SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 38
บทที่ 2
การเลือกรูปแบบองค์กร
ธุรกิจ
และการเริ่มต้นธุรกิจ
บรรยายโดย
อาจารย์ชิตวรา
บรรจงปรุ
ก่อนที่จะตัดสินใจเลือกรูปแบบธุรกิจนั้น ผู้
ประกอบการควรจะต้อง
ศึกษาข้อมูลให้ละเอียดรอบคอบเสียก่อน โดยเฉพา
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับลักษณะเฉพาะขององค์การ
ธุรกิจแต่ละรูปแบบ เช่น
• ความยุ่งยากในการจัดตั้ง
• อำานาจในการตัดสินใจ
• ความรับผิดชอบในหนี้สินของกิจการ
• ระเบียบปฏิบัติทางกฎหมาย
• ภาษีที่ต้องเสีย
ประเภทของธุรกิจ
หลักในการแบ่งมีแนวความคิดหลายแนว
ดังนี้
แนวคิดที่ 1 ใช้วิธีการประกอบ
ธุรกิจ (3)
แนวคิดที่ 2 ใช้ผลผลิตเป็นหลักใน
การแบ่ง (8)
แนวคิดที่ 3 ใช้วิธีการได้เงินมา
แนวคิดที่ 1 ใช้วิธีการ
ประกอบธุรกิจ
•ธุรกิจอุตสาหกรรม มุ่งผลิต
สินค้า
•ธุรกิจการค้า เป็นการซื้อมาขาย
ไป
•ธุรกิจบริการ เป็นการเสนอขาย
บริการต่างๆ
แนวคิดที่ 2 ใช้ผลผลิตเป็น
หลักในการแบ่ง
1. ธุรกิจการเกษตร 5. ธุรกิจการ
เงิน
2. ธุรกิจเหมืองแร่ 6. ธุรกิจการให
บริการ
3. ธุรกิจอุตสาหกรรม 7. ธุรกิจการ
ก่อสร้าง
แนวคิดที่ 3 ใช้วิธีการได้เงินมา
เป็นหลักในการแบ่ง
• อาชีพลูกจ้าง (Employee)
• อาชีพทำาธุรกิจส่วนตัว (Self Employee)
• อาชีพการเป็นเจ้าของกิจการ (Business
Employee) เปิดกิจการแล้ว
จ้างผู้อื่นมาทำาเช่น เปิดคลินิกแล้วจ้างแพทย์มารักษา
คนไข้ เป็นต้น
• อาชีพนักลงทุน (Investor) เช่น ซื้อหุ้นกองทุนต่าง
การที่จะเริ่มธุรกิจขึ้นใหม่
ควรจะได้ศึกษาปัญหาต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
• การจัดตั้งธุรกิจรูปแบบที่ต้องการนั้นยากหรือง่าย
• เจ้าของธุรกิจจะต้องรับผิดชอบเพียงไร
• จะต้องการเงินลงทุนสักเท่าไรเพื่อเริ่มกิจการ
• จะหาทุนเพิ่มระหว่างดำาเนินกิจการได้หรือไม่ เพียงไร
• มีกฎหมายบังคับสำาหรับธุรกิจประเภทนั้นๆหรือไม่ และ
อย่างไร
• ธุรกิจประเภทนั้นไม่อยู่ในข่ายบังคับของกฎหมายเพียง
ไร
รูปแบบการประกอบธุรกิจ
มีหลายรูปแบบที่ควรทราบมีดังนี้
1. ธุรกิจเจ้าของคนเดียว
2. ห้างหุ้นส่วน
3. บริษัทจำากัด
4. บริษัทมหาชนจำากัด
5. กิจการร่วมค้า
1. ธุรกิจเจ้าของคนเดียว (sole
proprietorship)
ข้อดี ข้อเสีย
1)การจัดตั้งและเลิก
กิจการทำาได้สะดวก
1) มีทุนจำากัด จะขยายกิจการ
ให้ใหญ่โตหรือทำาธุรกิจใหญ่ๆ
ไม่ได้
2) การดำาเนินงานมีอิสระ
คล่องตัว
2)ต้องรับผิดชอบต่อความเสีย
หายแต่เพียงผู้เดียว
