการวัดในประเทศ กลยุทธนี้ประกอบดวย 2 แผนงาน ไดแก 1) แผนงานการเผยแพรความรูเความเขาใจดานมาตรวิทยา สูสังคม และ 2) แผนงานเรงถายทอดความถูกตองสูกิจกรรมการวัด ดังนี้ 1) แผนงานการเผยแพรความรูความเขาใจดานมาตรวิทยาสูสังคม สถาบันฯ ไดดําเนินงานในแผนงานการเผยแพรความรูความเขาใจดานมาตรวิทยาที่ สถาบันฯ ไดดําเนินการอยางตอเนื่องคือการประชาสัมพันธเผยแพรขาวสารดานมาตรวิทยาผานสื่อมวลชน สื่อสิ่งพิมพ สื่อมัลติมีเดีย และการพัฒนาขอมูลขาวสารบนเว็บไซตของสถาบันฯ นอกจากนี้สถาบันฯ มี การจัดประชุมสัมมนาเพื่อใหความรูความเขาใจแกกลุมผูใชบริการเพือใหเขาใจถึงความสําคัญของมาตรวิทยา ่ ในการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ และลดตนทุนการผลิตเปนประจําตลอดอยางตอเนื่อง อาทิเชน โครงการ ยกระดั บ คุ ณ ภาพการวั ด ของภาคอุ ต สาหกรรม ดํ า เนิ น กิ จ กรรมการให คํ า ปรึ ก ษาด า นการวั ด แก ก ลุ ม ผูใชบริการ มีการจัดทําเอกสาร Capability List และ Price List ที่แสดงถึงความสามารถดานการวัดและ การสอบเทียบในสาขาการวัดตางๆ และอัตราคาบริการ เพื่อใหกลุมผูใชบริการสามารถตัดสินใจใชบริการที่ สอดคลองกับความจําเปน รวมทั้งสถาบันฯ ไดดําเนินการสงเสริมใหมีการเรียนการสอนดานมาตรวิทยาใน ทุกระดับการศึกษาโดยรวมมือกับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในการบรรจุเนือหาวิชาดาน ้ มาตรวิทยาในระดับชั้นมัธยมศึกษา รวมมือกับสํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษาในการอบรมครูอาจารย ระดับอาชีว ศึ กษา และร วมมื อกั บมหาวิทยาลัยจัดทําโครงการพัฒนารายวิ ชามาตรวิทยาในหลักสูตร การศึกษา ผลการดําเนินงานในปงบประมาณ พ.ศ.2550 มีมหาวิทยาลัยจํานวน 6 แหงไดบรรจุและเปด สอนวิชามาตรวิทยาในหลักสูตร การดําเนินงานที่คูขนานไปกับการสนับสนุนใหสถานศึกษาเปดสอนวิชา มาตรวิทยา คือการจัดอบรมหลักสูตรมาตรวิทยาขั้นพื้นฐาน ขั้นทฤษฏีและภาคปฏิบัติ เพื่อใหกลุมคนใน ระบบงานที่เกี่ยวของกับการวัด วิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคอุตสาหกรรม ตางๆ ใหมีการเรียนรูและพัฒนาขีดความสามารถดานมาตรวิทยา 2) แผนงานเรงถายทอดความถูกตองสูกิจกรรมการวัด ในระยะเริ่มแรกของแผนกลยุทธ (พ.ศ.2548-2551) มีหองปฏิบัติการสอบเทียบเขารวม ทั้งสิ้น 13 แหง มีหองปฏิบัติการสอบเทียบทั้งภาครัฐและเอกชนรวม 138 แหง สถาบันฯ มีกิจกรรมสงเสริม หองปฏิบัติการใหเขมแข็งอยางตอเนื่อง และไดผลักดันใหจัดตั้งสมาคมหองปฏิบัติการสอบเทียบแหง ประเทศไทยขึ้น มีการจัดตั้งเครือขายมาตรวิทยาเคมี โดยมีหนวยงานจากภาคการศึกษาและภาครัฐตางๆ จํานวน 30 หนวยงานเขารวมเปนสมาชิกเครือขาย สถาบันฯ ไดเสริมสรางความเขมแข็งของเครือขาย หองปฏิบัติการ โดยดําเนินการเปรียบเทียบผลการวัดระหวางหองปฏิบัติการสอบเทียบ และจัดโปรแกรม การทดสอบความชํานาญของหองปฏิบัติการวิเคราะหและทดสอบ จัดอบรมสัมมนาเพื่อใหความรูแก บุคลากรของหองปฏิบัติการอยางตอเนื่อง ดําเนินโครงการใหคําปรึกษาใหกับหองปฏิบัติการเพื่อใหมีขีด ความสามารถขยายขอบขายการใหบริการได นอกจากนี้สถาบันฯ ไดมีสวนรวมสนับสนุนระบบรับรอง ~ 22 ~
