SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 16
Baixar para ler offline
แผนบริหารการสอนบทที่ 7
หัวขอเนื้อหาประจําบท
1. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับระบบภูมิคุมกัน
2. แผนการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของประเทศไทย
3. วัคซีนพื้นฐาน
4. อาการขางเคียง และแนวทางการดูแลตนเอง
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
เมื่อนักศึกษาไดศึกษาจบบทที่ 7 แลว นักศึกษาควรมีความสามารถดังตอไปนี้
1. อธิบายคําจัดความของวัคซีนได
2. อธิบายความแตกตางระหวางวัคซีน และการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคชนิดอื่นได
3. ระบุชนิดของวัคซีนพื้นฐาน รวมถึงแผนการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคได
4. บอกประโยชนของวัคซีนพื้นฐานแตละชนิดได
5. อธิบายวิธีการบริหารวัคซีนได
6. บอกผลขางเคียงที่สําคัญของวัคซีนพื้นฐานได
7. ใหคําแนะนําในการดูแลตนเองหลังไดรับวัคซีนได
วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน
วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจําบทที่ 7 ประกอบดวยรายละเอียดดังนี้
1. บรรยายตามเนื้อหา โดยใชโปรแกรมการนําเสนอ (power point) ประกอบคําอธิบาย
2. แสดงตัวอยางภาพการใหวัคซีน และใหนักศึกษาอภิปรายประเด็นเกี่ยวกับวิธีการใหวัคซีน
อายุที่ควรไดรับวัคซีน
3. รวมกันสรุปประเด็นสําคัญของการเรียน
4. มอบหมายงานใหนักศึกษาประเด็นความรูเกี่ยวกับวัคซีนที่ถูกบรรจุไวในสมุดบันทึก
สุขภาพแมและเด็ก
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา เภสัชวิทยาเบื้องตน บทที่ 7 วัคซีน
2. โปรแกรมนําเสนอ เรื่อง วัคซีน
3. สมุดบันทึกสุขภาพแมและเด็ก
วิธีวัดผลและการประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมผูเรียน
1.1 พฤติกรรมความตรงตอเวลาในการเขาเรียน และการสงงานที่ไดรับมอบหมาย
1.2 พฤติกรรมการมีสวนรวมแสดงความคิดเห็นของผูเรียนในระหวางเรียน
1.3 พฤติกรรมการมีสวนรวมในการทํากิจกรรมกลุม
2. ประเมินผลงานที่มอบหมาย
2.1 ใบงาน
บทที่ 7
วัคซีน
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับระบบภูมิคุมกัน
ภูมิคุมกันในรางกายทําหนาที่เปนกลไกในการปองกันตนเอง และทําลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลก
ปลอม ซึ่งวิธีการสรางภูมิคุมกันใหกับรางกาย มี 2 วิธีคือ การใหภูมิคุมกันชนิดสําเร็จรูปของคนหรือ
สัตวที่มีอยูกอน หรืออิมมูนโกลบุลิน (Passive immunization) ซึ่งเมื่อใหเขาสูรางกาย ภูมิคุมกันนี้จะ
สามารถออกฤทธิ์ตอตานเชื้อโรคไดทันที แตผลปองกันโรคใชไดในระยะเวลาที่ไมนาน และการให
วัคซีนเพื่อกระตุนรางกายใหสรางภูมิคุมกัน (Active immunization) วิธีนี้อาจใชเวลาหลายสัปดาห
หรือเปนเดือน ในการที่จะทําใหรางกายสามารถสรางระดับภูมิคุมกันไดเพียงพอในการปองกันโรค
วัคซีน (Vaccine) เปนชีววัตถุหรือแอนติเจนที่ผลิตมาจากเชื้อโรค หรือพิษของเชื้อโรคที่ถูกทํา
ใหไมสามารถกอโรคในคนได เพื่อกระตุนใหรางกายสรางภูมิคุมกันตอโรค สามารถจําแนกได 3
ประเภท ดังนี้
1. วัคซีนประเภทท็อกซอยด (Toxoid) เปนวัคซีนที่ผลิตขึ้นโดยการนําพิษของเชื้อโรคมาทํา
ใหหมดฤทธิ์ไป แตยังสามารถกระตุนภูมิคุมกันได ใชสําหรับโรคติดเชื้อที่เกิดจากพิษของเชื้อ เชน โรค
คอตีบ และโรคบาดทะยัก
2. วัคซีนชนิดเชื้อตาย (Killed vaccine) เปนวัคซีนที่ผลิตขึ้นโดยใชเชื้อโรคทั้งตัวที่ตายแลว
หรือเฉพาะสวนประกอบบางสวนของเชื้อโรคหรือโปรตีนสวนประกอบของเชื้อที่ผลิตขึ้นมาใหม เชน
วัคซีนตับอักเสบบี วัคซีนไอกรน วัคซีนไขสมองอักเสบเจอี วัคซีนโปลิโอชนิดฉีด และวัคซีนไขหวัดใหญ
เปนตน
3. วัคซีนชนิดเชื้อเปน (Live vaccine) เปนวัคซีนที่ผลิตขึ้นโดยใชเชื้อโรคมาทําใหออนฤทธิ์ลง
จนไมสามารถทําใหเกิดโรคแตเพียงพอที่จะกระตุนภูมิคุมกันของรางกายได เชน วัคซีนหัด-หัด
เยอรมัน-คางทูม วัคซีนอีสุกอีใส วัคซีนโปลิโอชนิดกิน วัคซีนไวรัสโรตา และวัคซีนไขหวัดใหญชนิดพ
นจมูก เปนตน
แผนการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของประเทศไทย
แผนการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของประเทศไทย แบงลักษณะการใหวัคซีนเปน 4 แบบไดแก
1. วัคซีนพื้นฐาน
วัคซีนพื้นฐาน (Compulsory vaccines) คือวัคซีนที่ไดรับการบรรจุในแผนสรางเสริม
ภูมิคุมกันโรคของประเทศ แนะนําใหใชในเด็กไทยทุกคน ไดแก วัคซีนบีซีจี วัคซีนตับอักเสบบี วัคซีน
คอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน วัคซีนโปลิโอชนิดกิน วัคซีนหัด-หัดเยอรมัน-คางทูม และวัคซีนไขสมอง
อักเสบเจอี
2. วัคซีนเสริมหรือวัคซีนเผื่อเลือก
วัคซีนเสริมหรือวัคซีนเผื่อเลือก (Optional vaccines) เปนวัคซีนที่มีประโยชนแตโรคที่ป
องกันไดดวยวัคซีนเหลานี้ยังไมมีความสําคัญดานสาธารณสุขในลําดับตน ๆ รวมทั้งวัคซีนกลุมนี้มีราคา
สูง ยังไมสามารถจัดใหใชกับเด็กทั้งประเทศได ผูที่ตองการฉีดตองเสียคาใชจายเอง ไดแก วัคซีนตับ
อักเสบเอ วัคซีนอีสุกอีใส วัคซีนฮิบ วัคซีนนิวโมคอคคัสชนิดคอนจูเกต วัคซีนโรตา และวัคซีนเอชพีวี
นอกจากนี้วัคซีนเสริมยังหมายรวมถึงวัคซีนพื้นฐานที่ไดรับการพัฒนาเพื่อใหมีผลขางเคียงลดลง ซึ่ง
นิยมใชในประเทศพัฒนาแลว เชน วัคซีนโปลิโอชนิดฉีด และวัคซีนไอกรนชนิดไรเซลล
3. วัคซีนที่ใชในกรณีพิเศษ
วัคซีนที่ใชในกรณีพิเศษ (Vaccines in special circumstances) คือวัคซีนที่มีขอบงชี้
ชัดเจน เพื่อใชในกลุมที่มีความเสี่ยงสูงตอการเกิดโรคหรือหากเกิดโรคอาจมีอาการและภาวะแทรก
ซอนที่รุนแรง เชน วัคซีนนิวโมคอคคัสสําหรับผูปวยโดนตัดมาม วัคซีนไขหวัดใหญสําหรับผูปวย
โรคหัวใจ โรคปอดเรื้อรัง และผูสูงอายุ วัคซีนพิษสุนัขบาสําหรับผูที่ถูกสัตวกัด วัคซีนทัยฟอยด
สําหรับผูที่จะเดินทางไปยังพื้นที่ซึ่งมีการระบาดของโรค วัคซีนไขกาฬหลังแอนสําหรับผูที่จะเดินทาง
ไปยังประเทศทางตะวันออกกลาง เปนตน
4. วัคซีนที่กําลังอยูระหวางการวิจัยและพัฒนา
วัคซีนที่กําลังอยูระหวางการวิจัยและพัฒนา (Investigational vaccines) คือวัคซีนที่มี
ความสําคัญในการปองกันโรคที่กําลังเปนปญหาในหลายประเทศ และอยูในขั้นตอนของการวิจัย การ
ผลิต หรืออยูระหวางการทดลองในอาสาสมัคร เชน วัคซีนไขเลือดออก วัคซีนมาลาเรีย วัคซีนเอดส
เปนตน
วัคซีนพื้นฐาน
กระทรวงสาธารณสุขไดกําหนดวัคซีนพื้นฐานที่เด็กไทยทุกคนควรไดรับ โดยเนนวัคซีนปองกัน
โรคที่เปนปญหาสําคัญ ซึ่งในปจจุบันประกอบดวยวัคซีนปองกันวัณโรค คอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน
โปลิโอ ตับอักเสบบี หัด-คางทูม-หัดเยอรมัน และไขสมองอักเสบเจอี โดยกระทรวงสาธารณสุขทํา
หนาที่จัดหาและจัดระบบบริการเพื่อใหเด็กทุกคนในประเทศไดรับวัคซีนตามกําหนด
1. วัคซีนพื้นฐานที่กําหนดใหในแตละชวงวัย
ตารางแสดง วัคซีนพื้นฐานที่ใหในชวงอายุตาง ๆ
ชื่อวัคซีน จํานวนครั้งที่ให อายุที่ไดรับ
BCG 1 แรกเกิด
HB 3 แรกเกิด, 2 และ 6 เดือน
DTP 5 2, 4, 6, 18 เดือน และ 4-6 ป
**ชวงอายุ 2, 4 และ 6 เดือน อาจใหวัคซีนรวม DTP-HB แทน DTP
และ HB ชนิดแยก
OPV 5 2, 4, 6, 18 เดือน และ 4-6 ป
dT  12-16 ป (ป. 6) หลังจากนั้นกระตุนทุก 10 ป
 หญิงมีครรภ ถายังไมเคยไดรับวัคซีนในวัยเด็ก ใหฉีดตามกําหนด 0,
1, 6 เดือน และกระตุนทุก 10 ป
MMR 2 9-12 เดือน (ในกรณีที่ไมมีวัคซีน MMR ใหวัคซีนหัดแทน) และ
6-7 ป (ป. 1)
JE 3 18 เดือน (2 เข็มหางกัน 4 สัปดาห)
และ 2 ป 6 เดือน (1 ปหลังเข็มสอง)
ที่มา: ปรับปรุงจาก กุญกัญญา โชคไพบูลยกิจ และคณะ, 2550
หมายเหตุ: 1) วัคซีนทุกชนิดถาไมสามารถเริ่มใหตามกําหนดได ก็เริ่มใหทันทีที่พบครั้งแรก
2) วัคซีนที่ตองใหมากกวา 1 ครั้ง หากเด็กเคยไดรับวัคซีนมาบางแลว และไมมารับครั้ง
ตอไปตามกําหนดนัด ใหวัคซีนครั้งตอไปนั้นไดทันทีเมื่อพบเด็ก โดยไมตองเริ่มตนครั้งที่ 1 ใหม
3) หากมีบันทึกหลักฐานวาเคยไดรับ BCG มากอน ไมจําเปนตองใหซ้ํา แมจะไมมีแผลเปน
บริเวณที่ไดรับวัคซีน
การเวนระยะหางของวัคซีน อายุนอยที่สุดที่สามารถใหวัคซีนไดและระยะหางแตละโดสดัง
แสดงในตารางการใหวัคซีน ไมควรใหวัคซีนอายุนอยกวาที่แนะนําและเวนระยะหางสั้นกวาที่แนะนํา
เพราะจะมีผลตอการตอบสนองการสรางภูมิคุมกันที่อาจไมเพียงพอ ยกเวนบางกรณีที่ตองการใหมี
ภูมิคุมกันเร็ว เชน ตองเดินทางไปในพื้นที่ที่มีโรคชุกชุมหรือกรณีที่มีการระบาด เชน โรคหัดสามารถให
วัคซีนในเด็กอายุนอยกวา 6 เดือนได แตไมนับรวมอยูในโปรแกรมการใหวัคซีนปกติ
2. โรคติดตอที่สามารถปองกันไดดวยวัคซีนพื้นฐาน
โรคติดตอที่สามารถปองกันไดดวยวัคซีนพื้นฐาน ประกอบดวย 10 โรค ไดแก วัณโรค
(Tuberculosis) ตับอักเสบบี (Hepatitis B) คอตีบ (Diphtheria) ไอกรน (Pertussis) บาดทะยัก
(Tetanus) โปลิโอ (Polio) คางทูม (Mumps) หัด (Measles) หัดเยอรมัน (Rubella) และไขสมอง
อักเสบเจอี (Japanese encephalitis) อยางไรก็ตามการทราบถึงชนิดเชื้อโรค อาการและอาการ
แสดงที่พบบอย รวมถึงวิธีการติดตอและการแพรกระจายของเชื้อ ถือวาเปนความรูพื้นฐานที่จะ
เชื่อมโยงใหเกิดความตระหนักถึงความรุนแรงของโรค และเขาใจในความสําคัญของการใหบริการ
วัคซีนแตละชนิด โรคติดตอที่ปองกันไดดวยวัคซีนที่ประเทศไทยกําหนดใหมีการบริการสรางเสริม
ภูมิคุมกันโรคมีสาระสําคัญในแตละโรค สรุปไดดังนี้
2.1 วัณโรค มีสาเหตุจากแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis ทําใหผูปวยมี
อาการไอเรื้อรัง และมีเสมหะเปนเวลานาน เกิดจากการรับเชื้อที่อยูในน้ํามูก น้ําลาย เสมหะ หนอง
น้ําเหลือง อุจจาระ และปสสาวะของผูปวยที่ปนเปอนอยูในอากาศ พื้นดิน อาหาร เสื้อผา เครื่องใช
ของผูปวย โดยเชื้อเขาสูรางกายทางระบบหายใจเปนหลัก และทางอื่นๆ เชน บาดแผล หรือใชสิ่งของ
รวมกัน
Bacillus Calmette Guerin (BCG) vaccine สําหรับปองกันโรควัณโรค โดยวัคซีนที่มีจําหนายใน
ประเทศไทยเปนชนิดผงแหง ประกอบดวยเชื้อ BCG จํานวน 2-10 ลานตัวตอมิลลิลิตร การใหวัคซีนใหฉีดชั้น
ผิวหนัง (intradermal) ครั้งละ 0.1 ml. ในทุกอายุ ตําแหนงที่กําหนดใหฉีดคือ บริเวณกลามเนื้อตนแขน ไม
ควรฉีดบริเวณสะโพกเพราะดูแลรักษาผิวหนังหลังการฉีดไดยาก
2.2 โรคตับอักเสบบี มีสาเหตุจากเชื้อไวรัส Hepatitis ชนิดบี ซึ่งจะมีผลตอตับ ทารกที่
ติดเชื้อนี้อาจมีอาการเล็กนอย หรือไมมีอาการเลย อยางไรก็ตาม ทารกจะมีความเสี่ยงมากกวาผูใหญ
และอาจเปนพาหะของเชื้อไวรัสชนิดนี้ไดตลอดชีวิต พาหะจะทําใหเชื้อโรคถายทอดไปยังผูอื่นได การที่
รางกายมีเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบชนิดบี อาจทําใหเกิดโรคมะเร็ง หรือตับอักเสบไดในภายหลัง เชื้อโรค
ไวรัสตับอักเสบชนิดบีอยูในของเหลวในรางกาย เชน เลือด น้ําลาย น้ําอสุจิ เปนตน ทารกที่มีแมมีเชื้อ
มีความเสี่ยงสูงที่จะติดเชื้อในระหวางคลอด เชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดบีอาจเขาสูรางกายไดอีกโดยการ
สัมผัสของโลหิต การใชเข็มฉีดยารวมกัน การมีเพศสัมพันธ และการใชอุปกรณปนเปอนเชื้อโรคมาทิ่ม