3)กฎหมายและระเบียบ
ข้อบังคับมีน้อย
3)ความรู้ความสามารถมีจำากัด
เพราะปะกอบการคนเดียว
4) ควบคุมพนักงานได้
ง่าย
4)ขาดความต่อเนื่องในกิจการ
เมื่อเจ้าของมีปัญหา เช่น เจ็บ
ป่วย หรือเสียชีวิต เป็นต้น
สถานการณ์ที่เหมาะแก่การดำาเนิน
แบบเจ้าของคนเดียว
1) ธุรกิจนั้นต้องการลงทุนไม่มากนัก พอที่จะหามาได้
โดยไม่ต้องมีการระดมทุนชักชวนคนอื่นมาร่วมด้วย
2) การดำาเนินธุรกิจมีขอบเขตไม่กว้างขวางมากนัก ผู้
ประกอบการมีโอกาสพบปะพูดคุยทำาความรู้จักกับ
ลูกค้าได้ด้วยตนเอง ทำาให้ลูกค้าได้รับความพึงพอใจ
และมีแนวโน้มที่จะเป็นลูกค้าประจำาหรือแนะนำาลูกค้า
ใหม่มาให้ นั้นคือ ควรเป็นธุรกิจที่ลูกค้าได้รับความ
เอาใจใส่เป็นรายบุคคล
3) ธุรกิจบางประเภทที่มุ่งให้บริการหรือตอบสนองความ
ต้องการแก่เฉพาะลูกค้าที่มีรสนิยมเป็นการส่วนตัวก็
เหมาะที่จะดำาเนินธุรกิจแบบเจ้าของคนเดียว
4) ธุรกิจที่มีการเสี่ยงน้อย ได้แก่ ธุรกิจประเภทที่มีการ
การจัดตั้งธุรกิจในรูปของเจ้าของคนเดียว
ประกอบธุรกิจขายสินค้า โรงสี โรงเลื่อย นาย
หน้าหรือตัวแทน การขนส่ง การหัตกรรม การ
อุตสาหกรรม ต้องไปยื่นขอจดทะเบียน
พาณิชย์ที่กรมพัฒนาธุรกิจกระทรวงพาณิชย์
หรือที่พาณิชย์จังหวัด ภายใน 30 วัน นับแต่
วันเริ่มประกอบกิจการ ถ้าฝ่าฝืนถูกปรับ หาก
เป็นกิจการประเภทโรงงาน มีคนงานเกิน 20
คน หรือมีเครื่องจักรเกิน 20 แรงม้า ต้องไป
แจ้งกรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือ สำานักงาน
2. ห้างหุ้นส่วน (partnership)
การเปรียบเทียบห้างหุ้นส่วนสามัญ
และห้างหุ้นส่วนจำากัดห้างหุ้นส่วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนจำากัด
1. ไม่ต้องจดทะเบียน 1. ต้องจดทะเบียน
2. ถ้าจดทะเบียนเป็นห้างหุ้น
ส่วนสามัญนิติบุคคล
2. เป็นนิติบุคคล
3. รับผิดชอบหนี้โดยไม่
จำากัด
3. รับผิดชอบหนี้จำากัด
4. หุ้นส่วนประเภทเดียวคือ
ประเภทรับผิดไม่จำากัด
4. หุ้นส่วนมี 2 ประเภท คือ รับผิด
จำากัด และรับผิดไม่จำากัด
5. หุ้นส่วนทุกคนเข้ามาจัดการ
งานของห้างได้
5. หุ้นส่วนประเภทรับผิดไม่จำากัด
เท่านั้นที่สามารถเข้ามาจัดการ
งานของห้างได้
ข้อดีและข้อเสียของการประกอบธุรกิจ
แบบห้างหุ้นส่วนข้อดี ข้อเสีย
1)มีเงินทุนมากขึ้น ถ้ามีหุ้น
ส่วนมากระดมทุนได้มาก
1) ทุนจำากัดถ้ามีหุ้นส่วนน้อยราย
2)การจัดตั้งและเลิกกิจการไม่
ยุ่งยากสะหรับห้างหุ้นส่วน
สามัญ
2) มีปัญหาเรื่องความซื่อสัตย์
ของหุ้นส่วนบางคน
3)เป็นการรวมความรู้ความ
สามารถหลายด้านช่วยกัน