  • 23. ระบบงาน (Accreditation System) ของหองปฏิบัติการ โดยรวมกับสํานักงานรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (Mangement System Certification Institute (Thailand): MASCI) ในการประเมินความสามารถของ หองปฏิบัติการ 2.2 สถานภาพปจจุบันของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ ดวยภารกิจของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติที่มีบทบาทอยางสูงตอการพัฒนาระบบมาตรวิทยาเพื่อ เปนโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญตอการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะการยกระดับขีดความสามารถในการแขงขัน ของภาคอุตสาหกรรม รัฐบาลไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของระบบมาตรวิทยาแหงชาติ จึงไดมีการจัดตั้ง สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติขึ้นภายใตการกํากับดูแลของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และไดมี การกอสรางอาคารและจัดหามาตรฐานดานการวัดแหงชาติ ปจจุบันมีอาคารหองปฏิบัติการที่เปนไปตาม มาตรฐานสากล และสามารถสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติโดยไดรับการยอมรับจากนานาชาติ และ สามารถใหบริการสอบเทียบได โดยหนวยวัดทางฟสิกสไดรับการสถาปนาแลวสามารถตอบสนองความตองการ ในประเทศไดแลวเปนสวนมากประมาณรอยละ 83 แตยังตอบสนองความตองการดานการวัดทางเคมีและ ชีวภาพไดเพียงสวนนอย จากผลการสํารวจความตองการดานการวัดของภาคอุตสาหกรรม ผลการสํารวจความพึงพอใจของ ผูใชบริการสอบเทียบ และจากผลการประชุมสัมมนาภายใตชมรมมาตรวิทยา พบวาผูใชบริการยังมีความ ตองการการสอบเทียบในสาขาการวัดและชวงการวัด ดังนี้ - สาขามิติ ไดแก Flatness Interferometer, Roughness Specimen (AFM/SPM), Frequency Comb, Laser tracker, Theodolite Electronic Distance Measurement และ Contour Instrument - สาขาไฟฟา เวลาและความถี่ ไดแก AC/DC High Voltage 0–120 kV, Current Transformer 0–1,000 A, High Voltage Source 0–300 kV, Voltage Transformer 0–100 kV, LCR Component Up–13 MHz, Magnetic Standard Block 0.6–0.7 mT, Insulation Tester และ FM/AM Modulation - สาขาอุณหภูมิ ไดแก COD Reactor 150 ºc, Relative Humidity Sensor 2–100 % RH, เทอรโมมิเตอรในยานอุณหภูมิต่ํา ระหวาง -100 ถึง -1,200° C, และ IPRT/IR Thermometer ที่อุณหภูมิสูง กวา 600° C - สาขาแสง ไดแก Spectroradiometer, Color Correlated Temperature, และ Opacity Meter - สาขาแรงบิด คือ Transducer 0.035 –0.353 Nm - สาขาความแข็ง คือ Micro Vickers Hardness Test Block 200–800 HV - สาขามวลและความหนาแนน ไดแก Hydrometer, ตุมน้ําหนัก (Weight or Weight set) Class E1 upto 50 kg รวมทั้งตุมน้ําหนักขนาดใหญถึง 1000 kg และการวัดปริมาณอื่นที่เกี่ยวของโดยตรง ไดแก สภาพความเปนแมเหล็กของตุมน้ําหนัก ความหนาแนนและปริมาตรของตุมน้ําหนัก เปนตน ~ 23 ~