แทงรางกาย เปนตน ไดมีการยืนยันแลววาการรับวัคซีนเปนวิธีที่ปลอดภัย และคุมคาเงินที่จะปองกัน
อันตรายจากโรคนี้ สําหรับผูติดเชื้อจะมีอาการออนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดเมื่อยตามตัว มีไข แนนทอง
ตาเหลืองตัวเหลือง ปสสาวะสีเขม
Hepatitis B (HB) vaccine สําหรับปองโรคตับอักเสบบี เปนวัคซีนชนิดน้ํา เตรียมจากโปรตีนผิวนอกของ
เชื้อไวรัสตับอักเสบบี (HBsAg) ขนาดที่ใชในเด็กแรกเกิดถึงวัยรุนใหวัคซีนครั้งละ 0.5 ml. เขากลามเนื้อ
vastus lateralis ในเด็กทารกหรือเด็กเล็ก หรือบริเวณกลามเนื้อ deltoid ในเด็กโต ในผูใหญใหวัคซีนครั้ง
ละ 1 ml. เขากลามเนื้อ deltoid
2.3 โรคคอตีบ มีสาเหตุจากแบคทีเรีย Corynebacterium diphtheriae ที่พบในปาก
คอและจมูกของผูที่ติดเชื้อ ทําใหมีอาการคลายหวัดในระยะแรก เจ็บคอ เบื่ออาหาร และไอเสียงกอง
สามารถพบเยื่อสีขาวปนเทาที่บริเวณทอนซิลและลิ้นไก โรคคอตีบอาจทําใหเนื้อเยื่อเติบโตทางดานใน
ของหลอดคอ ซึ่งยากตอการกลืนอาหาร หายใจ สารพิษจากเชื้อโรคอาจแพรกระจายไปไดทั่วรางกาย
โดยพิษนี้ทําใหเกิดอาการแทรกซอนที่รุนแรง เชน อัมพาต หรือหัวใจลมเหลว ผูปวยที่เปนโรคคอตีบ
ประมาณรอยละ 7 ตองเสียชีวิต โรคนี้ติดตอไดจากการรับเชื้อที่อยูในละอองเสมหะ น้ํามูก น้ําลาย
ของผูปวยเขาสูรางกายทางระบบหายใจ อาจไดรับเชื้อจากการใชภาชนะรวมกันได
2.4. โรคไอกรน มีสาเหตุจากแบคทีเรียที่ชื่อ Bordetella pertussis แพรกระจายโดย
การไอหรือจาม โรคไอกรนมีผลตอระบบหายใจ และอาจทําใหหายใจติดขัด มีการไอที่กระตุกอยาง
รุนแรง ในชวงการกระตุกเหลานั้น เด็กจะดูดอากาศมากจนเกิดเสียง “กรน” ที่ชัดเจน ผูปวยมีอาการ
น้ํามูกไหล แนนจมูก และไอถี่ ติดตอกันเปนชุด และมีเสียงวูป (whoop) ซึ่งทําใหผูปวยขาดอากาศ
หายใจและตายได โรคไอกรนเปนโรคที่รายแรงที่สุดตอเด็กที่มีอายุไมเกิน 12 เดือน ซึ่งมักตองเขา
รักษาตัวในโรงพยาบาล อาการแทรกซอนที่พบ เชน อาการเกร็ง ปอดอักเสบ ไมรูสึกตัว สมองอักเสบ
และสมองตายถาวร เด็กอายุนอยกวา 6 เดือนที่เปนโรคไอกรนจะตายในอัตรา 1 ตอ 200 คน การ
ติดตอของโรคเกิดจากการหายใจเอาละอองเสมหะ น้ํามูก น้ําลายของผูปวยเขาสูรางกาย
2.5. โรคบาดทะยัก มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย Clostridium tetani สาเหตุของการติด
เชื้อบาดทะยักมักเขาทางบาดแผลที่ปนเปอนเชื้อหรือสปอรของเชื้อ แตเนื่องจากเชื้อจะเจริญไดใน
สภาวะที่ไมมีออกซิเจน จึงมักพบในแผลที่มีการตายของเนื้อเยื่อหรือบาดแผลที่ลึก นอกจากนี้ยังพบใน
เด็กแรกเกิดที่มีการตัดสายสะดือดวยอุปกรณไมสะอาดและมารดาไมมีภูมิคุมกันตอพิษบาดทะยัก และ
เมื่อเชื้อเขาสูรางกายจะสรางสารพิษออกมา และแพรกระจายผานทางระบบไหลเวียนโลหิตและ
น้ําเหลืองเขาสูระบบประสาทสวนกลาง อาการที่สําคัญคือ กลามเนื้อแขนขาเกร็ง หลังแข็งและแอน
ถาอาการรุนแรงอาจชักและเสียชีวิต
วัคซีนบาดทะยัก ที่ใชในปจจุบันมีหลากหลายรูปแบบ ไดแก
(1) วัคซีนปองกันโรคบาดทะยักเดี่ยว (Tetanus toxiod; TT)
(2) วัคซีนผสม
 วัคซีนผสมบาดทะยัก คอตีบ ไดแก DT vaccine เปนวัคซีนปองกันโรคบาดทะยัก
และคอตีบสําหรับเด็กเล็ก และ dT vaccine เปนวัคซีนปองกันโรคบาดทะยัก และคอตีบสําหรับเด็กโตอายุ
7 ปขึ้นไปและผูใหญ ซึ่งมีความตางจาก DT ตรงที่ dT มีการลดขนาดของ diphtheria toxoid ในวัคซีนลง
เพื่อลดผลขางเคียง วัคซีนชนิดนี้เปนวัคซีนที่ใหสําหรับผูที่มีขอหามในการฉีดวัคซีนไอกรน
 วัคซีนผสมบาดทะยัก คอตีบ และไอกรน วัคซีนรวม DTP เปนวัคซีนที่ใชในการปองกัน
โรคคอตีบ บาดทะยัก และไอกรน โดยเปนวัคซีนผสมซึ่งมีวัคซีนสามชนิดรวมกันอยู เพื่อฉีดครั้งเดียวและ
ปองกันไดทั้ง 3 โรค ไดแก
DTwP (Diphtheria, Tetanus, whole cell Pertussis vaccines)
DTaP (Diphtheria, Tetanus, acellular Pertussis vaccines)
Tdap (Tetanus, reduced Diphtheria, acellular Pertussis vaccines)
การใหวัคซีน DTwP และ DTaP ใหครั้งละ 0.5 ml. ฉีดเขากลามเนื้อ vastus lateralis
ในเด็กเล็ก สําหรับ Tdap ใหครั้งละ 0.5 ml. เขากลามเนื้อ deltoid ในเด็กอายุมากกวา 7 ปและผูใหญ
2.6. โรคโปลิโอ มีสาเหตุจาก Polio virus โรคโปลิโออาจทําใหเกิดอาการที่ไมรุนแรงหรือ
รุนแรงก็ได เกิดจากเชื้อไวรัสในกระเพาะอาหารและลําไส อาการที่สําคัญ คือ ไข อาเจียน กลามเนื้อ
แข็งเกร็ง อาจมีผลตอระบบประสาท มีอาการอัมพาตกลามเนื้อแขนหรือขาลีบได หากเปนอัมพาตที่
กลามเนื้อกระบังลมผูปวยอาจเสียชีวิตได โรคนี้ติดตอโดยการรับเชื้อที่ปนเปอนมากับอุจจาระของผูป
วยเขาสูรางกายทางปาก ประมาณรอยละ 5 ของผูปวยโรคโปลิโอจะเสียชีวิต และประมาณรอยละ 50
ของผูรอดชีวิตจะเปนอัมพาตถาวร
Oral Polio Vaccine (OPV) และ Inactivated Polio Vaccine (IPV) วัคซีน OPV เปนวัคซีนที่เตรียม
จากเชื้อไวรัสโปลิโอที่ยังมีชีวิตอยูแตทําใหออนฤทธิ์ลงแลว และไมกอใหเกิดโรคในผูที่มีภูมิคุมกันปกติ ใหโดย
การรับประทาน ซึ่งเปนการเลียนแบบการติดเชื้อโรคนี้ตามธรรมชาติ โดยใหครั้งละ 0.1-0.5 ml (2-3 หยด
แลวแตบริษัทผูผลิต) สวน IPV เปนวัคซีนที่ทําจากเชื้อไวรัสโปลิโอที่ตายแลว สามารถใหในคนที่มีภูมิคุมกัน
บกพรองได ใหโดยการฉีดเขากลามเนื้อตนขา (vastus lateralis) สําหรับเด็กเล็ก และกลามเนื้อตนแขน
(deltoid) สําหรับเด็กโต
2.7. โรคคางทูม มีสาเหตุจาก Mumps virus ทําใหมีไข ปวดศีรษะ และติดเชื้อในตอม
น้ําลาย ทําใหตอมน้ําลายบริเวณใตคางบวมโต และอาจแพรกระจายไปสูอวัยวะอื่นได วัยรุนหรือ
ผูใหญชายประมาณ 1 ใน 5 ที่ติดเชื้อโรคคางทูม อาจเกิดอาการอักเสบและปวดบวมของอัณฑะ ซึ่ง
อาจทําใหเปนหมันได โรคนี้ติดตอจากการหายใจเอาละอองน้ําลายของผู ปวยเขาสูรางกาย หรือ
รับประทานอาหารรวมกับผูปวยโดยใชภาชนะรวมกัน
2.8. โรคหัด มีสาเหตุจาก Measles virus อาการเดนของโรคคือ ไข มีผื่นแดงขึ้นทั่วราง
กาย คัดจมูก ไอ อาการแทรกซอนจากโรคหัดอาจเปนอันตรายมาก และเกิดโรคปอดบวมไดประมาณ
รอยละ 4 ของกลุมคนไขทั้งหมด อาจเกิดอาการเยื่อหุมสมองอักเสบจนทําใหเสียชีวิตได เกิดจากการ
รับเชื้อโดยหายใจเอาละอองเสมหะ น้ํามูก น้ําลายของผูปวยอื่นเขาสูรางกาย
2.9. โรคหัดเยอรมัน มีสาเหตุจาก Rubella virus มักเปนโรคที่มีความรุนแรงนอยใน
กลุมเด็ก แตมีผลตอวัยรุนและผูใหญดวย ผูติดเชื้อจะมีอาการที่สําคัญ คือ มีไขเล็กนอย ปวดขอ มีผื่น
ขึ้นทั่วตัวคลายโรคหัด แตตอมน้ําเหลืองที่หลังหู ทายทอย และดานหลังลําคอโตดวย มีอาการ 2 ถึง 3
วัน คนไขมักฟนตัวจากโรคหัดเยอรมันไดโดยเร็ว สิ่งที่เปนอันตรายมากที่สุดจากโรคหัดเยอรมันคือ
หากติดเชื้อในระหวางตั้งครรภ ทารกที่คลอดออกมาจะมีความพิการรุนแรง อาจเกิดอาการหูหนวก ตา
บอด หัวใจพิการแตกําเนิด โรคนี้ติดตอกันไดงาย การติดเชื้อเกิดจากการหายใจเอาละอองเสมหะ
น้ํามูก น้ําลายของผูปวยเขาสูรางกาย วิธีปองกันแมและเด็กจากโรคหัดเยอรมันคือ ใหแมรับวัคซีนกอน
ตั้งครรภ และสรางภูมิตานทานแกเด็กทุกคนเพื่อยับยั้งการแพรเชื้อ
Measles Mumps and Rubella (MMR) Vaccine สําหรับปองกันโรคหัด คางทูม และหัดเยอรมัน ซึ่ง
เปนวัคซีนมีชีวิต ชนิดผงแหง ซึ่งตองละลายในตัวทําละลายตามคําแนะนําของบริษัทผูผลิต ขนาดบรรจุขวด
ละ 1 dose พรอมดวยตัวทําละลาย 1 ขวด ปริมาณ 0.5 ml. ใชฉีดเขาชั้นใตผิวหนัง (subcutaneous)
บริเวณตนขา (vastus lateralis) สําหรับเด็กเล็ก และตนแขน (deltoid) สําหรับเด็กโต
2.10. โรคไขสมองอักเสบเจอี มีสาเหตุจาก Japanese B encephalitis virus อาการที่
สําคัญคือ เยื่อหุมสมองอักเสบ ผูปวยไมรูสึกตัว ชักเกร็ง อาจเสียชีวิตได โรคนี้มีแหลงรังโรคในสัตว
หลายชนิด เชน หมู วัว ควาย มา โดยมียุงรําคาญเปนพาหะที่สําคัญที่นําเชื้อติดตอมายังคน ยุงเหลานี้
มักเพาะพันธุในทุงนาที่มีน้ําเจิ่งนอง และตามแหลงน้ําขังทั่วไป
Japanese Encephalitis (JE) Vaccine สําหรับปองกันโรคไขสมองอักเสบเจอี ซึ่งเปนวัคซีนชนิดเชื้อตาย
ใหโดยการฉีดวัคซีนเขาชั้นใตผิวหนัง (subcutaneous) ขนาดที่ฉีดสําหรับเด็กอายุต่ํากวา 3 ป ใหฉีดครึ่ง
dose คือ 0.25 ml. (สําหรับสายพันธุ Beijing) หรือ 0.5 ml. (สําหรับสายพันธุ Nakayama) และสําหรับ
เด็กอายุมากกวา 3 ปจนถึงผูใหญใหฉีดเต็ม dose บริเวณที่ฉีดคือบริเวณตนขา (vastus lateralis) สําหรับ
เด็กเล็ก และตนแขน (deltoid) สําหรับเด็กโตและผูใหญ
3. การเก็บรักษาวัคซีน
การเก็บรักษาวัคซีน ควรเก็บในที่อุณหภูมิที่เหมาะสม โดยการควบคุมอุณหภูมิในการเก็บ
และในการเคลื่อนยายวัคซีนทุกครั้ง ควรมีการเช็คอุณหภูมิในการเก็บวัคซีน ตูเย็นควรมีเทอรโมมิเตอร
รายงานอุณหภูมิปจจุบัน อุณหภูมิต่ําสุดและสูงสุด หลักการเก็บวัคซีนโดยทั่วไปมีดังนี้
3.1 ตัวทําละลายไมควรเก็บในชองแชแข็ง โดยทั่วไปเก็บที่อุณหภูมิหอง หรือในตูเย็น
3.2. วัคซีนควรผสมแลวใชทันทีและไมควรนํามาใช ถามีการผสมแลวทิ้งไวนานกวา
คําแนะนํา
3.3. วัคซีนชนิดเชื้อมีชีวิต ไดแก วัคซีนหัด-หัดเยอรมัน-คางทูม วัคซีนอีสุกอีใส ไมควรถูก
แสง เพราะจะทําใหเชื้อในวัคซีนตายได
3.4. วัคซีนสวนใหญมีลักษณะภายนอกมองดูคลายกัน ดังนั้นไมควรดูดวัคซีนหลาย ๆ
ชนิดใสกระบอกฉีดยาทิ้งไวเพราะอาจทําใหฉีดผิดได ยกเวนจะเปนการใหวัคซีนชนิดเดียวในคนหลายๆ
คนพรอมกัน เชน การรณรงคใหวัคซีนปองกันไขหวัดใหญ เมื่อดูดวัคซีนใสหลอดฉีดยาควรจะเขียนชื่อ
วัคซีน lot number กํากับไว
3.5. วัคซีนที่บรรจุมากกวาหนึ่งโดสตอหนึ่งขวด หลังฉีดวัคซีนถามีวัคซีนเหลือในขวด
หากเก็บถูกวิธีและไมมีการปนเปอนเชื้อสามารถเก็บไวใหครั้งตอไปได จนกวาวัคซีนจะหมดอายุ หรือ
ตามเอกสารกํากับของบริษัท
4. วิธีการบริหารวัคซีน
วิธีการบริหารวัคซีนขึ้นอยูกับชนิดของวัคซีนและชวงอายุที่ให การใหวัคซีนทุกครั้งตองทํา
การบันทึกชื่อวัคซีนในสมุดฉีดวัคซีน บริษัท lot number วันหมดอายุของวัคซีน รวมทั้งวันที่ใหวัคซีน
และชื่อผูใหวัคซีน การใหตองใหแบบปราศจากเชื้อ โดยทั่วไปถาใหถูกวิธีอยางระมัดระวังโอกาสติดเชื้อ
จากการฉีดวัคซีนมีนอยมาก การใหดวยวิธีไมปราศจากเชื้อจะทําใหเกิดการติดเชื้อแบคทีเรียในกระแส
เลือดและเกิดฝบริเวณที่ฉีด วิธีการบริหารวัคซีนที่สําคัญมี 5 วิธีไดแก
4.1. การรับประทาน (Oral route) วิธีนี้ทําใหมีภูมิคุมกันในกระแสเลือดและลําไส เชน
วัคซีนโปลิโอชนิดหยอด วัคซีนทัยฟอยดชนิดรับประทาน และวัคซีนไวรัสโรตา
4.2. การพนทางจมูก (Inhalation route) ทําใหมีภูมิคุมกันในกระแสเลือดและทางเดิน
หายใจ ไดแก วัคซีนไขหวัดใหญชนิดพนจมูก
4.3. การฉีดเขาชั้นผิวหนัง (Intradermal) โดยฉีดเขาในชั้นผิวหนัง ใหเปนตุมนูนขึ้น การ
ฉีดวิธีนี้ทําใหแอนติเจนเขาไปทางระบบน้ําเหลืองไดดี สามารถกระตุนภูมิคุมกันชนิดพึ่งเซลล (cell
mediated immune response) และใชปริมาณวัคซีนนอย แตผูฉีดตองมีความชํานาญในการฉีด
เชน วัคซีนบีซีจี วัคซีนพิษสุนัขบา
4.4. การฉีดเขาใตผิวหนัง (Subcutaneous) ใชสําหรับวัคซีนที่ไมตองการใหดูดซึมเร็ว
มาก และเปนวัคซีนที่ไมมี adjuvant เชน วัคซีนหัด-หัดเยอรมัน-คางทูม
4.5. การฉีดเขาชั้นกลามเนื้อ (Intramuscular) ใชสําหรับวัคซีนที่ตองการใหดูดซึมเร็ว