ทำาให้กิจการเจริญและขยาย
ตัวได้ดี
3) ความรับผิดชอบของห้างหุ้น
ส่วนไม่จำากัด ทำาให้ไม่กล้าเสี่ยง
ขยายกิจการ
4) มีเครดิตสูงกว่าธุรกิจ
เจ้าของคนเดียว
4) ทุนที่เข้าหุ้นถอนได้อยาก
จนกว่าจะเลิกกิจการ
5)มีกฎหมายและระเบียบ 5)อายุการดำาเนินการห้างหุ้น
การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนไม่มีอะไรยุ่งยาก
มากนัก หากเป็นการจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
สามัญที่ไม่จดทะเบียนก็ตั้งขึ้นได้เลยเพียง
แต่ไปยื่นขอจดทะเบียนพาณิชย์ภายใน
30 วันนับแต่วันเริ่มแรก จะใช้ชื่อว่า
อย่างไรก็โดยไม่จำาเป็นมีคำาว่า ห้างหุ้น
ส่วน หรือ ห้างหุ้นส่วนสามัญ ประกอบชื่อ
ของห้าง สำาหรับห้างหุ้นส่วนจำากัด นั้นจะ
ต้องไปจดทะเบียนเสมอ
การจัดการห้างหุ้นส่วนสามัญ
1) ผู้จัดการห้างฯอาจมีคน
เดียวหรือหุ้นส่วนทุกคนเป็นผู้
จัดการก็ได้
2) ผู้จัดการห้างฯย่อมมี
อำานาจจัดการทั้งหลายตาม
วัตถุประสงค์อันเป็นปกติ
ธรรมดาในการค้าขาย
การจัดการห้างหุ้นส่วนสามัญ
3) หน้าที่ของห้างหุ้นส่วนผู้จัดการ
3.1) ต้องจัดการงานของห้างฯด้วยตนเอง
3.2) ต้องจัดการงานของห้างฯด้วยความระมัดระวัง
เสมือนจัดการงานของตนเอง
3.3) ต้องส่งเงินและทรัพย์สินที่ทำาในนามของห้างฯให้
แก่ห้างหุ้นส่วน
3.4) ต้องเสียดอกเบี้ยเมื่อนำาเงินและทรัพย์สินของ
ห้างฯไปใช้ส่วนตัว
3.5) ต้องชดใช้แก่ห้างฯเมื่อเกิดความเสียหายเพราะ
ความประมาทเลินเล่อหรือกระทำานอกเหนือขอบเขต
อำานาจ
การจัดการห้างหุ้นส่วนสามัญ
4) หุ้นส่วนทุกคนมีสิทธิไต่ถามตรวจ และคัด
สำาเนาสมุดบัญชีและเอกสารต่างๆ ลงมติออก
เสียงในปัญหาใดๆของห้างฯ
5) เมื่อห้างฯมีกำาไรขาดทุน ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคน
จะรับผิดชอบร่วมกัน
6) ห้ามมิให้ผู้เป็นหุ้นส่วนทำาการค้าขายแข่งกับ
ห้างฯในสภาพเดียวกัน
การจัดการห้างหุ้นส่วนจำากัด
1) หุ้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดชอบเท่านั้นจึงจะ
เป็นผู้จัดการได้
2) การจัดการห้างฯให้จัดการเช่นเดียวกับห้างหุ้นส่วน
สามัญ
3) หุ้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิด มีสิทธิเข้าไปดูแล
สอบถาม ให้คำาแนะนำาแก่ห้างฯเช่นเดียวกับห้างหุ้น
ส่วนสามัญ
4) ผู้เป็นหุ้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดจะค้าขายแข่ง
กับห้างฯก็ได้
5) ห้ามมิให้เงินปันผลหรือดอกเบี้ยให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วน