  • 24. - สาขาอัตราการไหล ไดแก Anemometer 0–120 km/h และ 0–20 m/s, Air Flow Meter 0-100 m3/min, และ เครื่องใหสารละลายทางหลอดเลือด 1-10 ml/h - สาขาความดันและสุญญากาศ คือ Digital Manometer 5 to -5 mbar - สาขาเคมีและชีวภาพ ในกลุมงานดานความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) มีความตองการ วัดโปรตีนในอาหารสัตว การวัดปริมาณสารถนอมอาหารตางๆ ในผลิตภัณฑอาหาร อาทิเชน BHA, BHT, Sodium Benzoate, Sorbic Acid เปนตน กลุมงานดา นคุม ครองผูบริโภค (Consumer Protection) มีความตองการศักยภาพการวัดดานเคมีคลินิก อาทิเชน Glucose, Cholesterol, Triglycerides, Ethanol, สารตกคางในเครื่องสําอางค การวัดปริมาณแรธาตุที่ระบุไวบนบรรจุภัณฑอาหารและยา การวัดสารสกัด จากสมุนไพร การวัดตามขอกําหนด RoHS ของสหภาพยุโรป และกลุมงานดานอนุรักษสิ่งแวดลอม (Environment Protection) มีความตองการเรงดวนในการวัดคุณภาพของน้ํา เชน คา Biochemical Oxygen Demand (BOD) คา Chemical Oxygen Demand (COD) การวัดปริมาณยาฆาแมลง การวัด Volatile Organic Compounds (VOC) การวัดปริมาณโลหะหนัก (Fe, Cr, Cd, Hg, As) และการวัดปริมาณ Nitrate และ Nitrite และในทุกกลุมงานจะมีความตองการเหมือนกัน ไดแก วัสดุอางอิงรับรอง (Certified Reference Material: CRM) โปรแกรมการทดสอบความชํานาญ (Proficiency Testing Program: PT) และ หองปฏิบัติการวิเคราะหและทดสอบอางอิงแหงชาติ (National Reference Laboratory) ในภาพรวมหนวยวัดแหงชาติยังไมเพียงพอตามความตองการดานมาตรวิทยาภายในประเทศ โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ด า นมาตรวิ ท ยาเคมี และชี วภาพ จึ ง ควรมี การเร ง ดํ าเนิ นการสถาปนาและพั ฒ นา ความสามารถในการวั ดด านมาตรวิ ทยาเคมีแ ละชี ว ภาพ โดยเร ง ดํา เนิ น การพั ฒ นาวั ส ดุอ า งอิ ง รับ รอง (Certified Reference Material: CRM) โปรแกรมการทดสอบความชํานาญ (Proficiency Testing Program: PT) และพัฒนาหองปฏิบัติการวิเคราะหและทดสอบอางอิงแหงชาติ (National Reference Laboratory) สรุปสถานภาพของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ - หนวยวัดดานฟสิกสสามารถตอบสนองความตองการในประเทศไดประมาณรอยละ 83 ซึ่งตอง พัฒนาเพิ่มขึ้น เพื่อใหเพียงพอกับความตองการภายในประเทศ - ความตองการดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพในประเทศสูง ควรเรงดําเนินการพัฒนาวัสดุอางอิงรับรอง (Certified Reference Material: CRM) จัดทําโปรแกรมการทดสอบความชํานาญ (Proficiency Testing Program: PT) ใหเพียงพอ และพัฒนาหองปฏิบัติการวิเคราะหและทดสอบอางอิงแหงชาติ (National Reference Laboratory) ~ 24 ~