การฉีดเขากลามเนื้อควรฉีดบริเวณกลามเนื้อตนขา (Vastus lateralis) สําหรับเด็กเล็ก หรือกลามเนื้อ
ตนแขน (Deltoid) สําหรับเด็กโตและผูใหญ ไมควรฉีดที่กลามเนื้อสะโพก เนื่องจากกลามเนื้อตนขา
และตนแขนมีเลือดมาหลอเลี้ยงมาก มีการเคลื่อนไหวมาก และยังเปนบริเวณที่มีปริมาณไขมันนอย จึง
มีความสามารถในการดูดซึมไดรวดเร็ว ทําใหรางกายสรางภูมิคุมกันไดดีกวา
5. ขอแนะนําทั่วไปเกี่ยวกับวัคซีน
5.1 หากผูที่รับการฉีดวัคซีนมีไขสูงควรเลื่อนการฉีดวัคซีนออกไป แตถาเปนการเจ็บปวย
เล็กนอย เชน เปนหวัด น้ํามูกไหลโดยไมมีไข สามารถใหวัคซีนตามปกติได
5.2 ผูที่มีประวัติไดรับอิมมูโนโกลบุลิน (Immunoglobulin) หรือผลิตภัณฑที่มีสวน
ประกอบของแอนติบอดี (Antibody) รวมทั้งเลือดและผลิตภัณฑของเลือดในระยะเวลาไมนาน หาก
ตองการรับวัคซีนชนิดเชื้อเปนที่มีสวนประกอบของวัคซีนหัดหรืออีสุกอีใส ควรเลื่อนการฉีดวัคซีนออก
ไปกอนเนื่องจากวัคซีนอาจไมไดผล ทั้งนี้ระยะเวลาที่ควรเลื่อนขึ้นอยูกับชนิดและขนาดของผลิตภัณฑ
ของเลือดหรืออิมมูนโกลบุลินที่ไดรับ
5.3 หากแพวัคซีนหรือสวนประกอบของวัคซีน ควรหลีกเลี่ยงการใหวัคซีนชนิดนั้น ๆ ผูที่
แพไขชนิดรุนแรงไมควรใหวัคซีนที่ผลิตจากไข เชน วัคซีนไขหวัดใหญ แตสามารถใหวัคซีนหัดได
เนื่องจากในวัคซีนมีปริมาณของไขอยูนอย
5.4 ควรอธิบายใหผูปกครองหรือผูปวยทราบวาจะฉีดวัคซีนปองกันโรคอะไร และอาจ
เกิดปฏิกิริยาใดบางหลังฉีด
5.5 ตองทําการบันทึกชื่อวัคซีนในสมุดฉีดวัคซีนทุกครั้งที่ใหวัคซีน และควรบันทึกชื่อ
วัคซีนเปนภาษาที่เขาใจงาย ควรแนะนําผูปกครองใหเก็บสมุดบันทึกวัคซีนไวจนเด็กโตเปนผูใหญ เพื่อ
เปนประโยชนในการประเมินภูมิคุมกันตอโรคได
5.6 ไมควรใหวัคซีนเชื้อเปนในหญิงตั้งครรภ
5.7 ผูหญิงที่ไดรับวัคซีนชนิดเชื้อเปน ควรคุมกําเนิดหลังไดรับวัคซีนนาน 1 เดือน
5.8 วัคซีนสวนใหญควรเก็บในตูเย็น วัคซีนเชื้อเปนที่อยูในสภาพผงแหงแข็ง ควรเก็บไวใน
ตูแชแข็ง
5.9 ทารกที่คลอดกอนกําหนดสามารถรับวัคซีนไดตามปกติ ยกเวนกรณีที่น้ําหนักตัว
นอยกวา 2,000 กรัม ควรใหวัคซีนตับอักเสบบีซ้ําอีกครั้งเมื่อน้ําหนักตัวมากกวา 2,000 กรัม หรืออายุ
1-2 เดือน และฉีดใหครบสามครั้ง โดยไมนับการฉีดเมื่อแรกคลอด
5.10 การใหวัคซีนในผูปวยที่มีภูมิคุมกันบกพรองอาจไดผลไมดี แตอาจมีประโยชน
มากกวาไมใหซึ่งตองเสี่ยงจากการเกิดโรคตามธรรมชาติซึ่งอาจรุนแรง และไมควรใหวัคซีนมีชีวิตเพราะ
อาจเกิดปฏิกิริยารุนแรง
5.11 ผูที่ไดรับยาสเตียรอยดขนาดสูงและเปนเวลานาน ไมควรใหวัคซีนเชื้อเปนจนกวาจะ
หยุดใชยาแลวระยะหนึ่ง
5.12 การใหวัคซีนหลังสัมผัสโรคแลวในผูปวยที่ไมมีภูมิคุมกันมากอน อาจชวยปองกันโรค
ไดในกรณีสัมผัสโรคบางชนิด เชน หัด ตับอักเสบเอ อีสุกอีใส แตควรใหวัคซีนในระยะเวลาสั้นที่สุด
หลังสัมผัสโรค โดยระยะเวลาหลังสัมผัสโรคที่วัคซีนจะมีประสิทธิภาพขึ้นอยูกับวัคซีนแตละชนิด
5.13 โดยทั่วไปวัคซีนชนิดเดียวกันมีปริมาณและสวนประกอบเหมือนกัน เชน ตับอักเสบ
บี คอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน ชนิดทั้งเซลล ที่ผลิตจากตางบริษัทสามารถนํามาใชทดแทนกันไดในการ
ใหวัคซีนครั้งถัดไป แตวัคซีนที่สวนประกอบของแตละผูผลิตมีความตางกัน ไมควรใชแทนกัน อยางไรก็
ดีหากไมสามารถหาวัคซีนชนิดเดิมได ใหใชตางบริษัทไดเพราะประโยชนจากการไดรับวัคซีนมีมากกวา
ความกังวลในเรื่องความตางกันของวัคซีน
5.14 กรณีที่มีการใหวัคซีนซ้ํา เนื่องจากไมมั่นใจวาเคยไดรับวัคซีนมากอนหรือไม
โดยทั่วไปไมมีอันตรายรุนแรง แตอาจมีปฏิกิริยาตอวัคซีนเพิ่มขึ้นไดและเปนการสิ้นเปลือง
5.15 โดยทั่วไปการตรวจเลือดกอนและหลังรับวัคซีนไมมีความจําเปน ยกเวนกรณีที่
วัคซีนมีราคาแพงและผูจะรับวัคซีนอาจเคยเปนโรคมากอน แนะนําใหตรวจเลือดหากคาใชจายไมสูง
จนเกินไป สําหรับการตรวจเลือดหลังรับวัคซีนอาจมีความจําเปนในบางกรณี เชน เด็กที่คลอดจาก
มารดาซึ่งเปนพาหะของไวรัสตับอักเสบบี
5.16 น้ําหนักตัวไมไดเปนตัวกําหนดขนาดของวัคซีนที่ใชทั้งในเด็กและผูใหญ แตจะใช
อายุเปนตัวกําหนด
5.17 การใหวัคซีนทิ้งชวงหางกันเกินไปกวาที่กําหนด ไมไดทําใหภูมิคุมกันต่ําลง แตหาก
ระยะหางของวัคซีนใกลกันเกินไปอาจทําใหภูมิคุมกันต่ํากวาที่ควรจะเปน กรณีไมไดมารับวัคซีนตาม
กําหนด ไมจําเปนตองเริ่มตนใหม ไมวาจะเวนชวงหางไปนานเทาใด ใหนับตอจากวัคซีนครั้งกอนได
5.18 วัคซีนแตละเข็มควรฉีดคนละตําแหนง และไมควรนําวัคซีนตางชนิดมาผสมกันเพื่อ
ฉีดครั้งเดียว ยกเวนมีขอมูลที่ไดศึกษามาแลววาสามารถทําได
5.19 วัคซีนเชื้อเปนสามารถใหพรอมกันหลายชนิดในวันเดียวกัน แตหากจะใหไมพรอม
กัน ควร เวนระยะเวลาใหหางกันอยางนอย 1 เดือน สําหรับวัคซีนเชื้อตายจะใหหางกันนานเทาใดก็ได
อาการขางเคียง และแนวทางการดูแลตนเอง
หลังจากการใหวัคซีนควรใหคําแนะนําเพื่อสังเกตความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นจากผลขางเคียง
ของวัคซีน โดยปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นนอกเหนือจากที่เด็กจะมีอาการงอแงจากความไมสุขสบายแลว ยังมี
ทั้งปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local reaction) และปฏิกิริยาทั่วรางกาย (Systemic reaction) ทั้ง
ชนิดไมรุนแรงและชนิดรุนแรง ดังนี้
1. ปฏิกิริยาเฉพาะที่
ปฏิกิริยาเฉพาะที่ เปนอาการและอาการแสดงเฉพาะที่ในบริเวณที่ฉีดวัคซีน ไดแก อาการ
บวม แดง ปวด หรือคันบริเวณที่ฉีดวัคซีน อาจมีเลือดออกซึมเล็กนอย และหายไดในระยะเวลาอันสั้น
อาการเหลานี้จะหายไปไดเอง การดูแลตนเองโดยทั่วไป เชน ไมแนะนําใหสัมผัส กดแรง คลึง หรือ
นวดบริเวณที่ฉีดวัคซีน ดูแลความสะอาดบริเวณที่ฉีด สังเกตอาการวามีอาการปวด บวม แดง รอนบริ
เวณที่ฉีดหรือไม หรือมีลักษณะผิดปกติใด ๆ เชน มีเลือดออกมา มีอาการไขสูงมากใหรีบมาพบแพทย
สามารถประคบเย็นเพื่อลดอาการปวดได หรือรับประทานยาแกปวดลดไข หากมีไขรวมดวยใหเช็ดตัว
ลดไขหรืออาจใหยาลดไขรวมดวย
2. ปฏิกิริยาทั่วรางกาย
ปฏิกิริยาทั่วรางกาย อาจมีอาการและอาการแสดงชนิดไมรุนแรง เชน มีไขสูงมากกวา 39
องศาเซลเลียส ซึม เบื่ออาหาร รองกวน อาเจียน หรือมีผื่นขึ้นตามตัว การดูแลเบื้องตน ไดแก เช็ดตัว
ลดไขหรือใหยาลดไขรวมดวย ใหเด็กดื่มน้ําหรือดื่มนมใหมาก ๆ สังเกตอาการผิดปกติที่แสดงถึง
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นทั้งระบบชนิดรุนแรง คือ อาการแพแบบอะนาไฟแลคซิส (Anaphylaxis) เชน
หายใจลําบาก หายใจมีเสียงวี๊ด มีผื่นขึ้นทั้งตัว มือ เทา หนา ปากบวม หรือมีอาการผิดปกติทางสมอง
เชน ซึม ออนแรง ภาวะรูสติเปลี่ยนแปลง มีอาการชัก หากพบอาการผิดปกติชนิดรุนแรงใหพามาพบ
แพทยโดยทันที หรือหากพบอาการเบื้องตนเปนอาการและอาการแสดงชนิดไมรุนแรง แตเมื่อใหการ
ดูแลแลวอาการไมดีขึ้นและมีอาการแสดงที่ดูเหมือนเด็กแยลง ใหพามาโรงพยาบาลทันที
ตารางแสดง ปฏิกิริยาขางเคียงที่จําเพาะตามชนิดของวัคซีน
วัคซีน ปฏิกิริยาขางเคียง หมายเหตุ
1. Bacillus Calmette
Guerin (BCG)
1. ปฏิกิริยาเฉพาะที่ : เปนฝในชั้นใต
ผิวหนัง ตอมน้ําเหลืองโตเฉพาะที่
- แผลที่เกิดจาก BCG อาจเปนฝ
ขนาดเล็กอยูไดนาน 3-4 สัปดาห
ไมตองใสยาหรือปดแผล ใหเช็ด
ดวยสําลีชุบน้ําสะอาด
- หากตอมน้ําเหลืองใกลตําแหนง
ที่ฉีด BCG มีขนาดใหญมาก หรือ
เปนฝอาจให INH รักษา 2-3
เดือน หรือทําการเจาะดูดหนอง
ออกในกรณีที่มีขนาดใหญ
มากกวา 3 ซม.
วัคซีน ปฏิกิริยาขางเคียง หมายเหตุ
2. Hepatitis B (HB) 1. ปฏิกิริยาเฉพาะที่ : ปวด บวม แดง
2. ปฏิกิริยาทั่วรางกาย : ไข
3. อาการแพ : Anaphylaxis
- ใหประคบเย็นภายใน 24
ชั่วโมงแรก เพื่อลดอาการปวด
บวม แดง หากมีไขดูแลเช็ดตัว
ลดไข หรือใหรับประทานยาลด
ไขรวมดวย
- สังเกตอาการแพยา
3. Diphtheria, Tetanus,
Pertussis (DTP)
1. ปฏิกิริยาเฉพาะที่ : ฝ ปวด บวมแดง
ตําแหนงที่ฉีด
2. ปฏิกิริยาทั่วรางกาย : ไข ชัก ซึม
คลื่นไส อาเจียน
3. อาการแพ : Anaphylaxis
- วัคซีนไอกรนชนิดไรเซลลทําให
เกิดผลขางเคียงไดเชนเดียวกับ
ชนิดเต็มเซลลแตพบในอัตราที่
นอยกวา
- ใหประคบเย็นภายใน 24
ชั่วโมงแรก เพื่อลดอาการปวด
บวม แดง หากมีไขดูแลเช็ดตัว
ลดไข หรือใหรับประทานยาลด
ไขรวมดวย
- สังเกตอาการแพยา
4. Polio, live attenuate
(OPV)
Vaccine-associated paralytic
poliomyelitis (VAPP) อาจเกิดไดกับ
ผูรับวัคซีนและผูสัมผัส โดยสวนใหญจะ
พบในการใชยาครั้งแรก
-
5. Polio, inactivated (IPV) ไมมีรายงานการเกิดผลขางเคียงที่รุนแรง -
6. Measles, Mumps,
Rubella (MMR)
1. ปฏิกิริยาทั่วรางกาย : ไข ผื่น ในวันที่
5-12 หลังฉีดวัคซีน
2. อาการแพ : พบไดนอยและมักไม
รุนแรง อาจพบผื่นลมพิษตรงตําแหนงที่
ฉีดวัคซีน
- ผูที่แพไขถึงแมจะแพแบบ
รุนแรงสามารถใหวัคซีน MMR
ไดเพราะมีโอกาสเกิดปฏิกิริยา
ต่ํา ดังนั้นจึงแนะนําใหวัคซีนได
เลย โดยสังเกตอาการหลังให
วัคซีนอยางนอย 30 นาที
- หากมีไขดูแลเช็ดตัวลดไข หรือ
ใหรับประทานยาลดไขรวมดวย
- สังเกตอาการแพยา
7. Japanese Encephalitis, 1. ปฏิกิริยาเฉพาะที่ : ปวด บวม - สังเกตอาการแพยา อาจพบ
วัคซีน ปฏิกิริยาขางเคียง หมายเหตุ
Inactivated (JE) เฉพาะที่ (พบนอย)
2. ปฏิกิริยาทั่วรางกาย : ไข ปวดศีรษะ
คลื่นไส อาเจียน (พบนอย)
3. อาการแพ : ลมพิษ
ปฏิกิริยาแพไดนานถึง 2
สัปดาหหลังฉีด
สรุป
การใหวัคซีนเปนการกระตุนใหรางกายสรางภูมิคุมกัน สําหรับในประเทศไทยไดกําหนดวัคซีน
พื้นฐานที่เด็กทุกคนจําเปนตองไดรับจํานวน 6 ชนิด ซึ่งมีวิธีการบริหารวัคซีนทั้งโดยการฉีด และการ
รับประทาน การรับวัคซีนครบการเกณฑจะทําใหสามารถปองกันโรคติดเชื้อที่กอใหเกิดอันตรายรุน
แรงในเด็กได บุคลากรสาธารณสุขจึงมีบทบาทสําคัญในการสงเสริมใหผูปกครองพาบุตรหลานมารับ
วัคซีนตามวัยใหครบ รวมถึงการใหคําแนะนําในการปฏิบัติตัวเมื่อเกิดผลขางเคียงภายหลังรับวัคซีนได
คําถามทบทวน
1. จงอธิบายความหมายของคําวาวัคซีน
2. จงอธิบายความแตกตางระหวางวัคซีน และเซรุม
3. วัคซีนพื้นฐานมีจํานวนกี่ชนิด อะไรบาง
4. วัคซีน DTP ใชในการกระตุนภูมิคุมกันเพื่อปองกันโรคใด
5. วัคซีนพื้นฐานชนิดใดที่ใหโดยการรับประทาน
6. อาการไข เปนผลขางเคียงที่สําคัญจากวัคซีนชนิดใด
7. ภายหลังไดรับวัคซีน พบวามีอาการปวด บวมแดงบริเวณที่ฉีด จะใหคําแนะนําในการ
ปฏิบัติตนอยางไร
เอกสารอางอิง
กุญกัญญา โชคไพบูลยกิจ และคณะ. 2550. ตําราวัคซีน และการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค.
กรุงเทพฯ : สํานักงานกิจการโรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก.
โครงการสรางภูมิตานทานแหงชาติ. 2548. การรับวัคซีนเพื่อสรางระบบภูมิตานทาน. พิมพครั้งที่ 5.
กรุงเทพฯ : กรมสุขภาพและผูสูงอายุ.
ธนกฤต วิลาสมงคลชัย. 2556. โรคบาดทะยัก และวัคซีนปองกันโรคบาดทะยัก. วารสารเพื่อการวิจัย
และพัฒนาองคการเภสัชกรรม. 20 (3) หนา 22-25.
อัญชลี ศิริพิทยาคุณกิจ และคณะ. 2555. หลักสูตรเชิงปฏิบัติการสําหรับเจาหนาที่สรางเสริม
ภูมิคุมกันโรค. พิมพครั้งที่ 2. นนทบุรี : เลคแอนดฟาวดเทน พริ้นติ้ง.
โอฬาร พรหมาลิขิต, อัจฉรา ตั้งสถาพรพงษ และอุษา ทิสยากร. 2554. วัคซีน. กรุงเทพฯ : นพชัยการ
พิมพ.