จำาพวกจำากัดความรบผิด นอกจากผลกำาไร
การเลิกกิจการห้างหุ้นส่วน
ห้างหุ้นส่วนจะเลิกกิจการด้วยเหตุผลหลายประการดังนี้
1) เมื่อเกิดกรณีที่กำาหนดไว้ในสัญญาว่าเป็นเหตุให้เลิก
2) กำาหนดอายุของการดำาเนินกิจการของห้างหุ้นส่วนนั้น
ไว้
3) เมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนคนหนึ่งคนใดบอกเลิกล่วงหน้าไม่น้อย
กว่า 6 เดือนก่อนสิ้นรอบปีในทางบัญชีการเงินของห้าง
หุ้นส่วนนั้น
4) สัญญากำาหนดไว้เพื่อทำากิจการใดกิจการหนึ่งเมื่อเสร็จ
กิจการนั้นแล้วก็ต้องเลิก
5) เมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งตาย หรือล้มละลาย หรือ
ตกเป็นผู้ไร้ความสามารถ
บริษัท (Corporation)
คือองค์การธุรกิจที่จัดตั้งขึ้นด้วยการแบ่งทุน
เป็นหน่วยเล็กๆ เรียกว่าหุ้น แต่ละหุ้นมีมูลค่า
เท่าๆกัน ผู้ถือหุ้นต่างรับผิดจำากัดเพียงไม่เกิน
จำานวนเงินที่ตนยังส่วนใช้ไม่ครบมูลค่าของหุ้นที่
ตนถือ
บริษัทจำากัดแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1) บริษัทจำากัด ที่ตั้งขึ้นตามประมวลผล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
2) บริษัทมหาชนจำากัด ที่ตั้งขึ้นตามพระราช
บัญญัติ
บริษัทมหาชนจำากัด พ.ศ. 2535
ลักษณะสำาคัญของบริษัทจำากัด
1) ต้องมีผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่า 3 คน
2) หุ้นมีมูลค่าหุ้นละเท่าๆกัน ไม่ตำ่ากว่าหุ้นละ 5 บาท
3) มีคำาว่า บริษัท นำาหน้าชื่อ และต่อท้ายด้วนคำาว่า
จำากัด เสมอ
4) การดำาเนินงานของบริษัทเป็นหน้าที่ของกรรมการ
บริษัท ผู้ถือหุ้นไม่มีอำานาจเข้ามาจัดการ
5) ที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นเป็นผู้กำาหนดนโยบายของ
บริษัท แต่งตั้งหรือถอนกรรมการและผู้สอบบัญชีและ
กำาหนดเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้น
6) บริษัทจะต้องออก ใบหุ้น ให้แก่ผู้ถือหุ้นยึดถือไว้ และ
หุ้นดังกล่าวโอนกันได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวให้ผู้อื่นๆ
ข้อดีและข้อเสียของบริษัทจำากัด
ข้อดี ข้อเสีย
1) สามารถระดมทุนได้มากด้วย
การขายหุ้นให้แก่ผู้สนใจ
1) การจัดตั้งมีความสลับซับซ้อน
ยุ่งยาก ค่าใช้จ่าก่อตั้งแพง
2) ความรับผิดชอบของผู้ถือหุ้นมี
จำากัดเพียงเท่ามูลค่าหุ้นที่ยังมิได้
ส่งใช้ครบจำานวน
2) การบริหารงานอาจขาด
ประสิทธิภาพ หารได้ผู้บริหารที่
ไม่มีความรู้ความสามารถ
พนักงานอาจไม่กระตือรือร้นใน
การทำางาน
3) อายุของบริษัทจำากัดยาวนาน
มั่นคงถาวร