  • 25. 2.3 การวิเคราะหสภาพแวดลอม หลักกฎหมาย พระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ พ.ศ.2540 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ที่สนับสนุนการดําเนินงานของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (ระบุไวในแผนแมบทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ภาคผนวก ก และ ข) 2.3.1 การวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ การวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ จากการสัมมนาระดมสมอง ระดมความคิดเพื่อพัฒนาระบบมาตรวิทยา (วันที่ 9 กันยายน 2551 ณ ศูนยประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ) สรุปไดดังนี้ ตารางที่ 1 การวิเคราะหจุดแข็ง (Strength) ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ ประเด็น จุดแข็ง (Strength) 1. สถาบันฯ มีการพัฒนา 1. เปนสถาบันฯ หลักในการดําเนินงานใหระบบมาตรวิทยาของชาติเปนที่ยอมรับของนานาชาติ ระบบมาตรวิทยาอยาง 2. มีการพัฒนาและสถาปนาหนวยวัดของชาติอยางตอเนื่อง ตอเนื่อง 3. ความสามารถทางการสอบเทียบและการวัดของสถาบันฯ (Calibration and Measurement Capabilities: CMC) ไดรับการยอมรับในระดับสากล โดยความสามารถดานการวัดดังกลาวไดรับ การเผยแพรในเว็บไซตขององคการชั่งตวงวัดระหวางประเทศ (Bureau International des Poids et Measures: BIPM) 4. สถาบันฯ ไดรับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพมาตรฐาน ISO9001:2000 ตั้งแต พ.ศ.2547 ถึงปจจุบัน และหองปฏิบัติการของสถาบันฯ ไดรับการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการตาม มาตรฐาน ISO/IEC 17025 จาก DKD และ IA Japan จึงเปนที่ยอมรับของนานาชาติ 5. เปนสถาบันฯ ที่มีบทบาทหนาที่ครบวงจรนับแตการสถาปนา พัฒนา บริการ ใหคําปรึกษา ถ า ยทอด เผยแพร สร า งความตระหนั ก ด า นมาตรวิ ท ยา เนื่ อ งจากมี บุ ค ลากรที่ มี ค วามรู ความสามารถและสามารถเชิญบุคลากรที่มีความรูความสามารถของหนวยงานภายนอกทั้งใน ประเทศและตางประเทศมารวมงาน 6. มีความคล อ งตัวในการดําเนิ นงาน มีความคลอ งตั วในการริ เริ่ มโครงการใหม และมีความ เหมาะสมกับภารกิจ เนื่องจากโครงสรางขององคกรมีลักษณะเฉพาะ ซึ่งเปนหนวยงานในกํากับ และไมไดเปนสวนราชการ รวมทั้งมีกองทุนพัฒนาระบบมาตรวิทยา รายไดจากการดําเนินงาน สามารถนํามาใชในกิจกรรมขององคกรไดโดยตรง และมีบุคลากรที่มีศักยภาพสามารถรองรับ การเปลี่ยนแปลงในวิทยาการใหมๆ 2. บุ คลากรของสถาบั นฯ มี 7. มีการสรางองคความรูใหม และสะสมความรูอยางตอเนื่อง ทําใหมีความเขมแข็งทางวิชาการ ความรู ด า นมาตรวิ ท ยา ดานมาตรวิทยา เพราะมีกลุมบุคลากรที่มีความรู ความสามารถ และประสบการณทางดาน และมีการพัฒนาสูงขึ้น มาตรวิทยาเปนที่ยอมรับทั้งในประเทศและตางประเทศ 8. บุคลากรของสถาบันฯ มีความรู ความสามารถ และประสบการณในการวิจัย พัฒนา การ บริการ การถายทอด การเผยแพร และสรางความตระหนักดานมาตรวิทยาสูง 9. บุคลากรของสถาบันฯ มีประสิทธิภาพและศักยภาพสูงในดานมาตรวิทยา มีความเชี่ยวชาญใน สาขาเฉพาะทาง ~ 25 ~