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..Prachaya Sriswang
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ ICwichudaice
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)Junee Sara
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาPa'rig Prig
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)BowBow580146
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใสDbeat Dong
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingVai2eene K
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุSiwaporn Khureerung
 

Mais procurados (20)

บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
 
Cpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usageCpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usage
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..ไข้เลือดอ..
ไข้เลือดอ..
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใส
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
 

Semelhante a บทที่ 7 วัคซีน

Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-polyAimmary
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3tassanee chaicharoen
 
[J cms] 429-leaflet pidst
[J cms] 429-leaflet pidst[J cms] 429-leaflet pidst
[J cms] 429-leaflet pidstWee Wii
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์Gawewat Dechaapinun
 
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อยคำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อยUtai Sukviwatsirikul
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zosterAimmary
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561Utai Sukviwatsirikul
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนPawat Logessathien
 
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...Utai Sukviwatsirikul
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf
009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf
009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdfSomchaiPt
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisBow Aya
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
การฉีดยาคุมกำเนิด
การฉีดยาคุมกำเนิดการฉีดยาคุมกำเนิด
การฉีดยาคุมกำเนิดSuppakuk Clash
 

Semelhante a บทที่ 7 วัคซีน (20)

Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
 
[J cms] 429-leaflet pidst
[J cms] 429-leaflet pidst[J cms] 429-leaflet pidst
[J cms] 429-leaflet pidst
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
 
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อยคำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
 
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...
 