3) ต้องเสียภาษีสูงกว่าการ
ประกอบธุรกิจในรูปอื่น
ข้อดีและข้อเสียของบริษัทจำากัดข้อดี ข้อเสีย
4) หุ้นสามารถเปลี่ยนมือได้
โดยการโอนหือขายหุ้นซึ่ง
กระทำาได้โดยง่าย
4) มีข้อจำากัดทางกฎหมาย
มากมาย เพราะต้องการให้
เกิดประโยชน์แก่ผู้เกี่ยวข้อง
และประชาชนมากที่สุด
5) บริษัทขยายทุนได้ง่าย
โดยออกหุ้นเพิ่มหรือขาย
พันธบัตร
5) อาจมีการขดแย้งระหว่าง
ผู้
6) การจัดการมีประสิทธิภาพ
เพราะต้องมอบให้กรรมการ
บริษัทจัดผู้ชำานาญการมาทำา
หน้าที่บริหารแทน
บริหารงานและผู้ถือหุ้นเกี่ยว
กับการดำาเนินงานของบริษัท
ชนิดของหุ้น
1) หุ้นทุนสามัญ
2) หุ้นทุนบุริมสิทธิ
3) หุ้นทุนซึ่งมีสิทธิรองลง
มา
4) หุ้นให้เปล่า
5) หุ้นทุนร่วมเป็นเจ้าของ
การเปรียบเทียบบริษัทมหาชน
จำากัดรายการ บริษัทจำากัด บริษัทมหาชนจำากัด
1. ผู้เริ่มก่อการ
2. หนังสือชี้ชวน
3. มูลค่าหุ้น
4. เสนอขายหุ้นต่อ
ประชาชนทั่วไป
5.คำาต่อท้ายชื่อบริษัท
6.ขออนุญาตต่อ
ตลาดหลักทรัพย์
แห่งประเทศไทย
7.การเรียกชำาระค่าหุ้น
ครั้งแรก
8.ใบหุ้น
9.การออกหุ้นกู้
3 คนขึ้นไป
ห้ามออกหนังสือชี้
ชวน
ไม่ตำ่ากว่า 5 บาท
ห้ามเสนอ
จำากัด
ไม่ต้องขออนุญาต
ไม่ตำ่ากว่า 25 %
ไม่รุบุชื่อผู้ถือก็ได้
ออกหุ้นกู้ไม่ได้
กี่คนก็ได้ (คนเดียว
ก็ได้)
ตำ่ากว่าราคาพาร์ไม่ได้
15 คนขึ้นไป
ออกหนังสือชี้ชวนแจก
จ่ายแก่
ประชาชน
ตั้งแต่ 1 บาท ขึ้นไป
เสนออย่างน้อย 50%
จำากัด (มหาชน)
ต้องขออนุญาต
100 % (ผ่านธนาคาร)
ต้องระบุชื่อผู้ถือ
ออกหุ้นกู้ได้
ไม่น้อยกว่า 5 คน
ตำ่ากว่าราคาพาร์ได้
กิจการร่วมค้า(joint venture)
เป็นการลงทุนประกอบธุรกิจ
ระหว่างบริษัทกับบริษัท หรือ
บริษัทกับห้างหุ้นส่วน อาจเป็น
บริษัทต่างประเทศมาลงทุนร่วม
กันกับบริษัทภายในประเทศ
กิจการร่วมค้าจะมีการกำาทำา
สัญญาของการเข้าร่วมและผู้
เข้าร่วมทุกคนรับผิดชอบใน
หนี้ที่เกิดโดยไม่จำากัด
และมีลักษณะเป็นการประกอบธุรกิจในระยะสั้น เมื่อ
ดำาเนินกิจการบรรลุวัตถุประสงค์
แล้วกิจการจะสลายตัวไป
ประเภทของผู้ประกอบการ
• ผู้ประกอบการที่เป็นผู้ก่อตั้ง (founder
entrepreneur)
• ผู้ประกอบการที่เป็นผู้บริหาร
(administrative entrepreneur)
• ผู้ซื้อสิทธิพิเศษ
• ผู้ประกอบการที่เป็นช่างฝีมือ (artisan
entrepreneur)
• ผู้ประกอบการที่แสวงหาโอกาส
ประเภทของผู้ประกอบการ (ต่อ)
• ทีมผู้ประกอบการ
• ผู้ประกอบการเป็นสามีและภรรยา
(copreneur)
• ธุรกิจครอบครัว
• ผู้ประกอบการที่เป็นหนุ่มสาว
• ผู้ประกอบกิจการที่บ้าน
• ผู้ลี้ภัย