Vis ipv
Vis ipvVis ipv
Vis ipv
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf
009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf
009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitis
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 
Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551
 
การฉีดยาคุมกำเนิด
การฉีดยาคุมกำเนิดการฉีดยาคุมกำเนิด
การฉีดยาคุมกำเนิด
 
Myofascialpain fibromyalgia
Myofascialpain fibromyalgiaMyofascialpain fibromyalgia
Myofascialpain fibromyalgia
 

Mais de Pa'rig Prig

ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินPa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาคPa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาคPa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลPa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตPa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพPa'rig Prig
 

Mais de Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

บทที่ 7 วัคซีน

  • 1. แผนบริหารการสอนบทที่ 7 หัวขอเนื้อหาประจําบท 1. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับระบบภูมิคุมกัน 2. แผนการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของประเทศไทย 3. วัคซีนพื้นฐาน 4. อาการขางเคียง และแนวทางการดูแลตนเอง วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม เมื่อนักศึกษาไดศึกษาจบบทที่ 7 แลว นักศึกษาควรมีความสามารถดังตอไปนี้ 1. อธิบายคําจัดความของวัคซีนได 2. อธิบายความแตกตางระหวางวัคซีน และการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคชนิดอื่นได 3. ระบุชนิดของวัคซีนพื้นฐาน รวมถึงแผนการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคได 4. บอกประโยชนของวัคซีนพื้นฐานแตละชนิดได 5. อธิบายวิธีการบริหารวัคซีนได 6. บอกผลขางเคียงที่สําคัญของวัคซีนพื้นฐานได 7. ใหคําแนะนําในการดูแลตนเองหลังไดรับวัคซีนได วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจําบทที่ 7 ประกอบดวยรายละเอียดดังนี้ 1. บรรยายตามเนื้อหา โดยใชโปรแกรมการนําเสนอ (power point) ประกอบคําอธิบาย 2. แสดงตัวอยางภาพการใหวัคซีน และใหนักศึกษาอภิปรายประเด็นเกี่ยวกับวิธีการใหวัคซีน อายุที่ควรไดรับวัคซีน 3. รวมกันสรุปประเด็นสําคัญของการเรียน 4. มอบหมายงานใหนักศึกษาประเด็นความรูเกี่ยวกับวัคซีนที่ถูกบรรจุไวในสมุดบันทึก สุขภาพแมและเด็ก สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา เภสัชวิทยาเบื้องตน บทที่ 7 วัคซีน 2. โปรแกรมนําเสนอ เรื่อง วัคซีน 3. สมุดบันทึกสุขภาพแมและเด็ก
  • 2. วิธีวัดผลและการประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมผูเรียน 1.1 พฤติกรรมความตรงตอเวลาในการเขาเรียน และการสงงานที่ไดรับมอบหมาย 1.2 พฤติกรรมการมีสวนรวมแสดงความคิดเห็นของผูเรียนในระหวางเรียน 1.3 พฤติกรรมการมีสวนรวมในการทํากิจกรรมกลุม 2. ประเมินผลงานที่มอบหมาย 2.1 ใบงาน
  • 3. บทที่ 7 วัคซีน ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับระบบภูมิคุมกัน ภูมิคุมกันในรางกายทําหนาที่เปนกลไกในการปองกันตนเอง และทําลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลก ปลอม ซึ่งวิธีการสรางภูมิคุมกันใหกับรางกาย มี 2 วิธีคือ การใหภูมิคุมกันชนิดสําเร็จรูปของคนหรือ สัตวที่มีอยูกอน หรืออิมมูนโกลบุลิน (Passive immunization) ซึ่งเมื่อใหเขาสูรางกาย ภูมิคุมกันนี้จะ สามารถออกฤทธิ์ตอตานเชื้อโรคไดทันที แตผลปองกันโรคใชไดในระยะเวลาที่ไมนาน และการให วัคซีนเพื่อกระตุนรางกายใหสรางภูมิคุมกัน (Active immunization) วิธีนี้อาจใชเวลาหลายสัปดาห หรือเปนเดือน ในการที่จะทําใหรางกายสามารถสรางระดับภูมิคุมกันไดเพียงพอในการปองกันโรค วัคซีน (Vaccine) เปนชีววัตถุหรือแอนติเจนที่ผลิตมาจากเชื้อโรค หรือพิษของเชื้อโรคที่ถูกทํา ใหไมสามารถกอโรคในคนได เพื่อกระตุนใหรางกายสรางภูมิคุมกันตอโรค สามารถจําแนกได 3 ประเภท ดังนี้ 1. วัคซีนประเภทท็อกซอยด (Toxoid) เปนวัคซีนที่ผลิตขึ้นโดยการนําพิษของเชื้อโรคมาทํา ใหหมดฤทธิ์ไป แตยังสามารถกระตุนภูมิคุมกันได ใชสําหรับโรคติดเชื้อที่เกิดจากพิษของเชื้อ เชน โรค คอตีบ และโรคบาดทะยัก 2. วัคซีนชนิดเชื้อตาย (Killed vaccine) เปนวัคซีนที่ผลิตขึ้นโดยใชเชื้อโรคทั้งตัวที่ตายแลว หรือเฉพาะสวนประกอบบางสวนของเชื้อโรคหรือโปรตีนสวนประกอบของเชื้อที่ผลิตขึ้นมาใหม เชน วัคซีนตับอักเสบบี วัคซีนไอกรน วัคซีนไขสมองอักเสบเจอี วัคซีนโปลิโอชนิดฉีด และวัคซีนไขหวัดใหญ เปนตน 3. วัคซีนชนิดเชื้อเปน (Live vaccine) เปนวัคซีนที่ผลิตขึ้นโดยใชเชื้อโรคมาทําใหออนฤทธิ์ลง จนไมสามารถทําใหเกิดโรคแตเพียงพอที่จะกระตุนภูมิคุมกันของรางกายได เชน วัคซีนหัด-หัด เยอรมัน-คางทูม วัคซีนอีสุกอีใส วัคซีนโปลิโอชนิดกิน วัคซีนไวรัสโรตา และวัคซีนไขหวัดใหญชนิดพ นจมูก เปนตน แผนการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของประเทศไทย แผนการสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของประเทศไทย แบงลักษณะการใหวัคซีนเปน 4 แบบไดแก
  • 4. 1. วัคซีนพื้นฐาน วัคซีนพื้นฐาน (Compulsory vaccines) คือวัคซีนที่ไดรับการบรรจุในแผนสรางเสริม ภูมิคุมกันโรคของประเทศ แนะนําใหใชในเด็กไทยทุกคน ไดแก วัคซีนบีซีจี วัคซีนตับอักเสบบี วัคซีน คอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน วัคซีนโปลิโอชนิดกิน วัคซีนหัด-หัดเยอรมัน-คางทูม และวัคซีนไขสมอง อักเสบเจอี 2. วัคซีนเสริมหรือวัคซีนเผื่อเลือก วัคซีนเสริมหรือวัคซีนเผื่อเลือก (Optional vaccines) เปนวัคซีนที่มีประโยชนแตโรคที่ป องกันไดดวยวัคซีนเหลานี้ยังไมมีความสําคัญดานสาธารณสุขในลําดับตน ๆ รวมทั้งวัคซีนกลุมนี้มีราคา สูง ยังไมสามารถจัดใหใชกับเด็กทั้งประเทศได ผูที่ตองการฉีดตองเสียคาใชจายเอง ไดแก วัคซีนตับ อักเสบเอ วัคซีนอีสุกอีใส วัคซีนฮิบ วัคซีนนิวโมคอคคัสชนิดคอนจูเกต วัคซีนโรตา และวัคซีนเอชพีวี นอกจากนี้วัคซีนเสริมยังหมายรวมถึงวัคซีนพื้นฐานที่ไดรับการพัฒนาเพื่อใหมีผลขางเคียงลดลง ซึ่ง นิยมใชในประเทศพัฒนาแลว เชน วัคซีนโปลิโอชนิดฉีด และวัคซีนไอกรนชนิดไรเซลล 3. วัคซีนที่ใชในกรณีพิเศษ วัคซีนที่ใชในกรณีพิเศษ (Vaccines in special circumstances) คือวัคซีนที่มีขอบงชี้ ชัดเจน เพื่อใชในกลุมที่มีความเสี่ยงสูงตอการเกิดโรคหรือหากเกิดโรคอาจมีอาการและภาวะแทรก ซอนที่รุนแรง เชน วัคซีนนิวโมคอคคัสสําหรับผูปวยโดนตัดมาม วัคซีนไขหวัดใหญสําหรับผูปวย โรคหัวใจ โรคปอดเรื้อรัง และผูสูงอายุ วัคซีนพิษสุนัขบาสําหรับผูที่ถูกสัตวกัด วัคซีนทัยฟอยด สําหรับผูที่จะเดินทางไปยังพื้นที่ซึ่งมีการระบาดของโรค วัคซีนไขกาฬหลังแอนสําหรับผูที่จะเดินทาง ไปยังประเทศทางตะวันออกกลาง เปนตน 4. วัคซีนที่กําลังอยูระหวางการวิจัยและพัฒนา วัคซีนที่กําลังอยูระหวางการวิจัยและพัฒนา (Investigational vaccines) คือวัคซีนที่มี ความสําคัญในการปองกันโรคที่กําลังเปนปญหาในหลายประเทศ และอยูในขั้นตอนของการวิจัย การ ผลิต หรืออยูระหวางการทดลองในอาสาสมัคร เชน วัคซีนไขเลือดออก วัคซีนมาลาเรีย วัคซีนเอดส เปนตน
  • 5. วัคซีนพื้นฐาน กระทรวงสาธารณสุขไดกําหนดวัคซีนพื้นฐานที่เด็กไทยทุกคนควรไดรับ โดยเนนวัคซีนปองกัน โรคที่เปนปญหาสําคัญ ซึ่งในปจจุบันประกอบดวยวัคซีนปองกันวัณโรค คอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน โปลิโอ ตับอักเสบบี หัด-คางทูม-หัดเยอรมัน และไขสมองอักเสบเจอี โดยกระทรวงสาธารณสุขทํา หนาที่จัดหาและจัดระบบบริการเพื่อใหเด็กทุกคนในประเทศไดรับวัคซีนตามกําหนด 1. วัคซีนพื้นฐานที่กําหนดใหในแตละชวงวัย ตารางแสดง วัคซีนพื้นฐานที่ใหในชวงอายุตาง ๆ ชื่อวัคซีน จํานวนครั้งที่ให อายุที่ไดรับ BCG 1 แรกเกิด HB 3 แรกเกิด, 2 และ 6 เดือน DTP 5 2, 4, 6, 18 เดือน และ 4-6 ป **ชวงอายุ 2, 4 และ 6 เดือน อาจใหวัคซีนรวม DTP-HB แทน DTP และ HB ชนิดแยก OPV 5 2, 4, 6, 18 เดือน และ 4-6 ป dT  12-16 ป (ป. 6) หลังจากนั้นกระตุนทุก 10 ป  หญิงมีครรภ ถายังไมเคยไดรับวัคซีนในวัยเด็ก ใหฉีดตามกําหนด 0, 1, 6 เดือน และกระตุนทุก 10 ป MMR 2 9-12 เดือน (ในกรณีที่ไมมีวัคซีน MMR ใหวัคซีนหัดแทน) และ 6-7 ป (ป. 1) JE 3 18 เดือน (2 เข็มหางกัน 4 สัปดาห) และ 2 ป 6 เดือน (1 ปหลังเข็มสอง) ที่มา: ปรับปรุงจาก กุญกัญญา โชคไพบูลยกิจ และคณะ, 2550 หมายเหตุ: 1) วัคซีนทุกชนิดถาไมสามารถเริ่มใหตามกําหนดได ก็เริ่มใหทันทีที่พบครั้งแรก 2) วัคซีนที่ตองใหมากกวา 1 ครั้ง หากเด็กเคยไดรับวัคซีนมาบางแลว และไมมารับครั้ง ตอไปตามกําหนดนัด ใหวัคซีนครั้งตอไปนั้นไดทันทีเมื่อพบเด็ก โดยไมตองเริ่มตนครั้งที่ 1 ใหม 3) หากมีบันทึกหลักฐานวาเคยไดรับ BCG มากอน ไมจําเปนตองใหซ้ํา แมจะไมมีแผลเปน บริเวณที่ไดรับวัคซีน การเวนระยะหางของวัคซีน อายุนอยที่สุดที่สามารถใหวัคซีนไดและระยะหางแตละโดสดัง แสดงในตารางการใหวัคซีน ไมควรใหวัคซีนอายุนอยกวาที่แนะนําและเวนระยะหางสั้นกวาที่แนะนํา
  • 6. เพราะจะมีผลตอการตอบสนองการสรางภูมิคุมกันที่อาจไมเพียงพอ ยกเวนบางกรณีที่ตองการใหมี ภูมิคุมกันเร็ว เชน ตองเดินทางไปในพื้นที่ที่มีโรคชุกชุมหรือกรณีที่มีการระบาด เชน โรคหัดสามารถให วัคซีนในเด็กอายุนอยกวา 6 เดือนได แตไมนับรวมอยูในโปรแกรมการใหวัคซีนปกติ 2. โรคติดตอที่สามารถปองกันไดดวยวัคซีนพื้นฐาน โรคติดตอที่สามารถปองกันไดดวยวัคซีนพื้นฐาน ประกอบดวย 10 โรค ไดแก วัณโรค (Tuberculosis) ตับอักเสบบี (Hepatitis B) คอตีบ (Diphtheria) ไอกรน (Pertussis) บาดทะยัก (Tetanus) โปลิโอ (Polio) คางทูม (Mumps) หัด (Measles) หัดเยอรมัน (Rubella) และไขสมอง อักเสบเจอี (Japanese encephalitis) อยางไรก็ตามการทราบถึงชนิดเชื้อโรค อาการและอาการ แสดงที่พบบอย รวมถึงวิธีการติดตอและการแพรกระจายของเชื้อ ถือวาเปนความรูพื้นฐานที่จะ เชื่อมโยงใหเกิดความตระหนักถึงความรุนแรงของโรค และเขาใจในความสําคัญของการใหบริการ วัคซีนแตละชนิด โรคติดตอที่ปองกันไดดวยวัคซีนที่ประเทศไทยกําหนดใหมีการบริการสรางเสริม ภูมิคุมกันโรคมีสาระสําคัญในแตละโรค สรุปไดดังนี้ 2.1 วัณโรค มีสาเหตุจากแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis ทําใหผูปวยมี อาการไอเรื้อรัง และมีเสมหะเปนเวลานาน เกิดจากการรับเชื้อที่อยูในน้ํามูก น้ําลาย เสมหะ หนอง น้ําเหลือง อุจจาระ และปสสาวะของผูปวยที่ปนเปอนอยูในอากาศ พื้นดิน อาหาร เสื้อผา เครื่องใช ของผูปวย โดยเชื้อเขาสูรางกายทางระบบหายใจเปนหลัก และทางอื่นๆ เชน บาดแผล หรือใชสิ่งของ รวมกัน Bacillus Calmette Guerin (BCG) vaccine สําหรับปองกันโรควัณโรค โดยวัคซีนที่มีจําหนายใน ประเทศไทยเปนชนิดผงแหง ประกอบดวยเชื้อ BCG จํานวน 2-10 ลานตัวตอมิลลิลิตร การใหวัคซีนใหฉีดชั้น ผิวหนัง (intradermal) ครั้งละ 0.1 ml. ในทุกอายุ ตําแหนงที่กําหนดใหฉีดคือ บริเวณกลามเนื้อตนแขน ไม ควรฉีดบริเวณสะโพกเพราะดูแลรักษาผิวหนังหลังการฉีดไดยาก 2.2 โรคตับอักเสบบี มีสาเหตุจากเชื้อไวรัส Hepatitis ชนิดบี ซึ่งจะมีผลตอตับ ทารกที่ ติดเชื้อนี้อาจมีอาการเล็กนอย หรือไมมีอาการเลย อยางไรก็ตาม ทารกจะมีความเสี่ยงมากกวาผูใหญ และอาจเปนพาหะของเชื้อไวรัสชนิดนี้ไดตลอดชีวิต พาหะจะทําใหเชื้อโรคถายทอดไปยังผูอื่นได การที่ รางกายมีเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบชนิดบี อาจทําใหเกิดโรคมะเร็ง หรือตับอักเสบไดในภายหลัง เชื้อโรค ไวรัสตับอักเสบชนิดบีอยูในของเหลวในรางกาย เชน เลือด น้ําลาย น้ําอสุจิ เปนตน ทารกที่มีแมมีเชื้อ มีความเสี่ยงสูงที่จะติดเชื้อในระหวางคลอด เชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดบีอาจเขาสูรางกายไดอีกโดยการ สัมผัสของโลหิต การใชเข็มฉีดยารวมกัน การมีเพศสัมพันธ และการใชอุปกรณปนเปอนเชื้อโรคมาทิ่ม แทงรางกาย เปนตน ไดมีการยืนยันแลววาการรับวัคซีนเปนวิธีที่ปลอดภัย และคุมคาเงินที่จะปองกัน
  • 7. อันตรายจากโรคนี้ สําหรับผูติดเชื้อจะมีอาการออนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดเมื่อยตามตัว มีไข แนนทอง ตาเหลืองตัวเหลือง ปสสาวะสีเขม Hepatitis B (HB) vaccine สําหรับปองโรคตับอักเสบบี เปนวัคซีนชนิดน้ํา เตรียมจากโปรตีนผิวนอกของ เชื้อไวรัสตับอักเสบบี (HBsAg) ขนาดที่ใชในเด็กแรกเกิดถึงวัยรุนใหวัคซีนครั้งละ 0.5 ml. เขากลามเนื้อ vastus lateralis ในเด็กทารกหรือเด็กเล็ก หรือบริเวณกลามเนื้อ deltoid ในเด็กโต ในผูใหญใหวัคซีนครั้ง ละ 1 ml. เขากลามเนื้อ deltoid 2.3 โรคคอตีบ มีสาเหตุจากแบคทีเรีย Corynebacterium diphtheriae ที่พบในปาก คอและจมูกของผูที่ติดเชื้อ ทําใหมีอาการคลายหวัดในระยะแรก เจ็บคอ เบื่ออาหาร และไอเสียงกอง สามารถพบเยื่อสีขาวปนเทาที่บริเวณทอนซิลและลิ้นไก โรคคอตีบอาจทําใหเนื้อเยื่อเติบโตทางดานใน ของหลอดคอ ซึ่งยากตอการกลืนอาหาร หายใจ สารพิษจากเชื้อโรคอาจแพรกระจายไปไดทั่วรางกาย โดยพิษนี้ทําใหเกิดอาการแทรกซอนที่รุนแรง เชน อัมพาต หรือหัวใจลมเหลว ผูปวยที่เปนโรคคอตีบ ประมาณรอยละ 7 ตองเสียชีวิต โรคนี้ติดตอไดจากการรับเชื้อที่อยูในละอองเสมหะ น้ํามูก น้ําลาย ของผูปวยเขาสูรางกายทางระบบหายใจ อาจไดรับเชื้อจากการใชภาชนะรวมกันได 2.4. โรคไอกรน มีสาเหตุจากแบคทีเรียที่ชื่อ Bordetella pertussis แพรกระจายโดย การไอหรือจาม โรคไอกรนมีผลตอระบบหายใจ และอาจทําใหหายใจติดขัด มีการไอที่กระตุกอยาง รุนแรง ในชวงการกระตุกเหลานั้น เด็กจะดูดอากาศมากจนเกิดเสียง “กรน” ที่ชัดเจน ผูปวยมีอาการ น้ํามูกไหล แนนจมูก และไอถี่ ติดตอกันเปนชุด และมีเสียงวูป (whoop) ซึ่งทําใหผูปวยขาดอากาศ หายใจและตายได โรคไอกรนเปนโรคที่รายแรงที่สุดตอเด็กที่มีอายุไมเกิน 12 เดือน ซึ่งมักตองเขา รักษาตัวในโรงพยาบาล อาการแทรกซอนที่พบ เชน อาการเกร็ง ปอดอักเสบ ไมรูสึกตัว สมองอักเสบ และสมองตายถาวร เด็กอายุนอยกวา 6 เดือนที่เปนโรคไอกรนจะตายในอัตรา 1 ตอ 200 คน การ ติดตอของโรคเกิดจากการหายใจเอาละอองเสมหะ น้ํามูก น้ําลายของผูปวยเขาสูรางกาย 2.5. โรคบาดทะยัก มีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย Clostridium tetani สาเหตุของการติด เชื้อบาดทะยักมักเขาทางบาดแผลที่ปนเปอนเชื้อหรือสปอรของเชื้อ แตเนื่องจากเชื้อจะเจริญไดใน สภาวะที่ไมมีออกซิเจน จึงมักพบในแผลที่มีการตายของเนื้อเยื่อหรือบาดแผลที่ลึก นอกจากนี้ยังพบใน เด็กแรกเกิดที่มีการตัดสายสะดือดวยอุปกรณไมสะอาดและมารดาไมมีภูมิคุมกันตอพิษบาดทะยัก และ เมื่อเชื้อเขาสูรางกายจะสรางสารพิษออกมา และแพรกระจายผานทางระบบไหลเวียนโลหิตและ น้ําเหลืองเขาสูระบบประสาทสวนกลาง อาการที่สําคัญคือ กลามเนื้อแขนขาเกร็ง หลังแข็งและแอน ถาอาการรุนแรงอาจชักและเสียชีวิต วัคซีนบาดทะยัก ที่ใชในปจจุบันมีหลากหลายรูปแบบ ไดแก (1) วัคซีนปองกันโรคบาดทะยักเดี่ยว (Tetanus toxiod; TT) (2) วัคซีนผสม
  • 8.  วัคซีนผสมบาดทะยัก คอตีบ ไดแก DT vaccine เปนวัคซีนปองกันโรคบาดทะยัก และคอตีบสําหรับเด็กเล็ก และ dT vaccine เปนวัคซีนปองกันโรคบาดทะยัก และคอตีบสําหรับเด็กโตอายุ 7 ปขึ้นไปและผูใหญ ซึ่งมีความตางจาก DT ตรงที่ dT มีการลดขนาดของ diphtheria toxoid ในวัคซีนลง เพื่อลดผลขางเคียง วัคซีนชนิดนี้เปนวัคซีนที่ใหสําหรับผูที่มีขอหามในการฉีดวัคซีนไอกรน  วัคซีนผสมบาดทะยัก คอตีบ และไอกรน วัคซีนรวม DTP เปนวัคซีนที่ใชในการปองกัน โรคคอตีบ บาดทะยัก และไอกรน โดยเปนวัคซีนผสมซึ่งมีวัคซีนสามชนิดรวมกันอยู เพื่อฉีดครั้งเดียวและ ปองกันไดทั้ง 3 โรค ไดแก DTwP (Diphtheria, Tetanus, whole cell Pertussis vaccines) DTaP (Diphtheria, Tetanus, acellular Pertussis vaccines) Tdap (Tetanus, reduced Diphtheria, acellular Pertussis vaccines) การใหวัคซีน DTwP และ DTaP ใหครั้งละ 0.5 ml. ฉีดเขากลามเนื้อ vastus lateralis ในเด็กเล็ก สําหรับ Tdap ใหครั้งละ 0.5 ml. เขากลามเนื้อ deltoid ในเด็กอายุมากกวา 7 ปและผูใหญ 2.6. โรคโปลิโอ มีสาเหตุจาก Polio virus โรคโปลิโออาจทําใหเกิดอาการที่ไมรุนแรงหรือ รุนแรงก็ได เกิดจากเชื้อไวรัสในกระเพาะอาหารและลําไส อาการที่สําคัญ คือ ไข อาเจียน กลามเนื้อ แข็งเกร็ง อาจมีผลตอระบบประสาท มีอาการอัมพาตกลามเนื้อแขนหรือขาลีบได หากเปนอัมพาตที่ กลามเนื้อกระบังลมผูปวยอาจเสียชีวิตได โรคนี้ติดตอโดยการรับเชื้อที่ปนเปอนมากับอุจจาระของผูป วยเขาสูรางกายทางปาก ประมาณรอยละ 5 ของผูปวยโรคโปลิโอจะเสียชีวิต และประมาณรอยละ 50 ของผูรอดชีวิตจะเปนอัมพาตถาวร Oral Polio Vaccine (OPV) และ Inactivated Polio Vaccine (IPV) วัคซีน OPV เปนวัคซีนที่เตรียม จากเชื้อไวรัสโปลิโอที่ยังมีชีวิตอยูแตทําใหออนฤทธิ์ลงแลว และไมกอใหเกิดโรคในผูที่มีภูมิคุมกันปกติ ใหโดย การรับประทาน ซึ่งเปนการเลียนแบบการติดเชื้อโรคนี้ตามธรรมชาติ โดยใหครั้งละ 0.1-0.5 ml (2-3 หยด แลวแตบริษัทผูผลิต) สวน IPV เปนวัคซีนที่ทําจากเชื้อไวรัสโปลิโอที่ตายแลว สามารถใหในคนที่มีภูมิคุมกัน บกพรองได ใหโดยการฉีดเขากลามเนื้อตนขา (vastus lateralis) สําหรับเด็กเล็ก และกลามเนื้อตนแขน (deltoid) สําหรับเด็กโต 2.7. โรคคางทูม มีสาเหตุจาก Mumps virus ทําใหมีไข ปวดศีรษะ และติดเชื้อในตอม น้ําลาย ทําใหตอมน้ําลายบริเวณใตคางบวมโต และอาจแพรกระจายไปสูอวัยวะอื่นได วัยรุนหรือ ผูใหญชายประมาณ 1 ใน 5 ที่ติดเชื้อโรคคางทูม อาจเกิดอาการอักเสบและปวดบวมของอัณฑะ ซึ่ง อาจทําใหเปนหมันได โรคนี้ติดตอจากการหายใจเอาละอองน้ําลายของผู ปวยเขาสูรางกาย หรือ รับประทานอาหารรวมกับผูปวยโดยใชภาชนะรวมกัน 2.8. โรคหัด มีสาเหตุจาก Measles virus อาการเดนของโรคคือ ไข มีผื่นแดงขึ้นทั่วราง กาย คัดจมูก ไอ อาการแทรกซอนจากโรคหัดอาจเปนอันตรายมาก และเกิดโรคปอดบวมไดประมาณ