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์
thnaporn999
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2
thnaporn999
 
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุขโครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข
0868472700
 
ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อย
thnaporn999
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hoursตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
Nattakorn Sunkdon
 
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีกเรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
supatra39
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecreamตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
Nattakorn Sunkdon
 

Mais procurados (15)

ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2
 
Num mus
Num musNum mus
Num mus
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2
 
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุขโครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข
 
ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อย
 
รายงาน Om
รายงาน Omรายงาน Om
รายงาน Om
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hoursตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
 
1223363069 minimart 25 hours
1223363069 minimart 25 hours1223363069 minimart 25 hours
1223363069 minimart 25 hours
 
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจคู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
 
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีกเรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์เลือกทำเลที่ตั้ง การจัดการด้านการค้าปลีก
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecreamตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
 
Code of conduct
Code of conductCode of conduct
Code of conduct
 

Destaque

ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
earlychildhood024057
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
Netsai Tnz
 
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
sasiwan_memee
 

Destaque (7)

Ba.453 ch5
Ba.453 ch5Ba.453 ch5
Ba.453 ch5
 
ความเห็นของนักนิเทศศาสตร์รุ่นใหม่ต่อจริยธรรมสื่อ
ความเห็นของนักนิเทศศาสตร์รุ่นใหม่ต่อจริยธรรมสื่อความเห็นของนักนิเทศศาสตร์รุ่นใหม่ต่อจริยธรรมสื่อ
ความเห็นของนักนิเทศศาสตร์รุ่นใหม่ต่อจริยธรรมสื่อ
 
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีจริยธรรมของโคลเบิร์ก
 
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
 
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
 

Semelhante a การประกอบการ

หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
chwalit
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
praphol
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วน
thnaporn999
 
01 businessfinance v1 handout
01 businessfinance v1 handout01 businessfinance v1 handout
01 businessfinance v1 handout
Charin Sansuk
 
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมChapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Ronnarit Junsiri
 
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
arm_smiley
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
supatra39
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
supatra39
 
การบริหารจัดการงานบัญชีธุรกิจ(คุณวริยา)
การบริหารจัดการงานบัญชีธุรกิจ(คุณวริยา)การบริหารจัดการงานบัญชีธุรกิจ(คุณวริยา)
การบริหารจัดการงานบัญชีธุรกิจ(คุณวริยา)
Songpol Kupree
 

Semelhante a การประกอบการ (20)

บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
 
งานธุรกิจ
งานธุรกิจงานธุรกิจ
งานธุรกิจ
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
Entrepreneurship : New Venture Creation
Entrepreneurship : New Venture CreationEntrepreneurship : New Venture Creation
Entrepreneurship : New Venture Creation
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วน
 
01 businessfinance v1 handout
01 businessfinance v1 handout01 businessfinance v1 handout
01 businessfinance v1 handout
 
SMEs
SMEsSMEs
SMEs
 
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
 
1
11
1
 
บทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 5 การจัดองค์กรจัดซื้อจัดจ้าง
 
e-commerce
e-commercee-commerce
e-commerce
 
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมChapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
 
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
การบริหารจัดการงานบัญชีธุรกิจ(คุณวริยา)
การบริหารจัดการงานบัญชีธุรกิจ(คุณวริยา)การบริหารจัดการงานบัญชีธุรกิจ(คุณวริยา)
การบริหารจัดการงานบัญชีธุรกิจ(คุณวริยา)
 

Mais de Pa'rig Prig

Mais de Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

การประกอบการ