  • 9. รอยละ 4 ของกลุมคนไขทั้งหมด อาจเกิดอาการเยื่อหุมสมองอักเสบจนทําใหเสียชีวิตได เกิดจากการ รับเชื้อโดยหายใจเอาละอองเสมหะ น้ํามูก น้ําลายของผูปวยอื่นเขาสูรางกาย 2.9. โรคหัดเยอรมัน มีสาเหตุจาก Rubella virus มักเปนโรคที่มีความรุนแรงนอยใน กลุมเด็ก แตมีผลตอวัยรุนและผูใหญดวย ผูติดเชื้อจะมีอาการที่สําคัญ คือ มีไขเล็กนอย ปวดขอ มีผื่น ขึ้นทั่วตัวคลายโรคหัด แตตอมน้ําเหลืองที่หลังหู ทายทอย และดานหลังลําคอโตดวย มีอาการ 2 ถึง 3 วัน คนไขมักฟนตัวจากโรคหัดเยอรมันไดโดยเร็ว สิ่งที่เปนอันตรายมากที่สุดจากโรคหัดเยอรมันคือ หากติดเชื้อในระหวางตั้งครรภ ทารกที่คลอดออกมาจะมีความพิการรุนแรง อาจเกิดอาการหูหนวก ตา บอด หัวใจพิการแตกําเนิด โรคนี้ติดตอกันไดงาย การติดเชื้อเกิดจากการหายใจเอาละอองเสมหะ น้ํามูก น้ําลายของผูปวยเขาสูรางกาย วิธีปองกันแมและเด็กจากโรคหัดเยอรมันคือ ใหแมรับวัคซีนกอน ตั้งครรภ และสรางภูมิตานทานแกเด็กทุกคนเพื่อยับยั้งการแพรเชื้อ Measles Mumps and Rubella (MMR) Vaccine สําหรับปองกันโรคหัด คางทูม และหัดเยอรมัน ซึ่ง เปนวัคซีนมีชีวิต ชนิดผงแหง ซึ่งตองละลายในตัวทําละลายตามคําแนะนําของบริษัทผูผลิต ขนาดบรรจุขวด ละ 1 dose พรอมดวยตัวทําละลาย 1 ขวด ปริมาณ 0.5 ml. ใชฉีดเขาชั้นใตผิวหนัง (subcutaneous) บริเวณตนขา (vastus lateralis) สําหรับเด็กเล็ก และตนแขน (deltoid) สําหรับเด็กโต 2.10. โรคไขสมองอักเสบเจอี มีสาเหตุจาก Japanese B encephalitis virus อาการที่ สําคัญคือ เยื่อหุมสมองอักเสบ ผูปวยไมรูสึกตัว ชักเกร็ง อาจเสียชีวิตได โรคนี้มีแหลงรังโรคในสัตว หลายชนิด เชน หมู วัว ควาย มา โดยมียุงรําคาญเปนพาหะที่สําคัญที่นําเชื้อติดตอมายังคน ยุงเหลานี้ มักเพาะพันธุในทุงนาที่มีน้ําเจิ่งนอง และตามแหลงน้ําขังทั่วไป Japanese Encephalitis (JE) Vaccine สําหรับปองกันโรคไขสมองอักเสบเจอี ซึ่งเปนวัคซีนชนิดเชื้อตาย ใหโดยการฉีดวัคซีนเขาชั้นใตผิวหนัง (subcutaneous) ขนาดที่ฉีดสําหรับเด็กอายุต่ํากวา 3 ป ใหฉีดครึ่ง dose คือ 0.25 ml. (สําหรับสายพันธุ Beijing) หรือ 0.5 ml. (สําหรับสายพันธุ Nakayama) และสําหรับ เด็กอายุมากกวา 3 ปจนถึงผูใหญใหฉีดเต็ม dose บริเวณที่ฉีดคือบริเวณตนขา (vastus lateralis) สําหรับ เด็กเล็ก และตนแขน (deltoid) สําหรับเด็กโตและผูใหญ 3. การเก็บรักษาวัคซีน การเก็บรักษาวัคซีน ควรเก็บในที่อุณหภูมิที่เหมาะสม โดยการควบคุมอุณหภูมิในการเก็บ และในการเคลื่อนยายวัคซีนทุกครั้ง ควรมีการเช็คอุณหภูมิในการเก็บวัคซีน ตูเย็นควรมีเทอรโมมิเตอร รายงานอุณหภูมิปจจุบัน อุณหภูมิต่ําสุดและสูงสุด หลักการเก็บวัคซีนโดยทั่วไปมีดังนี้ 3.1 ตัวทําละลายไมควรเก็บในชองแชแข็ง โดยทั่วไปเก็บที่อุณหภูมิหอง หรือในตูเย็น 3.2. วัคซีนควรผสมแลวใชทันทีและไมควรนํามาใช ถามีการผสมแลวทิ้งไวนานกวา
  • 10. คําแนะนํา 3.3. วัคซีนชนิดเชื้อมีชีวิต ไดแก วัคซีนหัด-หัดเยอรมัน-คางทูม วัคซีนอีสุกอีใส ไมควรถูก แสง เพราะจะทําใหเชื้อในวัคซีนตายได 3.4. วัคซีนสวนใหญมีลักษณะภายนอกมองดูคลายกัน ดังนั้นไมควรดูดวัคซีนหลาย ๆ ชนิดใสกระบอกฉีดยาทิ้งไวเพราะอาจทําใหฉีดผิดได ยกเวนจะเปนการใหวัคซีนชนิดเดียวในคนหลายๆ คนพรอมกัน เชน การรณรงคใหวัคซีนปองกันไขหวัดใหญ เมื่อดูดวัคซีนใสหลอดฉีดยาควรจะเขียนชื่อ วัคซีน lot number กํากับไว 3.5. วัคซีนที่บรรจุมากกวาหนึ่งโดสตอหนึ่งขวด หลังฉีดวัคซีนถามีวัคซีนเหลือในขวด หากเก็บถูกวิธีและไมมีการปนเปอนเชื้อสามารถเก็บไวใหครั้งตอไปได จนกวาวัคซีนจะหมดอายุ หรือ ตามเอกสารกํากับของบริษัท 4. วิธีการบริหารวัคซีน วิธีการบริหารวัคซีนขึ้นอยูกับชนิดของวัคซีนและชวงอายุที่ให การใหวัคซีนทุกครั้งตองทํา การบันทึกชื่อวัคซีนในสมุดฉีดวัคซีน บริษัท lot number วันหมดอายุของวัคซีน รวมทั้งวันที่ใหวัคซีน และชื่อผูใหวัคซีน การใหตองใหแบบปราศจากเชื้อ โดยทั่วไปถาใหถูกวิธีอยางระมัดระวังโอกาสติดเชื้อ จากการฉีดวัคซีนมีนอยมาก การใหดวยวิธีไมปราศจากเชื้อจะทําใหเกิดการติดเชื้อแบคทีเรียในกระแส เลือดและเกิดฝบริเวณที่ฉีด วิธีการบริหารวัคซีนที่สําคัญมี 5 วิธีไดแก 4.1. การรับประทาน (Oral route) วิธีนี้ทําใหมีภูมิคุมกันในกระแสเลือดและลําไส เชน วัคซีนโปลิโอชนิดหยอด วัคซีนทัยฟอยดชนิดรับประทาน และวัคซีนไวรัสโรตา 4.2. การพนทางจมูก (Inhalation route) ทําใหมีภูมิคุมกันในกระแสเลือดและทางเดิน หายใจ ไดแก วัคซีนไขหวัดใหญชนิดพนจมูก 4.3. การฉีดเขาชั้นผิวหนัง (Intradermal) โดยฉีดเขาในชั้นผิวหนัง ใหเปนตุมนูนขึ้น การ ฉีดวิธีนี้ทําใหแอนติเจนเขาไปทางระบบน้ําเหลืองไดดี สามารถกระตุนภูมิคุมกันชนิดพึ่งเซลล (cell mediated immune response) และใชปริมาณวัคซีนนอย แตผูฉีดตองมีความชํานาญในการฉีด เชน วัคซีนบีซีจี วัคซีนพิษสุนัขบา 4.4. การฉีดเขาใตผิวหนัง (Subcutaneous) ใชสําหรับวัคซีนที่ไมตองการใหดูดซึมเร็ว มาก และเปนวัคซีนที่ไมมี adjuvant เชน วัคซีนหัด-หัดเยอรมัน-คางทูม 4.5. การฉีดเขาชั้นกลามเนื้อ (Intramuscular) ใชสําหรับวัคซีนที่ตองการใหดูดซึมเร็ว การฉีดเขากลามเนื้อควรฉีดบริเวณกลามเนื้อตนขา (Vastus lateralis) สําหรับเด็กเล็ก หรือกลามเนื้อ ตนแขน (Deltoid) สําหรับเด็กโตและผูใหญ ไมควรฉีดที่กลามเนื้อสะโพก เนื่องจากกลามเนื้อตนขา
  • 11. และตนแขนมีเลือดมาหลอเลี้ยงมาก มีการเคลื่อนไหวมาก และยังเปนบริเวณที่มีปริมาณไขมันนอย จึง มีความสามารถในการดูดซึมไดรวดเร็ว ทําใหรางกายสรางภูมิคุมกันไดดีกวา 5. ขอแนะนําทั่วไปเกี่ยวกับวัคซีน 5.1 หากผูที่รับการฉีดวัคซีนมีไขสูงควรเลื่อนการฉีดวัคซีนออกไป แตถาเปนการเจ็บปวย เล็กนอย เชน เปนหวัด น้ํามูกไหลโดยไมมีไข สามารถใหวัคซีนตามปกติได 5.2 ผูที่มีประวัติไดรับอิมมูโนโกลบุลิน (Immunoglobulin) หรือผลิตภัณฑที่มีสวน ประกอบของแอนติบอดี (Antibody) รวมทั้งเลือดและผลิตภัณฑของเลือดในระยะเวลาไมนาน หาก ตองการรับวัคซีนชนิดเชื้อเปนที่มีสวนประกอบของวัคซีนหัดหรืออีสุกอีใส ควรเลื่อนการฉีดวัคซีนออก ไปกอนเนื่องจากวัคซีนอาจไมไดผล ทั้งนี้ระยะเวลาที่ควรเลื่อนขึ้นอยูกับชนิดและขนาดของผลิตภัณฑ ของเลือดหรืออิมมูนโกลบุลินที่ไดรับ 5.3 หากแพวัคซีนหรือสวนประกอบของวัคซีน ควรหลีกเลี่ยงการใหวัคซีนชนิดนั้น ๆ ผูที่ แพไขชนิดรุนแรงไมควรใหวัคซีนที่ผลิตจากไข เชน วัคซีนไขหวัดใหญ แตสามารถใหวัคซีนหัดได เนื่องจากในวัคซีนมีปริมาณของไขอยูนอย 5.4 ควรอธิบายใหผูปกครองหรือผูปวยทราบวาจะฉีดวัคซีนปองกันโรคอะไร และอาจ เกิดปฏิกิริยาใดบางหลังฉีด 5.5 ตองทําการบันทึกชื่อวัคซีนในสมุดฉีดวัคซีนทุกครั้งที่ใหวัคซีน และควรบันทึกชื่อ วัคซีนเปนภาษาที่เขาใจงาย ควรแนะนําผูปกครองใหเก็บสมุดบันทึกวัคซีนไวจนเด็กโตเปนผูใหญ เพื่อ เปนประโยชนในการประเมินภูมิคุมกันตอโรคได 5.6 ไมควรใหวัคซีนเชื้อเปนในหญิงตั้งครรภ 5.7 ผูหญิงที่ไดรับวัคซีนชนิดเชื้อเปน ควรคุมกําเนิดหลังไดรับวัคซีนนาน 1 เดือน 5.8 วัคซีนสวนใหญควรเก็บในตูเย็น วัคซีนเชื้อเปนที่อยูในสภาพผงแหงแข็ง ควรเก็บไวใน ตูแชแข็ง 5.9 ทารกที่คลอดกอนกําหนดสามารถรับวัคซีนไดตามปกติ ยกเวนกรณีที่น้ําหนักตัว นอยกวา 2,000 กรัม ควรใหวัคซีนตับอักเสบบีซ้ําอีกครั้งเมื่อน้ําหนักตัวมากกวา 2,000 กรัม หรืออายุ 1-2 เดือน และฉีดใหครบสามครั้ง โดยไมนับการฉีดเมื่อแรกคลอด 5.10 การใหวัคซีนในผูปวยที่มีภูมิคุมกันบกพรองอาจไดผลไมดี แตอาจมีประโยชน มากกวาไมใหซึ่งตองเสี่ยงจากการเกิดโรคตามธรรมชาติซึ่งอาจรุนแรง และไมควรใหวัคซีนมีชีวิตเพราะ อาจเกิดปฏิกิริยารุนแรง 5.11 ผูที่ไดรับยาสเตียรอยดขนาดสูงและเปนเวลานาน ไมควรใหวัคซีนเชื้อเปนจนกวาจะ หยุดใชยาแลวระยะหนึ่ง
  • 12. 5.12 การใหวัคซีนหลังสัมผัสโรคแลวในผูปวยที่ไมมีภูมิคุมกันมากอน อาจชวยปองกันโรค ไดในกรณีสัมผัสโรคบางชนิด เชน หัด ตับอักเสบเอ อีสุกอีใส แตควรใหวัคซีนในระยะเวลาสั้นที่สุด หลังสัมผัสโรค โดยระยะเวลาหลังสัมผัสโรคที่วัคซีนจะมีประสิทธิภาพขึ้นอยูกับวัคซีนแตละชนิด 5.13 โดยทั่วไปวัคซีนชนิดเดียวกันมีปริมาณและสวนประกอบเหมือนกัน เชน ตับอักเสบ บี คอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน ชนิดทั้งเซลล ที่ผลิตจากตางบริษัทสามารถนํามาใชทดแทนกันไดในการ ใหวัคซีนครั้งถัดไป แตวัคซีนที่สวนประกอบของแตละผูผลิตมีความตางกัน ไมควรใชแทนกัน อยางไรก็ ดีหากไมสามารถหาวัคซีนชนิดเดิมได ใหใชตางบริษัทไดเพราะประโยชนจากการไดรับวัคซีนมีมากกวา ความกังวลในเรื่องความตางกันของวัคซีน 5.14 กรณีที่มีการใหวัคซีนซ้ํา เนื่องจากไมมั่นใจวาเคยไดรับวัคซีนมากอนหรือไม โดยทั่วไปไมมีอันตรายรุนแรง แตอาจมีปฏิกิริยาตอวัคซีนเพิ่มขึ้นไดและเปนการสิ้นเปลือง 5.15 โดยทั่วไปการตรวจเลือดกอนและหลังรับวัคซีนไมมีความจําเปน ยกเวนกรณีที่ วัคซีนมีราคาแพงและผูจะรับวัคซีนอาจเคยเปนโรคมากอน แนะนําใหตรวจเลือดหากคาใชจายไมสูง จนเกินไป สําหรับการตรวจเลือดหลังรับวัคซีนอาจมีความจําเปนในบางกรณี เชน เด็กที่คลอดจาก มารดาซึ่งเปนพาหะของไวรัสตับอักเสบบี 5.16 น้ําหนักตัวไมไดเปนตัวกําหนดขนาดของวัคซีนที่ใชทั้งในเด็กและผูใหญ แตจะใช อายุเปนตัวกําหนด 5.17 การใหวัคซีนทิ้งชวงหางกันเกินไปกวาที่กําหนด ไมไดทําใหภูมิคุมกันต่ําลง แตหาก ระยะหางของวัคซีนใกลกันเกินไปอาจทําใหภูมิคุมกันต่ํากวาที่ควรจะเปน กรณีไมไดมารับวัคซีนตาม กําหนด ไมจําเปนตองเริ่มตนใหม ไมวาจะเวนชวงหางไปนานเทาใด ใหนับตอจากวัคซีนครั้งกอนได 5.18 วัคซีนแตละเข็มควรฉีดคนละตําแหนง และไมควรนําวัคซีนตางชนิดมาผสมกันเพื่อ ฉีดครั้งเดียว ยกเวนมีขอมูลที่ไดศึกษามาแลววาสามารถทําได 5.19 วัคซีนเชื้อเปนสามารถใหพรอมกันหลายชนิดในวันเดียวกัน แตหากจะใหไมพรอม กัน ควร เวนระยะเวลาใหหางกันอยางนอย 1 เดือน สําหรับวัคซีนเชื้อตายจะใหหางกันนานเทาใดก็ได อาการขางเคียง และแนวทางการดูแลตนเอง หลังจากการใหวัคซีนควรใหคําแนะนําเพื่อสังเกตความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นจากผลขางเคียง ของวัคซีน โดยปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นนอกเหนือจากที่เด็กจะมีอาการงอแงจากความไมสุขสบายแลว ยังมี ทั้งปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local reaction) และปฏิกิริยาทั่วรางกาย (Systemic reaction) ทั้ง ชนิดไมรุนแรงและชนิดรุนแรง ดังนี้
  • 13. 1. ปฏิกิริยาเฉพาะที่ ปฏิกิริยาเฉพาะที่ เปนอาการและอาการแสดงเฉพาะที่ในบริเวณที่ฉีดวัคซีน ไดแก อาการ บวม แดง ปวด หรือคันบริเวณที่ฉีดวัคซีน อาจมีเลือดออกซึมเล็กนอย และหายไดในระยะเวลาอันสั้น อาการเหลานี้จะหายไปไดเอง การดูแลตนเองโดยทั่วไป เชน ไมแนะนําใหสัมผัส กดแรง คลึง หรือ นวดบริเวณที่ฉีดวัคซีน ดูแลความสะอาดบริเวณที่ฉีด สังเกตอาการวามีอาการปวด บวม แดง รอนบริ เวณที่ฉีดหรือไม หรือมีลักษณะผิดปกติใด ๆ เชน มีเลือดออกมา มีอาการไขสูงมากใหรีบมาพบแพทย สามารถประคบเย็นเพื่อลดอาการปวดได หรือรับประทานยาแกปวดลดไข หากมีไขรวมดวยใหเช็ดตัว ลดไขหรืออาจใหยาลดไขรวมดวย 2. ปฏิกิริยาทั่วรางกาย ปฏิกิริยาทั่วรางกาย อาจมีอาการและอาการแสดงชนิดไมรุนแรง เชน มีไขสูงมากกวา 39 องศาเซลเลียส ซึม เบื่ออาหาร รองกวน อาเจียน หรือมีผื่นขึ้นตามตัว การดูแลเบื้องตน ไดแก เช็ดตัว ลดไขหรือใหยาลดไขรวมดวย ใหเด็กดื่มน้ําหรือดื่มนมใหมาก ๆ สังเกตอาการผิดปกติที่แสดงถึง ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นทั้งระบบชนิดรุนแรง คือ อาการแพแบบอะนาไฟแลคซิส (Anaphylaxis) เชน หายใจลําบาก หายใจมีเสียงวี๊ด มีผื่นขึ้นทั้งตัว มือ เทา หนา ปากบวม หรือมีอาการผิดปกติทางสมอง เชน ซึม ออนแรง ภาวะรูสติเปลี่ยนแปลง มีอาการชัก หากพบอาการผิดปกติชนิดรุนแรงใหพามาพบ แพทยโดยทันที หรือหากพบอาการเบื้องตนเปนอาการและอาการแสดงชนิดไมรุนแรง แตเมื่อใหการ ดูแลแลวอาการไมดีขึ้นและมีอาการแสดงที่ดูเหมือนเด็กแยลง ใหพามาโรงพยาบาลทันที ตารางแสดง ปฏิกิริยาขางเคียงที่จําเพาะตามชนิดของวัคซีน วัคซีน ปฏิกิริยาขางเคียง หมายเหตุ 1. Bacillus Calmette Guerin (BCG) 1. ปฏิกิริยาเฉพาะที่ : เปนฝในชั้นใต ผิวหนัง ตอมน้ําเหลืองโตเฉพาะที่ - แผลที่เกิดจาก BCG อาจเปนฝ ขนาดเล็กอยูไดนาน 3-4 สัปดาห ไมตองใสยาหรือปดแผล ใหเช็ด ดวยสําลีชุบน้ําสะอาด - หากตอมน้ําเหลืองใกลตําแหนง ที่ฉีด BCG มีขนาดใหญมาก หรือ เปนฝอาจให INH รักษา 2-3 เดือน หรือทําการเจาะดูดหนอง ออกในกรณีที่มีขนาดใหญ มากกวา 3 ซม.
  • 14. วัคซีน ปฏิกิริยาขางเคียง หมายเหตุ 2. Hepatitis B (HB) 1. ปฏิกิริยาเฉพาะที่ : ปวด บวม แดง 2. ปฏิกิริยาทั่วรางกาย : ไข 3. อาการแพ : Anaphylaxis - ใหประคบเย็นภายใน 24 ชั่วโมงแรก เพื่อลดอาการปวด บวม แดง หากมีไขดูแลเช็ดตัว ลดไข หรือใหรับประทานยาลด ไขรวมดวย - สังเกตอาการแพยา 3. Diphtheria, Tetanus, Pertussis (DTP) 1. ปฏิกิริยาเฉพาะที่ : ฝ ปวด บวมแดง ตําแหนงที่ฉีด 2. ปฏิกิริยาทั่วรางกาย : ไข ชัก ซึม คลื่นไส อาเจียน 3. อาการแพ : Anaphylaxis - วัคซีนไอกรนชนิดไรเซลลทําให เกิดผลขางเคียงไดเชนเดียวกับ ชนิดเต็มเซลลแตพบในอัตราที่ นอยกวา - ใหประคบเย็นภายใน 24 ชั่วโมงแรก เพื่อลดอาการปวด บวม แดง หากมีไขดูแลเช็ดตัว ลดไข หรือใหรับประทานยาลด ไขรวมดวย - สังเกตอาการแพยา 4. Polio, live attenuate (OPV) Vaccine-associated paralytic poliomyelitis (VAPP) อาจเกิดไดกับ ผูรับวัคซีนและผูสัมผัส โดยสวนใหญจะ พบในการใชยาครั้งแรก - 5. Polio, inactivated (IPV) ไมมีรายงานการเกิดผลขางเคียงที่รุนแรง - 6. Measles, Mumps, Rubella (MMR) 1. ปฏิกิริยาทั่วรางกาย : ไข ผื่น ในวันที่ 5-12 หลังฉีดวัคซีน 2. อาการแพ : พบไดนอยและมักไม รุนแรง อาจพบผื่นลมพิษตรงตําแหนงที่ ฉีดวัคซีน - ผูที่แพไขถึงแมจะแพแบบ รุนแรงสามารถใหวัคซีน MMR ไดเพราะมีโอกาสเกิดปฏิกิริยา ต่ํา ดังนั้นจึงแนะนําใหวัคซีนได เลย โดยสังเกตอาการหลังให วัคซีนอยางนอย 30 นาที - หากมีไขดูแลเช็ดตัวลดไข หรือ ใหรับประทานยาลดไขรวมดวย - สังเกตอาการแพยา 7. Japanese Encephalitis, 1. ปฏิกิริยาเฉพาะที่ : ปวด บวม - สังเกตอาการแพยา อาจพบ
  • 15. วัคซีน ปฏิกิริยาขางเคียง หมายเหตุ Inactivated (JE) เฉพาะที่ (พบนอย) 2. ปฏิกิริยาทั่วรางกาย : ไข ปวดศีรษะ คลื่นไส อาเจียน (พบนอย) 3. อาการแพ : ลมพิษ ปฏิกิริยาแพไดนานถึง 2 สัปดาหหลังฉีด สรุป การใหวัคซีนเปนการกระตุนใหรางกายสรางภูมิคุมกัน สําหรับในประเทศไทยไดกําหนดวัคซีน พื้นฐานที่เด็กทุกคนจําเปนตองไดรับจํานวน 6 ชนิด ซึ่งมีวิธีการบริหารวัคซีนทั้งโดยการฉีด และการ รับประทาน การรับวัคซีนครบการเกณฑจะทําใหสามารถปองกันโรคติดเชื้อที่กอใหเกิดอันตรายรุน แรงในเด็กได บุคลากรสาธารณสุขจึงมีบทบาทสําคัญในการสงเสริมใหผูปกครองพาบุตรหลานมารับ วัคซีนตามวัยใหครบ รวมถึงการใหคําแนะนําในการปฏิบัติตัวเมื่อเกิดผลขางเคียงภายหลังรับวัคซีนได คําถามทบทวน 1. จงอธิบายความหมายของคําวาวัคซีน 2. จงอธิบายความแตกตางระหวางวัคซีน และเซรุม 3. วัคซีนพื้นฐานมีจํานวนกี่ชนิด อะไรบาง 4. วัคซีน DTP ใชในการกระตุนภูมิคุมกันเพื่อปองกันโรคใด 5. วัคซีนพื้นฐานชนิดใดที่ใหโดยการรับประทาน 6. อาการไข เปนผลขางเคียงที่สําคัญจากวัคซีนชนิดใด 7. ภายหลังไดรับวัคซีน พบวามีอาการปวด บวมแดงบริเวณที่ฉีด จะใหคําแนะนําในการ ปฏิบัติตนอยางไร เอกสารอางอิง กุญกัญญา โชคไพบูลยกิจ และคณะ. 2550. ตําราวัคซีน และการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค. กรุงเทพฯ : สํานักงานกิจการโรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก. โครงการสรางภูมิตานทานแหงชาติ. 2548. การรับวัคซีนเพื่อสรางระบบภูมิตานทาน. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : กรมสุขภาพและผูสูงอายุ.
  • 16. ธนกฤต วิลาสมงคลชัย. 2556. โรคบาดทะยัก และวัคซีนปองกันโรคบาดทะยัก. วารสารเพื่อการวิจัย และพัฒนาองคการเภสัชกรรม. 20 (3) หนา 22-25. อัญชลี ศิริพิทยาคุณกิจ และคณะ. 2555. หลักสูตรเชิงปฏิบัติการสําหรับเจาหนาที่สรางเสริม ภูมิคุมกันโรค. พิมพครั้งที่ 2. นนทบุรี : เลคแอนดฟาวดเทน พริ้นติ้ง. โอฬาร พรหมาลิขิต, อัจฉรา ตั้งสถาพรพงษ และอุษา ทิสยากร. 2554. วัคซีน. กรุงเทพฯ : นพชัยการ พิมพ.